You are on page 1of 12

บทที่ 2

การเปลีย่ นแปลง
ภูมอิ ากาศ

( CLIMATE CHANGE )
สมดุลพลังงานโลก ja
*
↳heat energy
กระบวนการทีท่ าให้ เกิดสมดุลพลังงานโลก
◦ โลกมีกระบวนการทีท่ าให้ เกิดความสมดุลพลังงาน
ส่ งผลให้ โลกมีอุณหภูมเิ ฉลีย่ ของอากาศในแต่ ละปี
ค่ อนข้ างคงที่ ↑ temperature
sisada :

◦ ปัจจัยที่เกีย่ วข้ องคือ บรรยากาศ เมฆ และ ju ,


goug
พืน้ ผิวโลก
ปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อสมดุลพลังงานของโลก

- การเปลีย่ นแปลงปริมาณขององค์ ประกอบในบรรยากาศ เช่ น แก๊ สเรื อนกระจก


ละอองลอย
- การเปลีย่ นแปลงพืน้ ผิวโลก

ทาให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ


การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ (climate change)

คือ การเปลีย่ นแปลงลักษณะอากาศเฉลีย่ (average weather)


ในพืน้ ที่หนึ่ง ลักษณะอากาศเฉลีย่ หมายความรวมถึงลักษณะทั้งหมดที่เกีย่ วข้ องกับ
อากาศ เช่ น อุณหภูมิ ฝน ลม เป็ นต้ น
ปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ

1. แก๊สเรื อนกระจก (greenhouse gas) p


2. ละอองลอย (aerosol) E
anti -> s

3. ค่าอัตราส่ วนรังสี สะท้ อนของพืน้ ผิวโลก (albedo)


1. แก๊สเรื อนกระจก
(Greenhouse gas)
แหล่งทีม่ าของแก๊สเรื อนกระจก
- จากกิจกรรมของมนุษย์
เช่ น กระบวนการอุตสาหกรรม การเกษตร การคมนาคมขนส่ ง การผลิตกระแสไฟฟ้ า
ของเสี ยจากบ้ านเรื อน
- จากธรรมชาติ
เช่ น การย่ อยสลายอินทรีย์สาร ภูเขาไฟระเบิด การหายใจ ของสิ่ งมีชีวติ
การปลดปล่ อยแก๊ สจากมหาสมุทร
ตัวอย่างแก๊สเรื อนกระจก
เช่ น แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์ ไอนา้ โอโซน เป็ นต้ น
ภาวะเรื อนกระจก (greenhouse effect)
ภาวะเรื อนกระจก คือ ภาวะทีช่ ้ันบรรยากาศของโลก
กระทาตัวเสมือนกระจกทีย่ อมให้ รังสี คลื่นสั้ นจากดวงอาทิตย์
ผ่ านลงมายังพืน้ ผิวโลกได้ แต่ จะดูดกลืนรังสี คลื่นยาวช่ วง
อินฟราเรดที่แผ่ ออกจากพืน้ ผิวโลกเอาไว้ จากนั้นก็จะคาย
พลังงานความร้ อนให้ กระจายอยู่ภายในบรรยากาศจึง
เปรียบเสมือนกระจกทีป่ กคลุมผิวโลกให้ มภี าวะสมดุลทาง
อุณหภูมิ และเหมาะสมต่ อสิ่ งมีชีวติ บนผิวโลก
2. ละอองลอย (aerosol)

ละอองลอย (aerosol) คือ อนุภาคของแข็งหรื อของเหลวที่มีขนาดเล็ก และแขวนลอยอยูใ่ น


อากาศ เช่น ฝุ่ น เกลือ เขม่าจากการเผาไหม้ ละอองประเภทซัลเฟต เป็ นต้น
3. ค่าอัตราส่ วนรังสีสะท้อนของพืน้ ผิวโลก (albedo)
เป็ นอัตราส่ วนเปรี ยบเทียบค่าการสะท้อนแสง
ของพื้นผิว กับ ปริ มาณรังสี ท้ งั หมดที่ตกกระทบ มัก
แสดงด้วยตัวเลขทศนิยมระหว่าง 0 -1 กล่าวคือ
Ginsist Albedek วัตถุที่มีการดูดกลืนรังสี อย่างสมบูรณ์ ไม่มีการ
10
Sino 21150 t
Albede สะท้อนรังสี กลับคืนเลยจะมีอลั บีโด = 0 ส่ วนวัตถุที่มี
การสะท้อนแสง 100% และไม่มีการดูดกลืนรังสี เลย
จะมีอลั บีโด = 1

◦ พลังงานทีอ่ อกสู่ อวกาศ 29 หน่ วย และคงเหลืออยู่ภายในโลกประมาณ 71 หน่ วย โดยคงอยู่ใน


บรรยากาศ เมฆ และพืน้ ผิวโลก
เป็ นวัฎจักรทีอ่ ธิบายการเปลีย่ นแปลงของ วัฏจักรมิลานโควิช
ภูมอิ ากาศโลกในระยะยาวว่ า เกิดจากปรากฏการณ์
3 ข้ อ ได้ แก่ (Milankovitch Cycle)
1. วงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์
2. องศาของแกนโลก
3. การส่ ายไปมาของแกนหมุนของโลก

โดย 3 ข้ อดังกล่าวส่ งผลทาให้


ปริมาณรังสี ดวงอาทิตย์ ทสี่ ่ องมายัง
โลกเปลีย่ นแปลงไปอย่ างมาก ส่ งผลให้
เกิดการเปลีย่ นแปลงของภูมิอากาศ
ของโลกโดยรวม
ผลกระทบจากการ
เปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ

➢ ด้ านความหลากหลายทาง
ชี วภาพและระบบนิ เ วศ
➢ ด้ านระบบคมนาคม
➢ ด้ านพลั ง งาน
➢ ด้ านทรั พยากรและพื้ น ที่ ช ายฝั่ ง
➢ ด้ านสุ ขภาพของมนุ ษ ย์
➢ ด้ านการเกษตร ฯลฯ
ข้ อตกลงปารีส
(Paris agreement)
ได้ มีการกาหนดกฏกติการะหว่ างประเทศให้ มีการจากัดการ
เพิม่ อุณหภูมิเฉลีย่ ของโลกไม่ ให้ เกิน 2 องศาเซลเซียสจากยุค
ปฏิวตั ิอุตสาหกรรม (ณ วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2558)

You might also like