You are on page 1of 160

การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 i

สารบัญ

เรื่อง หน้า
สารจากผู้อานวยการสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ศาสตราจารย์นายแพทย์ สุทธิพันธ์ จิตพิมลมาศ…………………………………………………………………………………. ก
สารจากอธิบดีกรมทรัพยากรธรณี
นายสุพจน์ เจิมสวัสดิพงษ์ ……………………………………………………………………………………………………………….. ข
กาหนดการประชุมสัมมนา……………………………………………………………………………………………………………… ค
พัฒนาการของวิศวกรรมแผ่นดินไหวในประเทศไทย-จากอดีตสู่อนาคต
ศ.กิตติคุณ ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย…….…………………………………………….………. 1
ข้อมูลการตรวจวัดความสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว จ.เชียงราย เมื่อ 5 พ.ค.2557
คุณบุรินทร์ เวชบรรเทิง กรมอุตุนิยมวิทยา…………………………………………………………………………….…………… 13
ลักษณะเฉพาะของการเกิดแผ่นดินไหวหลักและแผ่นดินไหวตามในรอบ 24 ชั่วโมง
ของเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริกเตอร์ จังหวัดเชียงราย วันที่ 5 พฤษภาคม 2557
จากโครงข่ายตรวจวัดแผ่นดินไหวของกรมทรัพยากรธรณี
ผศ.ดร.ภาสกร ปนานนท์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์…………………………………………………………….……………. 23
คลื่นแผ่นดินไหวจากแผ่นดินไหวแม่ลาวเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557
ผศ.ดร.ธีรพันธ์ อรธรรมรัตน์ มหาวิทยาลัยมหิดล…..…………………………………………………………………….…….. 31
แผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย กับรอยเลื่อนพะเยาส่วนเหนือ (ส่วนแม่ลาว)
นายสุวิทย์ โคสุวรรณ กรมทรัพยากรธรณี………………………………………………………………………………….………. 39
การตรวจสอบทางธรณีฟิสิกส์ในพื้นที่ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวจังหวัดเชียงราย
นายภควัต ศรีวังพล กรมทรัพยากรธรณี…………………………………………………………………………………….……… 53
IMPACTS OF 2014 CHIANGRAI EARTHQUAKE FROM GEOTECHNICAL PERSPECTIVES
รศ.ดร.สุทธิศักด์ ศรลัมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์………………………………………………………………………….. 65
ผลจากคุณลักษณะของชั้นดินบริเวณที่ตั้งต่อการสั่นสะเทือนในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ
จากเหตุการณ์วันที่ 5 พฤษภาคม 2557
รศ.ดร.นคร ภู่วโรดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์……..…………………………………………………………………………… 77
ii การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 255

สารบัญ (ต่อ)

เรื่อง หน้า

ค่าความเร่งพื้นดินสูงสุด ความเร็วพื้นดินสูงสุด ระยะเวลาการสั่นไหวและช่วงค่าความถี่


จากการสั่นไหวของแผ่นดินไหวหลักขนาด 6.3 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย และแผ่นดินไหวตาม
ขนาด 5-6 และ ขนาด 4-5
นางวัฒนา คาคม กรมชลประทาน…………………………………………………………………………………………………. 89
ผลกระทบแผ่นดินไหวต่ออาคารโรงเรียน
รศ.ดร.สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
และ ศ. ดร.เป็ นหนึ่ง วานิชชัย สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย……………………………………………………………. 99
Performance of buildings in the Mw 6.1 Mae Lao earthquake in Thailand
on May 5, 2014 and implications for future construction
ผศ.ดร.อาณัติ เรืองรัศมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย………………………………………………………………………..….. 115
การซ่อมแซมและเสริมความแข็งแรงอาคารที่ได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหว
ศ.ดร.อมร พิมานมาศ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร…………………………………………………………………. 137
ถอดบทเรียนแผ่นดินไหว จ.เชียงราย 5 พฤษภาคม 2557 เพื่อการเตรียมพร้อมรับมือ
แผ่นดินไหวในอนาคต
ผศ.ดร.ชยานนท์ หรรษภิญโญ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่……………………………………………………………………….. 145
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 ก

สารจากผู้อานวยการสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ศาสตราจารย์นายแพทย์ สุทธิพันธ์ จิตพิมลมาศ

การเตือนภัยแผ่นดินไหวเป็นเรื่องคาดการณ์ได้ยาก แตกต่างจากภัยพิบัติธรรมชาติอื่นๆ ดังนั้นมาตรการที่


สาคัญที่สุด คือ การเตรียมการเชิงรุกด้านการป้องกัน (Prevention) และการศึกษาวิจัยและพัฒนา ควบคู่กันไป เพื่อ
พัฒนาขีดความสามารถในการปรับตัวและลดผลกระทบมิให้ภั ยพิบัติและความสูญเสียเกิดขึ้นแก่ชีวิต ทรัพย์สินและ
ชุมชนได้ สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เริ่มต้นสนับสนุนการศึกษาวิจัยภัยพิบัติแผ่นดินไหวตั้งแต่ปี
2545 และให้ ก ารสนั บ สนุ น ต่ อ เนื่ อ งเป็ น โครงการวิ จั ย ขนาดใหญ่ ม าจนถึ ง ปั จ จุ บั น เกิ ด เครื อ ข่ า ยนั ก วิ ช าการ
แผ่นดินไหวจากหลายสถาบันการศึกษาและหน่วยงานปฏิบัติ และมีการสร้างองค์ความรู้พื้นฐาน รวมทั้งผลิต ชุด
ความรู้ที่สามารถนาไปใช้ในการป้องกันและลดผลกระทบจากภัยแผ่นดินไหว อาทิ ชุดความรู้เกี่ยวพื้นที่เสี่ยงภัย
และรอยเลื่อนมีพลัง ข้อมูลคลื่นแผ่นดินไหวเพื่อการคานวณขนาดและศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหว ชุดความรู้การ
ประเมินความเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวของโครงสร้างอาคารสาธารณะ เช่น โรงเรียน สถานพยาบาล สะพาน และทาง
ยกระดับต่างๆ พร้อมทั้งชุดความรู้การเสริมกาลังโครงสร้างอาคารที่อ่อนแอ
กรณีเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย สกว. ได้มีการจัดเวทีนาเสนอการวิเคราะห์เหตุการณ์
โดยนักวิจัยผู้เชี่ยวชาญ รวมถึงได้จัดทาข้อเสนอแนวทางเตรียมความพร้อมเพื่อลดความเสี่ยงภัยพิบัติแผ่นดินไหว เสนอ
ต่อระดับนโยบาย แผ่นดินไหวครั้งนี้ได้ก่อให้เกิดความเสียหายเป็นวงกว้าง นับเป็นแผ่นดินไหวที่มีความสาคัญมาก และ
ยังมีความไม่ชัดเจนในสาเหตุการเกิด สกว.จึงได้สนับสนุนงานวิจัย การศึกษากลไกการเกิดแผ่นดินไหวและผลกระทบ
ของเหตุการณ์แผ่นดินไหวดังกล่าว และได้เตรียมที่จะสนับสนุนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาพฤติกรรมอาคาร
คอนกรีตในบริเวณภาคเหนือ ซึ่งท้ายที่ สุดหวังว่าจะสามารถนาผลวิจัยมาใช้ในการกาหนดเกณฑ์ปลอดภัยในการ
ก่อสร้างอาคารและระบบสาธารณูปโภคต่างๆ อันจะช่วยลดการสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนจากธรณี
พิบัติภัยแผ่นดินไหวในอนาคต
หนังสือเล่มนี้จัดทาขึ้น เพื่อประกอบการจัดประชุมวิชาการ “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้
ตัว” ซึ่งได้รวบรวมเนื้อหาบทความวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกรณีเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่อาเภอแม่ลาว ในหัวข้อต่างๆ ได้แก่
แผ่นดินไหววิทยา ธรณีวิทยาแผ่นดินไหว วิศวกรรมแผ่นดินไหว โครงสร้างอาคารต้านแผ่นดินไหว และผลกระทบด้าน
สังคมที่เกิดขึ้น เพื่อเผยแพร่ให้เกิดความรู้และความตระหนักต่อความเสี่ยงภัยจากแผ่นดินไหวสาหรับประเทศไทย
รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติที่ถูกต้องเพื่อการป้องกันภัยพิบัติเนื่องจากแผ่นดินไหว
สกว. ขอขอบคุณคณะนักวิจัย ผู้เขียนบทความทุกท่าน และขอขอบคุณกรมทรัพยากรธรณี วิศวกรรมสถานแห่ง
ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ และสมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย ที่ร่วมกันจัดทาหนังสือนี้จนสาเร็จลุล่วง
สกว. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือนี้จะเป็นส่วนหนึ่งของการเติมเต็มองค์ความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักให้แก่
สาธารณชนในวงกว้าง เพื่อการป้องกันและลดภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวในประเทศไทยในอนาคต
ข การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 255

สารจากอธิบดีกรมทรัพยากรธรณี
นายสุพจน์ เจิมสวัสดิพงษ์

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ได้ทรงมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม


ให้ประกาศตั้ง " กรมราชโลหกิจและภูมิวิทยา” ขึ้นในกระทรวงเกษตราธิการ เมื่อวัน ที่ ๑ มกราคม ร.ศ. ๑๑๐ (พ.ศ.
๒๔๓๔) และภายหลังจากการปฏิรูประบบราชการเมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ กรมทรัพยากรธรณี ได้ย้าย
มาสังกัด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีภารกิจเกี่ยวกับการสงวน อนุรักษ์ ฟื้นฟูและบริหารจัดการ
ด้านธรณีวิทยาและทรั พยากรธรณี โดยการส ารวจ ตรวจสอบสภาพธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี การประเมิน
ศักยภาพแหล่งทรัพยากรธรณี การกาหนด และกากับดูแลเขตฟื้นที่สงวนและอนุรักษ์ทรัพยากรธรณี เพื่อการพัฒนา
ทรัพยากรธรณี คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ และสังคมอย่างยั่งยืน
จากเหตุการณ์แผ่ น ดิน ไหวขนาด ๖.๓ ตามมาตราริกเตอร์ วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๘.๐๘ น.มี
ศูนย์กลางแผ่นดินไหวบริเวณ ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย ห่างจากตัวเมืองเชียงรายประมาณ ๒๕
กิโลเมตร และมีเหตุการณ์แผ่นดินไหวตาม (Aftershocks) จานวนไม่น้อยกว่า ๓,๐๐๐ ครั้งในระยะเวลา ๕ เดือน
เหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งนี้มีความรุนแรงสูงสุดที่เคยบันทึกไว้ในประเทศไทย มีผู้เสียชีวิต ๑ ราย แรงสั่นสะเทือนทาให้
ตัวอาคาร บ้านเรือน โรงเรียน และวัดพังเสียหายเป็นจานวนมาก ตลอดจนทาให้เกิดรอยแตกบนถนน พื้นดินแตกร้าว
และปรากฏการณ์ทรายพุ
กรมทรัพยากรธรณี และหน่วยงานต่างๆ ที่มีภารกิจหรือได้รับผลกระทบด้านภัยพิบัติแผ่ นดินไหว เช่น กรม
อุตุนิยมวิทยา กรมชลประทาน กรมทางหลวง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณ
ภัย วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย และสถาบันการศึกษา
ต่า งๆ ได้ร่ ว มมือดาเนิ น การส ารวจตรวจสอบพื้น ที่ และอาคารบ้า นเรื อ นที่ ไ ด้รับผลกระทบจากแผ่ น ดิน ไหว ผล
การศึก ษาแผ่น ดิน ไหวครั้ง นี้ มี ระดับความรุนแรงในระดับ ๘ (ระดับทาลาย) ตามมาตราเมอร์คัล ลี่ มีรัศมีจากจุด
เหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว ๑๐ กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของอาเภอแม่ลาว และครอบคลุมพื้นที่บางส่วน
ของอาเภอพาน อาเภอแม่สรวย และอาเภอเมือง จังหวัดเชียงรายตาแหน่งของแผ่นดินไหวหลักและแผ่นดินไหวตาม
กระจายตัวขนานสอดคล้องกับรอยเลื่อนพะเยาส่วนเหนือ (ส่วนแม่ลาว) ที่วางตัว ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตก
เฉียงใต้ แบบตามแนวระนาบเหลื่อมซ้าย (Left lateral strike slip fault)
หน่วยงานพันธมิตรภาคีด้านภัยแผ่นดินไหว ได้ระดมความคิดเห็นจากนักวิชาการอิสระต่างๆ และประชาชน
พร้อมนาข้อมูลการศึกษาวิจัยด้านแผ่นดินไหววิทยา ธรณีวิทยาแผ่นดินไหว วิศวกรรมแผ่นดินไหว และผลกระทบด้าน
สังคม รวบรวมและจัดทาให้เป็น สมุดบันทึกเหตุการณ์ครั้งสาคัญทางวิชาการ พร้อมร่วมกันจัดการประชุมสัมมนา
“บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงรายภัยพิบัติใกล้ตัว ” เพื่อถอดบทเรียนแผ่นดินไหวครั้งประวัติศาสตร์ของประเทศ
ไทย ตลอดจนถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับประชาชนผู้สนใจเพื่อนาไปใช้สาหรับแนวทางการลดผลกระทบแผ่นดินไหวใน
อนาคต
ในโอกาสนี้ ผมขอขอบคุ ณ ส านั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย ที่ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น งบประมาณในการ
ประชุมสัมมนาครั้งนี้ ขอขอบคุณ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ และสมาคมธรณีวิทยาแห่ง
ประเทศไทยและทุ กหน่ ว ยงานที่ให้ การสนั บ สนุ น และร่ว มกันจัดประชุมสั ม มนาให้ ส าเร็จ ลุ ล่ ว งด้ว ยดี ผมและ
เจ้าหน้าที่กรมทรัพยากรธรณี จะร่วมมือกับภาคีแผ่นดินไหวทุกภาคส่วน สืบสานภารกิจธรณีพิบัติภัยแผ่นดินไหวนี้ เพื่อ
สร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ สร้างเครือข่ายเพื่อลดผลกระทบและความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นอย่างยั่งยืน
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 ค

กาหนดการประชุมสัมมนา
8.30-8.55 น. ลงทะเบียน
8.55-9.00 น. ฉายวีดีทัศน์ “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว”
9.00-9.30 น. พิธีเปิด
กล่าวความเป็นมา โดย ศ.ดร.เป็นหนึ่ง วานิชชัย นักวิจัยอาวุโส สานักงานกองทุนสนับสนุน
การวิจัย
กล่าวเปิดงาน โดย ศ.นพ.สุทธิพันธ์ จิตพิมลมาศ ผู้อานวยการสานักงานกองทุนสนับสนุนการ
วิจัย
และ นายสุพจน์ เจิมสวัสดิพงษ์ อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี
มอบของที่ระลึกแก่ผู้แทน 2 สมาคม และผู้บรรยาย โดย อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี และ
ผู้อานวยการสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
9.30-09.50 น. ร่วมกันถ่ายภาพหมู่ (อธิบดีกรมทรัพยากรธรณีผู้อานวยการสานักงานกองทุนสนับสนุนการ
วิจัยนายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ นายกสมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย และ
วิทยากร)
บรรยายพิเศษ เรื่อง “บทบาท สธท. และ วสท. กับงานธรณีพิบัติภัย”
โดย ดร.ทศพร นุชอนงค์ นายกสมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย และ
รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อุปนายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศ
ไทยฯ

นาเสนอผลงาน
9.50-10.10 น. เรื่อง ภาพรวมของแผ่นดินไหวของประเทศ งานวิจัยวิศวกรรมแผ่นดินไหวในประเทศ
สรุปบทเรียนจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวของประเทศ
โดย ศ.กิตติคุณ ดร.ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เนื้ อหาการบรรยาย เหตุการณ์ แผ่ นดินไหวครั้งส าคัญในประเทศไทย งานวิจัยวิศวกรรม
แผ่นดินไหวในประเทศไทย
10.10-10.30 น. เรื่อง ข้อมูลการตรวจวัดความสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว จ.เชียงราย เมื่อ 5 พ.ค.2557
จากเครือข่ายกรมอุตุนิยมวิทยา
โดย คุณบุรินทร์ เวชบรรเทิง กรมอุตุนิยมวิทยา
เนื้ อ หาการบรรยาย การตรวจวั ด เหตุ ก ารณ์ แ ผ่ น ดิ น ไหว จากเครื อ ข่ า ยเครื่ อ งมื อ ตรวจ
แผ่นดินไหว

10.30-10.50 น. พักรับประทานอาหารว่าง /
แถลงข่าว โดย อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี ผู้อานวยการสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
นายกสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ และนายกสมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย
ง การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 255

10.50-11.10 น. เรื่อง ลักษณะเฉพาะของแผ่นดินไหวหลักและแผ่นดินไหวตาม ของเหตุการณ์แผ่นดินไหว


ขนาด 6.3 จ.เชียงราย วันที่ 5 พฤษภาคม 2557
โดย ผศ.ดร.ภาสกร ปนานนท์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เนื้อหาการบรรยาย การวิเคราะห์ข้อมูลแผ่นดินไหวหลักและแผ่นดินไหวตามที่เกิดขึ้นจาก
เหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.3 จ.เชียงราย วันที่ 5 พฤษภาคม 2557
11.10-11.30 น. เรื่อง คลื่นแผ่นดินไหวจากแผ่นดินไหวแม่ลาวเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557
โดย ผศ.ดร.ธีรพันธ์ อรธรรมรัตน์มหาวิทยาลัยมหิดล
เนื้อหาการบรรยาย คลื่นแผ่นดินไหว 5 พฤษภาคม 2557 วิเคราะห์เพื่อทาความเข้าใจต่อแรง
กระทาต่อโครงสร้างอาคารในบริเวณพื้นที่ประสบภัย
11.30-11.50 น. เรื่อง บทเรียนจากความเสียหายที่เกิดกับอาคารขนาดเล็กและขนาดกลางในเหตุการณ์
แผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย
โดย ศ.ดร.เป็นหนึ่ง วานิชชัยสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
เนื้อหาการบรรยาย อาคารขนาดเล็กและขนาดกลาง มักมีจุดอ่อนในโครงสร้างหลายรูปแบบ
มี รู ป ทรงทางสถาปั ต ยกรรมหรื อ ลั ก ษณะทางโครงสร้ า งที่ ไ ม่ เ หมาะสมต่ อ การต้ า นทาน
แผ่นดินไหว และมีการเสริมเหล็ กในองค์อาคารคอนกรีตในรูปแบบที่ทาให้ มีพฤติก รรมที่
ค่อนข้างเปราะไร้ความเหนียว
11.50-12.30 น. เรื่องแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย กับรอยเลื่อนพะเยาส่วนเหนือ (ส่วนแม่ลาว)
โดย นายสุวิทย์ โคสุวรรณกรมทรัพยากรธรณี
เนื้อหาการบรรยาย แผ่นดินไหวขนาด 6.3 วันที่ 5 พฤษภาคม 2557 มีจุดเหนือศูนย์เกิด
แผ่นดินไหวที่ ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย สอดคล้องกับตาแหน่งของรอย
เลื่อนพะเยาส่วนเหนือ (ส่วนแม่ลาว) สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวในครั้งนี้ เกิดจากการ
เลื่ อ นตั ว ของรอยเลื่ อ นพะเยาส่ ว นเหนื อ (ส่ ว นแม่ ล าว) ที่ มี แ นวการวางตั ว ในแนว
ตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้

12.30-13.30 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.30-13.50 น. Poster Session

13.50-14.10 น. เรื่ อ งการตรวจสอบทางธรณี ฟิ สิ ก ส์ ใ นพื้ น ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากแผ่ น ดิ น ไหวจั ง หวั ด


เชียงราย
โดย นายภควัต ศรีวังพล กรมทรัพยากรธรณี
เนื้อหาการบรรยาย ความเสียหายจากเหตุการณ์เกิดแผ่นดินไหวเชียงราย คือเกิดรอยแตกบน
พื้นดิน เกิดความเสียหายแก่ตัวอาคารบ้านเรือน เกิดทรายพุ สารวจธรณีฟิสิกส์วิธีวัดค่าสภาพ
ต้ า นทานไฟฟ้ า วิ ธี ห ยั่ ง ลึ ก ด้ ว ยสั ญ ญาณเรดาร์ และวิ ธี วั ด คลื่ น ไหวสะเทื อ น ส่ ว นอาคาร
บ้านเรือนที่เกิดความเสียหายส่วนใหญ่ตั้งอยู่บนชั้นตะกอนที่มีอัตราการขยายคลื่นแผ่นดินไหว
1.3-1.6 เท่า
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 จ

14.10-14.30 น. เรื่องการตอบสนองของพื้นดินธรรมชาติเเละโครงสร้างทางวิศวกรรมปฐพี
โดย รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เนื้อหาการบรรยาย Soil amplification Liquefaction Lateral spreading พฤติกรรมการ
พิบัติของฐานราก ผลกระทบต่อเขื่อนเก็บน้า การเกิดดินถล่มหินร่วง การประเมินการเกิดดิน
ถล่มที่ตามมาหลังเหตุแผ่นดินไหว
14.30-14.50 น. เรื่ อ งผลจากคุ ณ ลั ก ษณะของชั้ น ดิ น บริ เ วณที่ ตั้ ง ต่ อ การสั่ น สะเทื อ นในพื้ น ที่ ที่ ไ ด้ รั บ
ผลกระทบจากเหตุการณ์วันที่ 5 พฤษภาคม 2557
โดย รศ.ดร.นคร ภู่วโรดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เนื้ อ หาการบรรยาย ข้ อ มู ล การส ารวจภาคสนามของคุ ณ ลั ก ษณะของชั้ น ดิ น ด้ ว ยวิ ธี ก าร
ตรวจวัดคลื่นขนาดเล็กที่ผิวดิน ผลการวิเคราะห์คลื่นแผ่นดินไหวที่ตาแหน่งต่างๆ ในพื้นที่ที่
ได้รับผลกระทบ การกระจายตัวของความเสียหายของอาคารในพื้นที่เมื่อพิจารณากับระดับ
ความรุนแรงของแผ่นดินไหวที่ได้จากการวิเคราะห์
14.50-15.10 น. เรื่ อ ง ค่ า ความเร่ ง พื้ น ดิ น สู ง สุ ด ความเร็ ว พื้ น ดิ น สู ง สุ ด ระยะเวลาการสั่ น ไหวและช่ วง
ค่าความถี่จากการสั่นไหวของแผ่นดินไหวหลักขนาด 6.3 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย และ
แผ่นดินไหวตาม ขนาด 5-6 และ ขนาด 4-5
โดย นางวัฒนา คาคม กรมชลประทาน
เนื้ อ หาการบรรยาย Ground motion parameters, PGA, PGV, duration of motion,
frequency content, response spectrum
15.10-15.30 น. เรื่อง ผลกระทบแผ่นดินไหวต่ออาคารโรงเรียน
โดย รศ.ดร.สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เนื้อหาการบรรยาย เหตุการณ์แผ่นดินไหวแม่ลาว จ.เชียงราย มีอาคารโรงเรียนได้รับความ
เสียหายเป็นจานวนมาก เนื่องจากโรงเรียนเป็นอาคารที่มีความสาคัญต่อสาธารณะและมีเป็น
จานวนมาก บทเรียนที่ได้จากแผ่นดินไหวแม่ลาวจึงมีความสาคัญ สาหรับเป็นแนวทางในการ
ออกแบบและเสริ ม ก าลั ง อาคารโรงเรี ย นในเขตบริ เ วณอื่ น ๆ ที่ อ าจได้ รั บ ผลกระทบจาก
แผ่นดินไหว

15.30-15.50 น. พักรับประทานอาหารว่าง

15.50-16.10 น. เรื่อง Performance of buildings in the Mw 6.1 Mae Lao earthquake in


Thailand on May 5, 2014 and implications for future construction
โดย ผศ.ดร.อาณัติ เรืองรัศมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เนื้อหาการบรรยาย This paper presents a reconnaissanceinvestigation of damage
to buildings, bridges, power supply facilities, and earth structures with the main
focus on building structures. The lessons learned and implications for future
construction should be valuable for countries of similar seismicity and socio-
economic setting.
ฉ การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 255

16.10-16.30 น. เรื่อง การซ่อมแซมและเสริมความแข็งแรงอาคารที่ได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหว


โดย ศ.ดร.อมร พิมานมาศ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร
เนื้อหาการบรรยาย ความเสียหายจากแผ่นดินไหว การจาแนกระดับความเสียหาย แนวทาง
ซ่อมแซม และเสริมความแข็งแรงอาคารที่ได้รับความเสียหายในรูปแบบต่างๆ
16.30-16.50 น. เรื่อง ถอดบทเรียนแผ่นดินไหว จ.เชียงราย 5 พฤษภาคม 2557 เพื่อการเตรียมพร้อม
รับมือแผ่นดินไหวในอนาคต
โดย ผศ.ดร.ชยานนท์ หรรษภิญโญ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เนื้อหาการบรรยาย การวิเคราะห์กรณีศึกษาข้อมูลกิจกรรมการตอบสนองแผ่นดินไหวขนาด
6.3 วันที่ 5 พฤษภาคม 2557 บริเวณรอยเลื่อนพะเยา จังหวัดเชียงราย การเรียนรู้แนวทาง
การเตรียมพร้อมเพื่อรั บมือเหตุการณ์การตอบสนองต่อภัยแผ่ นดินไหวที่อาจจะเกิดขึ้น ใน
อนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ

16.50-17.00 น. ปิดงาน
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 1

พัฒนาการของวิศวกรรมแผ่นดินไหวในประเทศไทย-จากอดีตสู่อนาคต
Development of Earthquake Engineering in Thailand-from Past to Future

ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์
ศาสตราจารย์กิตติคุณภาควิชาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

PanitanLukkunaprasit
Professor Emeritus, Department of Civil Engineering, Chulalongkorn University
Phyathai Road., Pathumwan, Bangkok, 10330

บทคัดย่อ
เมื่อ 40 ปีก่อน ประเทศไทยจัดอยู่ในประเทศที่ปลอดจากแผ่นดินไหว เหตุการณ์สาคัญๆหลายครัง้ ที่ผ่านมา ได้ทาให้ประเทศไทยเปลีย่ น
สถานภาพไปสู่ประเทศที่มีความเสี่ยงภัยจากแผ่นดินไหว บทความนี้รวบรวมประวัติและบทเรียนจากแผ่นดินไหวครั้งสาคัญในประเทศ
กิจกรรมในงานวิจัยด้านการประเมินความเสี่ยงภัยจากแผ่นดินไหว งานวิจัยพฤติกรรมของชิ้นส่วนคอนกรีตเสริมเหล็กภายใต้แรงกระทา
แบบวัฏจักร และ งานวิจัยการเสริมความแข็งแรงอาคารเก่ารวมทั้งนวัตกรรมเพื่อต้านทานแผ่นดินไหว
คาสาคัญ: พัฒนาการ, วิศวกรรมแผ่นดินไหว,ประวัต,ิ บทเรียน, วิศวกรรมแผ่นดินไหว, การเสริมความแข็งแรง, นวัตกรรม

ABSTRACT
Forty years ago, Thailand was regarded as a non-seismic prone country. However, several important earthquake
events have changed her state to that of a considerable seismic risk country. This paper records history and
lessons from significant earthquake events, research activities concerning seismic hazard assessment, research on
behavior of RC components under cyclic loading, and retrofit of existing buildings including innovations for seismic
resistance design.
KEYWORDS: Development, History, Lessons, Earthquake Engineering, Retrofit, Innovations.

1. บทนา
0B

เมื่อ 40 ปีก่อน ประเทศไทยจัดอยู่ในประเทศที่ปลอดจากแผ่นดินไหว เหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 5.9 หน่วยริกเตอร์ใกล้เขื่อนศรี


นครินทร์ในจังหวัดกาญจนบุรีเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2526 ซึ่งผลการสั่นไหวรู้สึกได้ในภาคเหนือและภาคกลางรวมถึงกรุงเทพมหานคร
เป็นจุดเปลี่ยนที่สาคัญ และได้กระตุ้นนักวิชาการ ข้าราชการโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรมอุตุนิยมวิทยา และกรมโยธาธิการ ตลอดจน
วิศวกร ให้ตระหนักถึงภัยนี้ ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติด้วยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี เมื่อเดือนกันยายน
2528 เพื่อทาหน้าที่ด้านวิชาการเกี่ยวกับภัยแผ่นดินไหวของประเทศไทย ผู้ที่มีบทบาทสาคัญมีอาทิ ดร.สิริลักษณ์ จันทรางศุ ดร.สมิทธ
ธรรมสโรช ศ.ดร.ปริญญา นุตาลัย ได้มีการยกร่างกฎกระทรวงกาหนดการออกแบบอาคารต้านทานแผ่นดินไหวขึ้น แต่ก็ได้รับการ
ต้ า นทานจากวงการวิ ชาชี พ และอุ ต สาหกรรมก่ อ สร้ างอย่ า งมาก ในด้ า นวิ ชาการ ได้ มี ก ารจัด การปร ะชุ ม วิ ชาการด้ านวิ ศ วกรรม
แผ่นดินไหวและ seismology นานาชาติครั้งแรกเมื่อปี 2529 ในประเทศโดย Southeast Asia Association of Seismology and
Earthquake Engineering ร่ ว มกั บ คณะกรรมการแผ่ น ดิน ไหวแห่ งชาติ ที่ จุ ฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย [1] และได้ มี ก ารจั ด ตั้งหน่วย
ปฏิบัติการวิจัยแผ่นดินไหวและการสั่นสะเทือนขึ้น ซึ่งเป็นหน่วยวิจัยด้านวิศวกรรมแผ่นดินไหวแห่งแรกในประเทศไทย งานวิจัยใน
ประเทศไทยได้เปลี่ยนผ่านไปสู่ยุคทันโลกจากวิสัยทัศน์ของ ศ. นพ. วิจารณ์ พานิช ผู้อานวยการคนแรกของสานักงานกองทุนสนับสนุน
การวิจัย (สกว.) งานวิจัยด้านแผ่นดินไหวได้รับการสนับสนุนอย่างมากจาก สกว. โดย ศ.ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ได้ทุนเมธีวิจัยอาวุโส
สกว. ช่ ว ยสร้ า งนั ก วิ จั ย รุ่ น ใหม่ ใ นปี 2540-2546 และต่ อ มาคณะกรรมการแผ่ น ดิ น ไหวแห่ ง ชาติ ก็ ไ ด้ มี ส่ ว นช่ ว ยผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด
โครงการวิจัยลดภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวในประเทศไทย โดย รศ. เป็ นหนึ่ง วานิชชัยเป็นหัวหน้าโครงการ หลังจากนั้นวิทยาการด้าน
วิศวกรรมแผ่นดินไหวก็ได้ก้าวหน้าไปมาก และมีหน่วยงานอื่นอีกมากให้ทุนวิจัยสนับสนุน

บทความนี้จะส่งเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารวิศวกรรมสาร ฉบับวิจัยและพัฒนาต่อไป
2 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

บทความนี้รวบรวมประวัติและบทเรียนจากแผ่นดินไหวครั้งสาคัญในประเทศ กิจกรรมในงานวิจัยด้านการประเมินความเสี่ยงภัย
จากแผ่นดินไหว งานวิจัยพฤติกรรมของชิ้นส่วนคอนกรีตเสริมเหล็กภายใต้แรงกระทาแบบวัฏจักร และ งานวิจัยการเสริมความแข็งแรง
อาคารเก่ารวมทั้งนวัตกรรมเพื่อต้านทานแผ่นดินไหว

2. บทเรียนสาคัญจากแผ่นดินไหวในประเทศไทย
1B

แผ่นดินไหวที่ส่งผลถึงอาคารให้ผลการทดลองโครงสร้างจริงที่มีคุณค่าทางวิชาการอย่างยิ่ง บทเรียนจากแผ่นดินไหวครั้งสาคัญ
สาหรับประเทศไทยได้แก่

2.1 แผ่นดินไหว อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย ขนาด 5.1 หน่วยริกเตอร์ วันที่11 กันยายน พ.ศ.2537
21B

แผ่นดินไหวนี้มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ทาให้เกิดความเสียหายเล็กน้อยถึงปานกลางแก่อาคารต่างๆ


รวมทั้งวัดและโรงเรียนกว่า 50 หลัง ดังรายงานโดยปณิธานและเป็นหนึ่ง [2] แผ่นดินไหวนี้แสดงให้เห็นชัดเจนว่าแม้มีขนาดกลาง (ค่อน
ไปทางเล็ก) ก็สามารถทาให้อาคารที่มีลักษณะอ่อนแอหรือมีความไม่ปกติเชิงโครงสร้าง (structural irregularity) เกิดความเสียหายใน
ส่วนโครงสร้างได้ หากไม่ได้รับการออกแบบให้ต้านทานแผ่นดินไหว ดังเช่น เสาสั้น

(ก) (ข)
รูปที่ 1 (ก) อาคารผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลพาน อ.พาน จ.เชียงรายราย
การวิบัติเนื่อ(ข) รอยร้าอวทแยงในเสาสั
งจากการเฉื ้น
นของเสาชั้ น 2 ภายในอาคารทั
้ง 2 ต้ น

รูปที่ 2 อาคาร คสล.โรงเรียนแห่งหนึ่ง มีลักษณะชั้นอ่อน รูปที่ 3 รอยร้าวทแยงในเสาสั้นที่เกิดจากแผ่นดินไหวลาว


และมีความไม่ปกติเชิงบิด เสาแตกร้าวแบบการดัด โรงเรียนเม็งรายมหาราชวิทยาคม อ.เมือง จ.เชียงราย

ในอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก(คสล.) 2 ชั้น หลังหนึ่งของโรงพยาบาลพาน (รูปที่ 1) อาคารที่มีชั้นอ่อน (soft story) และ/หรือ


ความไม่ปกติเชิงบิด (torsional irregularity) (รูปที่ 2) นอกจากนี้ อาคารที่ประชิดกันโดยมีรอยต่อเว้นไว้น้อยมาก (ราว 15 – 20 มม.)
ดังที่ปฏิบัติทั่วไปได้เกิดความเสียหายจากการกระแทกกัน ถึงแม้จะไม่เกิดความเสียหายถึงขั้นอาคารพังถล่ม แต่เหตุการณ์แผ่นดินไหว
ครั้งนี้ได้เป็นตัวกระตุ้นผลักดันให้ร่างกฎกระทรวงกาหนดการออกแบบอาคารต้านทานแผ่นดินไหวผ่านออกมาเป็นกฎกระทรวงฉบับที่
49 ในปี 2540

2.2 สึนามิจากแผ่นดินไหวขนาด Mw 9.1 วันที่ 26 ธันวาคม 2547


2B

สึนามิในมหาสมุทรอินเดียเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 เกิดจากแผ่นดินไหวขนาด Mw9.1 หน่วยโมเมนต์ บริเวณชายฝั่งทาง


ตะวันตกของเกาะสุมาตรา ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตในประเทศไทย5,395 คน ผู้สูญหาย 2,817 คน บ้านเรือนเสียหาย 4,800 หลัง และ
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 3

ระบบโครงสร้างพื้นฐานที่อยู่ในบริเวณชายฝั่งทะเลในพื้นที่ 6 จังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามันเสียหายเป็นอย่างมาก Lukkunaprasit และ


Ruangrassamee [3]ได้รายงานความเสียหายเชิงวิชาการพร้อมข้อสังเกตสาหรับการออกแบบอาคารต้านทานสึนามิ Ruangrassamee
และคณะ [4] ได้ศึกษา fragility ของอาคารจากความเสียหายจริงที่สารวจได้
สึ น ามิ นี้ มี ผลกระทบอย่ า งมากทางด้า นวิชาการ กรมโยธาธิ ก ารและผังเมือ งได้ มอบหมายให้จุ ฬ าลงกรณ์มหาวิ ท ยาลัยเป็น
มหาวิทยาลัยหลักเพื่อดาเนินการวิจัยซึ่งได้นาไปสู่การผลิตเอกสารหลักสองฉบับ ได้แก่“มาตรฐานการออกแบบโครงสร้างอาคารอพยพ
ในเขตเสี่ยงภัยสึนามิระดับปานกลาง มยผ.1312-51. กรมโยธาธิการและผังเมือง พ. ศ. 2551” และ “ข้อแนะนาสาหรับรูปแบบและ
การก่อสร้างอาคารทั่วไปที่เหมาะสมในเขตเสี่ยงภัยสึนามิระดับปานกลาง” นอกจากนี้ Lukkunaprasitและคณะ[5] ยังได้ทาการ
ทดสอบอาคารจริงที่เสียหายบางส่วนจากสึนามิเพื่อสอบเทียบแรงที่คาดว่าเกิดขึ้นจริงกับแรงจากทฤษฎี นับเป็นการทดสอบอาคารจริง
ที่ เ สี ย หายจากสึ น ามิ เ ป็ น ครั้ ง แรกในโลก การสอบเที ย บแรงที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง จากคลื่ น จ าลองสึ น ามิ ใ นห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารกั บ แรงจาก
มาตรฐานสากล ได้ดาเนินการโดยความร่วมมือทางวิชาการจาก สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย และ Oregon State University โดย
Lukkunaprasit และคณะ[6] และ Chinnarasriและคณะ[7] จากการสังเกตเห็นอาคารที่มีช่องเปิดได้รับความเสียหายน้อย ได้นาไปสู่
งานวิจัยอิทธิพลของช่องเปิดต่ออาคาร (Lukkunaprasitและคณะ [8]) และสะพาน(Lauและคณะ [9])
ก่อนเกิดสึนามิราว 4 ปี ได้มีการพิจารณาผลการศึกษาการขยายคลื่นโดยชั้นดินอ่อนใน กทม. ซึ่งดาเนินการโดย Dr. S. Ashford
ร่วมกับ ศ.ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ ในที่ประชุมคณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติ ศ. ปริญญา นุตาลัยเมื่อได้ทราบว่าผลขยายมาก
ได้ถึง 4 เท่า แต่กฎหมายในขณะนั้นมิได้กาหนดให้ต้องออกแบบอาคารในกทม.ให้ต้านทานแผ่นดินไหว จึงให้เสนอคณะกรรมการ
ควบคุมอาคารพิจารณาแก้ไขกฎกระทรวงฉบับที่ 49 คณะอนุกรรมการฯที่พิจารณาแก้ไขกฎกระทรวงฯได้ใช้เวลาพิจารณากันนาน
จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์สึนามิ การแก้ไขกฎกระทรวงฯจึงเป็นไปอย่างรวดเร็วและสาเร็จใน พ.ศ. 2550

2.3 แผ่นดินไหวลาว ขนาด Mw 6.3 วันที่16 พ.ค. 2550


23B

แผ่นดินไหว ขนาด Mw 6.3 นี้มีจุดศูนย์กลางอยู่ในประเทศลาว ห่างจากจังหวัดเชียงรายที่จุดใกล้ที่สุดราว 60 กม. ให้บทเรียน


24B

ตอกย้าถึงความเปราะบางของเสาสั้นซึ่งแตกร้าวเสียหายแบบเฉือนได้ง่าย (รูปที่ 3) และปัญหาการกระแทกกันของอาคารที่ประชิดกัน


โดยเว้นรอยต่อระหว่างอาคารตามที่ปฏิบัติกันทั่วไปซึ่งไม่เพียงพอ (ปณิธาน และคณะ [10])

2.4 แผ่นดินไหวTarlay, Myanmar ขนาด Mw 6.8 วันที่ 24 มีนาคม 2554


25B

แผ่นดินไหวขนาด Mw 6.8 ที่ก่อให้เกิดความเสียหายมากในประเทศพม่านี้ มีจุดศูนย์กลางอยู่ห่างจากพรมแดนไทยเพียงประมาณ


30-40 กม. ให้บทเรียนใหม่ๆบางประการที่ไม่เคยพบมาก่อนในประเทศ (ในขณะนั้น) ที่สาคัญคือ อาคารซึ่งมีผนังอิฐก่อภายในโครงข้อ
แข็ง คสล. (masonry infilled RC frame) วิบัติโดยแตกร้าวทแยง ส่งผลให้เสา คสล.วิบัติแบบเฉือนจนเห็นเหล็กเสริมดุ้ง (ดังตัวอย่าง
ในรูปที่ 4) และเป็นครั้งแรกที่พบปรากฏการณ์ทรายเหลว (liquefaction) ในหลายจุดในจังหวัดเชียงราย ความเสียหายจากแผ่นดินไหว
นี้รวมทั้งเหตุการณ์ครั้งก่อนๆได้รายงานโดยปณิธาน และคณะ[11] และอาณัติและจิตติ [12]

(ก) (ข)
รูปที่ 4 รอยร้าวเฉือนในผนังอิฐก่อ(ก)และเสาคสล.(ข) ของอาคารพาณิชย์ 3 ชั้นอาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย
4 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

2.5 แผ่นดินไหวแม่ลาว จังหวัดเชียงราย Mw 6.1(หรือ 6.3หน่วยริกเตอร์) วันที่ 5 พฤษภาคม 2557


26B

นับเป็นภัยแผ่นดินไหวที่ทาให้เกิดความเสียหายมากที่สุดในประวัติศาสตร์ยุคใหม่ของไทย (ไม่นับสึนามิ) และให้บทเรียนสาคัญ


มากมาย ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการออกแบบก่อสร้างอาคารต้านทานแผ่นดินไหว รวมทั้งการดาเนินการเพื่อการบรรเทาภัยจาก
แผ่นดินไหว จากบันทึกแผ่นดินไหวที่ได้ในบริเวณใกล้จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว และการประมาณค่าอัตราเร่งที่ผิวดินโดยใช้แบบจาลอง
การลดทอนของอัตราเร่ง (attenuation model) ที่เหมาะสม ประมาณได้ว่า อัตราเร่งที่ผิวดินมีค่าประมาณ 0.20–0.25g โดยที่ g เป็น
อัตราเร่งจากแรงโน้มถ่วงของโลก (Lukkunaprasit และคณะ [13]) ความรุนแรงของการสั่นไหวนี้ยืนยันได้จากหม้อแปลงขนาดใหญ่
ของสถานีไฟฟ้าแม่ลาว ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นคอนกรีตโดยไม่มีสลักเกลียวยึด ได้เคลื่อนที่ไปราว 60 มม.
จากการสารวจพบว่าวัดและสถานที่ราชการได้รับความเสียหายมากกว่าเมื่อเทียบกับอาคารเอกชน วัดส่วนใหญ่ รวมทั้งอาคาร
โรงเรียนหลายหลังไม่ได้รับการออกแบบให้ต้านทานแผ่นดินไหว ทั้งที่ก่อสร้างภายหลังปี 2540 ซึ่งไม่ควรมีกรณีเช่นนี้เลย เพราะ
อนาคตของชาติจาต้องมีอาคารที่ปลอดภัยใช้เล่าเรียนหนังสือ
อาคารชาวบ้าน 1-3 ชั้น ที่มีใต้ถุนโล่ง ซึ่งเป็นระบบโครงสร้างที่เป็นภูมิปัญญาชาวบ้านเพื่อการระบายน้ายามเกิดน้าหลาก ลาพัง
เสา คสล. (ซึ่งมักมีขนาดเล็ก และไม่ได้มาตรฐาน) ไม่สามารถต้านแรงที่เกิดจากแผ่นดินไหวได้ (ดังตัวอย่างในรูปที่ 5) จาเป็นต้องเพิ่ม
ขนาดเสาเป็นขนาดไม่ต่ากว่า 0.20 ม. และควรมีผนังอิฐก่อ หรือมีระบบต้านแรงด้านข้างอื่น เช่นโครงยึดโยงทแยงไม้หรือเหล็กร่วมด้วย
ในชั้นโล่ง
อาคารโรงเรียน คสล. 3-4 ชั้นที่ชั้นล่างโล่งเป็นส่วนใหญ่ จะมีสมรรถนะแตกต่างกันชัดเจนขึ้นอยู่กับลักษณะของ

รูปที่ 5 ตัวอย่างอาคารอ่อนแอ ใต้ถุนโล่ง เสาเล็ก ในอาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย พังถล่มจากแผ่นดินไหว

ส่วนประกอบส่วนที่ไม่ใช่โครงสร้าง (non-structural component) กล่าวคือ หากมีส่วนที่สติฟ เช่น ช่องบันไดหรือห้องที่มีผนัง


อิฐก่อจัดอยู่เยื้องศูนย์มากๆ เสาเกิดแตกร้าวเสีย หายดังตัวอย่างอาคาร 2 ของโรงเรียนวัดเหมืองง่าพิเศษวิทยา อาเภอพานจังหวัด
เชียงราย ในรูปที่ 6ข แต่ถ้าอาคารมีผนังอิฐก่อจัดอยู่กระจาย เยื้องศูนย์ไม่มากดังอาคาร 1 และ อาคาร 3 ความเสียหายเกิดเฉพาะใน
ส่วนที่ไม่ใช่ส่วนโครงสร้างโดยส่วนโครงสร้างไม่เสียหายแต่อย่างใด

อาคาร 3 อาคาร 1 อาคาร 2


(ก) (ข)
รูปที่ 6 (ก) อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 หลังในโรงเรียนวัดเหมืองง่าพิเศษวิทยา อาเภอพาน จังหวัดเชียงรายที่เกิดความเสียหาย
แตกต่างกัน (ข) อาคาร 2 เสาอาคารแตกร้าวรุนแรง(ภาพเล็ก)

ผนังอิฐก่อในโครง คสล. โดยทั่วไปจะให้ประโยชน์ในองค์รวม โรงเรียนบ้านดอนตัน และโรงเรียนเทศบาล 1 ในอาเภอพาน มี


ลักษณะโครงสร้างเหมือนกันเป็นหลัก (รูปที่ 7 และ 8 ) ระบบโครงสร้างเป็นระบบโครงต้านโมเมนต์ (moment resisting frame
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 5

system)ช่องบันไดซึ่งมีผนังอิฐก่อภายในโครงข้อแข็งคสล.สติฟมากและวางเยื้องศูนย์ (ไปทางด้านซ้ายของรูป) ทาให้อาคารมีความไม่


ปกติเชิงบิดมาก อาคารโรงเรียนเทศบาล 1 จึงเกิดความเสียหายอย่างมาก เสาเสียหายราว10 ต้น เสามุมต้นหนึ่งเสียหายเลย Life
Safety Performance Level(รูปที่ 8ค) ในขณะที่อาคารโรงเรียนบ้านดอนตันเสียหายน้อยกว่า เพราะมีผนังอิฐก่ออยู่ช่วงเสาด้านขวา
สุดของอาคาร(รูปที่ 7ข) ซึ่งช่วยลดความไม่ปกติเชิงบิดลงมาก เสาทั่วไปไม่เสียหาย ยกเว้นเสา2 ต้นที่ประชิดผนังที่วิบัติแบบเฉือน (รูปที่
7ค) ดังนั้น จาต้องพิจารณาผลของแรงมหาศาลที่ถ่ายจากผนังสู่เสา/ข้อต่อ มิเ ช่นนั้นอาจเกิดการวิบัติรุนแรงดังเช่นตัวอย่างในอาคาร
โรงเรียนแม่ลาววิทยาคม (รูปที่ 9) ซึ่งเสาเกือบหลุดจากข้อต่อ (รูปที่ 9ข) แต่น่าสนใจที่ผนังอิฐก่อก็ได้ให้เส้นทางถ่ายแรงแนวดิ่ ง
(ชั่วคราว) ได้ ช่วยป้องกันการพังทลายทันทีทันใด ในขณะที่ในระบบโครงต้านโมเมนต์ หากเสาวิบัติดังเช่นในรูปที่ 8ค โครงสร้างก็จะ
อันตรายกว่ากันมากเพราะไม่มีเส้นทางถ่ายแรงแนวดิ่งอื่นมาช่วยได้ วิธีหนึ่งที่อาจแก้ปัญหาการวิบัติเฉือนในเสาคือ ทาการแยกผนัง
ออกจากโครงข้อแข็ง(ดูหัวข้อ 7) แต่พึงป้องกันการวิบัติในแนวตั้งฉากผนัง

(ก) (ข) (ค)


รูปที่ 7โรงเรียนบ้านดอนตัน อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย (ก) อาคารคสล.4 ชั้น (ข) ผนังอิฐก่อในช่วงเสาปลายสุดด้านขวา
(ค) เสาประชิดผนังอิฐก่อแตกร้าวแบบเฉือน

(ก) (ข) (ค)


รูปที่ 8 โรงเรียนเทศบาล 1 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย (ก) อาคารคสล. 4 ชั้น (ข) ชั้นล่างเสาโล่ง ผนังเบา
(ค) เสามุมด้านหลังวิบัติรุนแรง

(ก) (ข)
รูปที่ 9 (ก)อาคารโรงเรียนแม่ลาววิทยาคม อ.แม่ลาว (ข) เสาวิบัติแบบเฉือน รูปที่ 10 เสาวิบัตแิ บบเฉือนลักษณะเป็น
เนื่องจากแรงมหาศาลส่งถ่ายจากผนังอิฐก่อ เสาสั้น- โรงเรียนพานพิทยาคม
6 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

จากที่กล่าวมาแล้ว จาเป็นต้องพิจารณาผลของส่วนประกอบที่ไม่ใช่ส่วนโครงสร้าง (non-structural component) เช่น ผนังอิฐ


ก่อ ซึ่งมีผลต่อสติฟเนสของโครงสร้างโดยรวม หรือมีผลต่อการเหนี่ยวรั้งเสา ทาให้เสากลายเป็นเสาสั้น ส่งผลให้วิบัติโดยการเฉือนได้ง่าย
ขึ้น ดังตัวอย่างการวิบัติในอาคารโรงเรียนพานพิทยาคม (รูปที่ 10) และพิจารณาแรงปฏิสัมพันธ์(interactive force) ระหว่างโครงข้อ
แข็งคสล. และ ผนังอิฐก่อเพื่อตรวจสอบว่าแรงที่ถ่ ายจากผนังสู่โครงข้อแข็งนั้น เสาและ คานจะสามารถรับได้โดยปลอดภัยหรือไม่ สิ่ง
เหล่านี้ได้กาหนดไว้ในมยผ. 1303-57 [14] และ/หรือมยผ1302-52 [15]

3. การสร้างแผนที่เสี่ยงภัยของประเทศไทย
2B

ได้มีนักวิชาการศึกษาวิจัยเพื่อสร้างแผนที่เสี่ยงภัยสาหรับประเทศไทยภายหลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 22 เมษายน
พ.ศ.2526 แผนที่ฉบับแรกสร้างโดยสิริลักขณ์ จันทรางศุ ในราวพ.ศ.2528 แต่ไม่มีการบันทึกเป็นเอกสารทางวิชาการ ต่อมา ปริญญา
และประกาศ[16] ปณิธานและนพดล[17] และ เป็นหนึ่งและลิซานโตโน[18]ได้สร้างแผนที่เสี่ยงภัยสาหรับประเทศไทย โดยใช้ทฤษฎี
ความน่าจะเป็น ปณิธานและคณะฯใช้ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวระยะหลังราว 20 ปี(ในขณะนั้น) ที่มีความสมบูรณ์ค่อนข้างมาก แต่ไม่ได้ใช้
ข้อมูลแหล่งกาเนิดแผ่นดินไหวเนื่องจากข้อมูลแหล่งกาเนิดแผ่ นดินไหวในสมัยนั้นยังไม่ได้รับการตรวจสอบจากการสารวจภาคสนาม
เพียงพอ ดังนั้นจึงมีข้อจากัดในการประเมินเหตุการณ์ที่มีความน่าจะเป็น ช่ว งการเกิดขึ้น น้อยๆ ในขณะที่เป็นหนึ่งและคณะฯใช้
ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวราว 80 ปี และใช้ข้อมูลแหล่งกาเนิดแผ่นดินไหวที่เสนอโดยNutalaya[19]โดยมีการพิจารณาถึงความไม่สมบูรณ์
ของข้อมูล และใช้วิธีการมาตรฐานของ Cornell ทาการประเมินอัตราเร่งที่ชั้นหินแข็ง
PalasriและRuangrassamee[20]ได้ใช้ข้อมูลแหล่งกาเนิดแผ่นดินไหวที่เสนอโดย Saithongและคณะ[21]และข้อมูลแผ่นดินไหว
ตั้งแต่ ค.ศ.1912 – 2006 ในการสร้างแผนที่เสี่ยงภัย ในการศึกษานั้นได้ใช้แบบจาลองการลดทอนของอัตราเร่งของ Sadighและคณะ
[22]และ Idriss[23]ซึ่งจากงานวิจัยของ Chintanapakdeeและคณะ[24]พบว่า ให้ค่าอัตราเร่งที่ผิวดิน (ชนิดหินแข็ง) ใกล้เคียงกับค่าที่
ตรวจวัดได้จริงโดยเครื่องวัดการสั่นไหวสาหรับแผ่นดินไหวครัสตัล สาหรับการลดทอนของการสั่นไหวจากแผ่นดินไหวที่เกิดจากบริเวณ
ร่องมุดตัวสุมาตราที่ระยะไกลมาก ในงานวิจัยนั้นได้ใช้แบบจาลองของ Petersen และคณะ[25]ซึ่งปรับปรุงจากสมการของ Youngs
และคณะ[26]
ล่าสุด Ornthammarathและคณะ[27]ได้ใช้วิธีการเดียวกับที่ใช้ในการสร้างแผนที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวของสหรัฐอเมริกา โดยใช้
โปรแกรมวิเคราะห์ภัยแผ่นดินไหวเชิงความน่าจะเป็นของ USGS สาหรับสมการลดทอนอัตราเร่งของแผ่นดินไหวผูว้ ิจัยได้ใช้แบบจาลอง
Next Generation Attenuation และอื่นๆ รายละเอียดดังในบทความ[27]

4. การพัฒนาสเปกตรัมการตอบสนองสาหรับกรุงเทพมหานคร
3B

แผนที่เสี่ยงภัยที่กล่าวมาให้ค่าอัตราเร่งที่ชั้นหินแข็งสาหรับความน่าจะเป็นที่จะเกินค่าที่แสดงในแผนที่ได้ตามที่กาหนดสาหรับ
กทม. ได้มีความพยายามพัฒนาสเปกตรัมการตอบสนองสาหรับการออกแบบอาคารในกทม.เพื่อต้านทานแผ่นดินไหว โดยคานึงถึงผล
การขยายคลื่นโดยดินอ่อน การศึกษาผลการขยายคลื่นโดยดินอ่อนกรุงเทพครั้งแรกๆดาเนินการโดยJakrapiyanunและคณะ [28], [29]
Warnitchaiและคณะ[30]ได้พัฒนางานต่อจาก[18]โดยใช้ผลเฉลี่ยของอัตราเร่งจากแบบจาลองการลดทอนอัตราเร่งของ Estevaและ
แบบจาลองสาหรับอเมริกาภาคกลางและตะวันออกเฉียงเหนือ และใช้โปรแกรม SHAKE 91 ทาการวิเคราะห์การตอบสนองของชั้นผิว
ดินแบบมิติเดียว ปณิธาน และคณะ[10] โดยฉัตรพันธ์ จินตนาภักดี ได้ศึกษาระดับความสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวที่อาจเกิดขึ้นที่
กทม. โดยจาลองการตอบสนองของชั้นดินที่กทม.ด้วยโปรแกรม ProShake ในการนี้ได้ใช้ข้อมูลคลื่นแผ่นดินไหวที่บันทึกได้บนหินโผล่
จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวลาว Mw6.3 ในปี 2550 ซึ่งบันทึกได้ในประเทศไทย ร่วมกับข้อมูลแผ่นดินไหวในงานวิจัยของAshford และ
คณะ[29] โดยได้ปรับให้มีอัตราเร่งสูงสุด (PRA) เท่ากับค่าที่คาดการณ์ไว้ในแผนที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวเชิงความน่าจะเป็นของประเทศ
ไทยในงานวิจัยของPalasriและ Ruangrassamee[20] ซึ่งอัตราเร่งในแนวราบสูงสุดที่ชั้นหิน ที่มีโอกาสเกินค่านั้นเท่ากับ 10% ในช่วง
เวลา50 ปี(probabilityof exceedance of 10% in 50 years) บริเวณกรุงเทพมหานครมีค่าประมาณ0.033g ต่อมาในปี พ.ศ.2552
เป็นหนึ่งและคณะ ได้เสนอสเปกตรัมการตอบสนองสาหรับการออกแบบอาคารในประเทศไทยรวมทั้ง กทม. (มยผ. 1302-52) [15] โดย
หลักการที่ใช้ดาเนินการตามงานวิจัยใน[27]
รูปที่ 11 รวบรวมสเปกตรัมการตอบสนองออกแบบที่เสนอในช่วง 15ปีที่ผ่านมา จะสังเกตเห็นความแตกต่างพอสมควรโดยเฉพาะ
ในย่านคาบการสั่นไหวสั้นๆ ทั้งนี้เนื่องจากการประเมินการเสี่ยงภัยมีตัวแปรที่มีความไม่แน่นอนสูงมาก อีกทั้งข้อสมมติฐานที่ต่างกันก็
ให้ผลต่างกันได้มาก ปณิธานได้ให้ข้อวิจารณ์ไว้ในบทความ [31]
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 7

รูปที่ 11 เปรียบเทียบสเปกตรัมการตอบสนอง สาหรับกทม. จากงานวิจัยต่างๆกับมยผ. 1302 (2552)

5. การศึกษาคุณสมบัติเชิงปฐพีพลศาสตร์ของดินฐานราก
4B

Teachavorasinskunและคณะโดยโครงการวิจยั ของ สกว.ในระหว่างปี 2541-2546 ได้ศึกษาความสัมพันธ์ของคุณสมบัติเชิงปฐพี


พลศาสตร์ของดินอ่อนกรุงเทพกับระดับความลึกต่างๆ โดยการทดสอบในห้องปฏิบัติการ รวมทั้งทาการตรวจสอบผลการศึกษากับการ
ทดสอบภาคสนาม คุณสมบัติทางพลศาสตร์ที่สาคัญได้แก่ ค่าโมดุลลัสเฉือน และ อัตราส่วนการหน่วง นอกจากนี้ Teachavorasinskun
และคณะ[32]ได้ศึกษาการเกิดปรากฏการณ์ทรายเหลว (liquefaction) ของชั้นดินในจังหวัดเชียงใหม่ และ เชียงราย ซึ่งจากสภาพทาง
ธรณีวิทยาพื้นที่บริเวณมากประกอบด้วยชั้นดินทรายที่มีความหนาแน่นต่าที่ระดับตื้นกว่า 10 เมตร การศึกษาพบว่าที่ระดับอัตราเร่งผิว
ดินราว 0.2g กว่า 65% ของพื้นที่ที่ทาการวิเคราะห์ จะเกิด partial liquefaction ผลการศึกษานี้ได้รับการยืนยันจากเหตุการณ์
แผ่นดินไหวขนาด 6.8 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2554 และ แผ่นดินไหวแม่ลาว ขนาด 6.1 เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 ซึ่งปรากฏว่าได้
เกิดทรายเหลวในพื้นที่จังหวัดเชียงรายหลายจุดด้วยกัน
การตรวจวัดความเร็วคลื่นเฉือนใน กทม. เริ่มแรกทาโดยใช้หลุมเจาะจนถึงความลึก 30 ม.[29] ต่อมาได้มีการประยุกต์วิธีการ
ตรวจวั ด คลื่ น ขนาดเล็ ก บนผิ ว ดิ น (micro-tremor)ในการศึ ก ษาความเร็ ว คลื่ น เฉื อ น(Arai และYamazaki [33])และการท า
microzonation (Tuladhar และคณะ [34]) ในบริ เ วณกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในปี 2552 จิ ต ติ แ ละอาณัติ [35]ได้ศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วคลื่นเฉือน ค่า N สาหรับการตอกกระบอกผ่าทดสอบ และกาลังรับแรงเฉือนแบบไม่คายน้าของดินใน
กรุงเทพฯ และบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย ต่อมานครและนนทกร[36] และ Poovarodomและคณะ[37-38]ได้ใช้ข้อมูลจากการ
ตรวจวัดคลื่นขนาดเล็กที่ผิวดินในกทม. โดยดาเนินการตรวจวัดด้วยรูปแบบโครงข่าย และวิเคราะห์ด้วยเทคนิค อัตราส่วนสเปกตรัม
ส่ ว นประกอบแนวราบต่อ แนวดิ่ง (Horizontal-to-Vertical spectral ratio) และ Spatial Autocorrelation Method (SPAC) เพื่ อ
ประเมินหาค่าคาบอิทธิพลหลัก และความเร็วคลื่นเฉือนตามความลึกในปี 2555 นรากรและคณะ[39]ได้ประยุกต์วิธีการดังกล่าวกับพื้น
ที่ตั้งในจังหวัดเชียงใหม่

6. การวิจัยพฤติกรรมของชิ้นส่วนอาคารภายใต้แรงกระทาแบบวัฏจักร
5B

Sittipuntและคณะ[40]ได้ทดสอบกาแพงคอนกรีตเสริมเหล็กที่เตี้ย เสริมด้วยเหล็กทแยง ภายใต้แ รงกระทาด้านข้างแบบวัฏจักร


ซึ่ งต่ อ มาได้รับ การศึ กษาเพิ่ม เติมโดย Shaingchinและคณะ[41] ส าหรั บระบบโครงข้ อ แข็ ง คสล. ที่ มี ผ นั งอิ ฐ ก่อ ภายในเพิ่งได้รับ
การศึกษาสมรรถนะไม่นานมานี้ โดยเกริกฤทธิ์ และคณะ[42] และ SrichaiและLukkunaprasit[43]
ชิ้นส่วนอาคารที่ได้รับความสนใจมากที่สุดได้แก่เสา คสล. ที่ไม่ได้ออกแบบให้รับแรงแผ่นดินไหวโดยผู้วิจัยมีอาทิกวินและเป็นหนึ่ง
[44] Rodsinและคณะ[45] Wibowoและคณะ[46] ปรัชญาและกิตติภูม[ิ 47] Prawatwongและคณะ[48] การทดสอบส่วนใหญ่ (ยกเว้น
[44,48])ทดสอบจนใกล้การวิบัติแบบแรงโน้มถ่วง (gravity load collapse) สาหรับPrawatwongและคณะได้ศึกษาพฤติกรรมการรับ
แรงแผ่นดินไหวของจุดต่อพื้นคอนกรีตอัดแรง-เสา ทั้งที่มีและไม่มีแป้นหัวเสา

7. การวิจัยการเสริมความแข็งแรงอาคารเก่าและการลดการสั่นไหวด้วยอุปกรณ์สลายพลังงาน
6B

การเสริมความแข็งแรงอาคารเพื่อต้านทานแผ่นดินไหวจะเสียค่าใช้จ่ายมาก ซึ่งจะเป็นภาระหนักสาหรับประชาชนทั่วไป ดังนั้น


การวิจัยเพื่อให้ได้วิธีการที่ประหยัดและเหมาะสมสาหรับประเทศไทยจึงเป็นสิ่งสาคัญเนื่องจากอาคารเก่ามีจานวนมากPimanmasและ
Chaimahawan[49]ได้ทดสอบการเสริมกาลังจุดต่อคาน-เสาด้วยวิธีการขยายจุดต่อเชิงระนาบ Pimanmasและคณะ[50-51]ได้ศึกษา
ผลการพันเสาด้วยพอลิเมอร์เสริมเส้นใย (fiber reinforced polymer FRP) ต่อพฤติกรรมของเหล็กต่อทาบอลงกรณ์ และคณะ[52]ได้
8 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

ทดสอบการเสริมกาลังของเสา คสล.ที่มีความเหนียวจากัดโดยใช้ FRP Khampanitและคณะ[53-54]โดย สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ ได้


ประยุกต์buckling restrained brace(BRB)ในการเสริมความแข็งแรงโครงสร้าง คสล.
สาหรับการเสริมความแข็งแรงอาคาร คสล. ที่มีจานวนชั้นไม่มาก วิธีหนึ่งที่ประหยัดได้แก่ การเสริมเหล็กตะแกรงหุ้มผนังอิฐก่อ
แล้วโบกปูนทับ แต่ควรแยกผนังอิฐก่อออกจากเสาโครงสร้างที่ ล้อมผนังและใช้หูช้างเหล็กทาหน้าที่ถ่ายแรงระหว่างโครง คสล. กับผนัง
อิฐก่อ (รูปที่12) เพื่อป้องกันเสาของโครงนั้นวิบัติแบบเฉือนดังเช่นอาคารโรงเรียนแม่ลาววิทยาคม (รูปที่9) SrichaiและLukkunaprasit
[43] พบว่าระบบนี้ สามารถเพิ่มความสามารถในการเคลื่อนที่ (drift capacity)ของโครงสร้างได้ถึง 2% ซึ่งมากกว่า 5 เท่าเมื่อเทียบกับ
โครงสร้างที่ไม่ได้ปรับปรุง อนึ่ง สาหรับอาคารสูงไม่เกิน 5 ชั้น วิโรจน์ บุญญภิญโญ พบว่าผนังอิฐก่อธรรมดาจะเพิ่มสมรรถนะแก่อาคาร
โดยรวมโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเสาอาคารเล็ก การวิเคราะห์อาจกระทาด้วยวิธีดังแสดงใน[55]
การใช้อุปกรณ์สลายพลังงาน (damper) มีประโยชน์ในการลดการสั่นไหวและ/หรือจากัดความเสียหายได้ งานวิจัยในประเทศมี
อาทิ Lukkunaprasit และคณะ[56], Pinkaewและคณะ[57], Ruangrassamee และคณะ [58] บางระบบมีข้อดีที่สามารถจากัดแรงที่
ถ่ายลงฐานรากได้ แต่อาจมีข้อเสียที่เป็นเทคโนโลยีนาเข้า ราคาแพง และอาจมีปัญหาความคงทนระยะยาว

8. นวัตกรรม
7B

8.1 คลิปยึดขาเหล็กปลอก
27B

ได้มีความพยายามพัฒนานวัตกรรมสาหรับการออกแบบอาคารต้านทานแผ่นดินไหวให้มีปะสิทธิภาพ เพื่อให้ใช้ได้กั บสภาพการ


ก่ อ สร้ า งในประเทศนั้ น ๆ ส าหรั บ เมื อ งไทย Lukkunaprasitและคณะ[59]ได้ พั ฒ นาคลิ ป ยึ ด ขาเหล็ ก ปลอก (hook – clip)ซึ่ งเป็ น
สิ่งประดิษฐ์ที่ช่วยยึดขาของอเหล็กปลอก 90 องศา (ดังแสดงในรูปที่ 13)เพื่อเพิ่มสมรรถนะเสาคสล.ในการต้านทานแผ่นดินไหว คลิปฯ
นี้ฝังอยู่ในแกนคอนกรีตทาหน้าที่เหนี่ยวรั้งขาของอเหล็กปลอกชะลอการง้างออก จากการทดสอบเสาคสล.ขนาดใหญ่ พบว่า hook-clip
ช่วยเพิ่มสมรรถนะของเสาคสล. ทาให้สามารถทนการโยกตัวไปมา (เช่น จากผลของแผ่นดินไหว) ได้มากขึ้นกว่าเสาที่ไม่เสริม hook-
clip เกือบเท่าตัวในตั วอย่างที่ทดลอง แนวความคิดนี้ได้ถูกพัฒนาต่อโดย Kristianto และคณะ[60]เพื่อประยุกต์ในเขตแผ่นดินไหว
รุนแรง

8.2 เหล็กเสริมชนิดหน่วงการโก่งเดาะ(Buckling Restrained Reinforcement - BRR)


28B

เหล็กยืนในเสาที่มีเหล็กลูกตั้ง (tie) รัดห่างๆ จะโก่งเดาะได้ง่าย ทาให้เสาเกิดการวิบัติแบบเปราะ ความสามารถในการเสียรูปก็จะ


ลดลงอย่างมาก Lukkunaprasitและคณะ[61] ได้ประดิษฐ์เหล็กเสริมชนิดหน่วงการโก่งเดาะของเหล็กยืนในเสา โดยใช้หลักการของ
BRBในโครงสร้างเหล็ก จากการประยุกต์กับเสาที่เป็นประเภทออกแบบรับแรงโน้มถ่วงอย่างเดียวซึ่งจะวิบัติแบบเฉื อนภายใต้แรง
ด้านข้างแบบวัฏจักร พบว่า BRR สามารถเปลี่ยนรูปแบบการวิบัติจากการวิบัติแบบเฉือนซึ่งเป็นแบบเปราะไปเป็นแบบดัด (flexural
failure) ซึ่งมีความเหนียว Ruangrassameeและ Sawaroj[62] ได้ประดิษฐ์ rebar-restraining collarsเพื่อหน่วงการโก่งเดาะของ
เหล็กยืนในเสาเช่นกัน

คลิปยึดขาเหล็ก
ปลอก

รูปที่ 12 ระบบโครงคอนกรีตเสริมเหล็กทีม่ ีผนังอิฐก่อภายในที่ปรับปรุงโดยการ รูปที่ 13คลิปยึดขาเหล็กปลอก


แยกผนังออกจากโครง โยกตัวได้มากกว่าโครงสร้างเดิม 5 เท่า

9. กฎหมายเอื้อแก่การเสริมความแข็งแรงของอาคารเก่า
8B

ในปี 2552 คณะอนุกรรมาธิการปัญหาภัยธรรมชาติและภาวะโลกร้อน ในคณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


วุฒิสภา ซึ่งมีศาสตราภิชานวิระ มาวิจักขณ์ เป็นประธาน ได้รับรายงานจาก ศ. ดร.ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ อนุกรรมาธิการฯ เกี่ยวกับ
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 9

ปัญหายุ่งยากในทางปฏิบัติหากเจ้าของอาคารที่ก่อสร้างก่อนกฎหมายกาหนดให้ออกแบบอาคารต้านทานแผ่นดินไหว ต้องการเสริม
ความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร(แม้โดยสมัครใจเพื่อความปลอดภัย )ให้สามารถต้านแผ่นดินไหวได้ แต่ในทางกฎหมายจะต้องถือว่าเป็น
การดัดแปลงอาคาร ทาให้ต้องปฏิบัติตามกฎหมายอื่นย้อนหลัง ไม่เป็นการจูงใจให้เจ้าของอาคารทาการเสริมความมั่นคงแข็งแรงของ
อาคารที่ไม่ปลอดภัย คณะอนุกรรมาธิการฯ จึงได้เสนอคณะกรรมการควบคุมอาคาร ให้พิจารณาออกกฎหมายเพื่อเอื้อต่อการขอ
อนุญาตเสริมความแข็ งแรงของอาคาร ซึ่งจะเป็นการจูงใจให้เจ้าของอาคารทาการเสริมความแข็งแรงของอาคารเก่าที่ไม่แข็งแรง
เพียงพอ คณะกรรมการควบคุมอาคารได้ดาเนินการโดยรวดเร็ว และได้ออกกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์การอนุญาตดัดแปลงอาคาร
เพื่อเสริมความมั่นคงแข็งแรงของอาคารให้สามารถต้านแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว พ.ศ. ๒๕๕๕ ในเวลาต่อมา กรมโยธาธิการและ
ผังเมือง ได้มอบหมายให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยหลักในการร่างมาตรฐานการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างโดยมี
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรนิ ธร และมหาวิทยาลัยมหิดล
ร่วมดาเนินงาน ร่างดังกล่าวได้ผ่านออกมาเป็น มาตรฐานการประเมินและการเสริมความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้างอาคารในเขตที่
อาจได้รับแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว (มยผ.1303-57) ในปี 2557
10. สู่วิศวกรรมแผ่นดินไหวในทศวรรษหน้า
9B

งานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์จาต้องมีการตรวจสอบทฤษฎีกับการทดลองหรือข้อมูลจากการตรวจวัด (ที่ถูกต้อง) ยกตัวอย่างการ


ประเมินความเสี่ยงภัย Lam และคณะ[63]กล่าวว่าสาหรับเหตุการณ์แผ่นดินไหวสุมาตราประเภทมุดตัวที่มีผลต่อเมืองที่อยู่ห่างออกไป
(ในระดับ 600 กม หรือกว่านั้น) ไม่อาจใช้แบบจาลองการลดทอนของอัตราเร่งที่มีอยู่ได้เนื่องจากข้อมูลมีน้อยมากในช่วงระยะไกลมากๆ
(จึงยังมิได้ผ่านการสอบเทียบความถูกต้อง) Lam และคณะ จึงใช้แบบจาลอง stochastic อย่างง่ายวิเคราะห์สเปกตรัมการตอบสนอง
บนชั้นหินแข็งสาหรับเหตุการณ์แผ่นดินไหวสุมาตราประเภทมุดตัวขนาด Mw 9-9.5 ที่ระยะห่างจากสิงคโปร์ 600 กม. ได้ค่าอัตราเร่งซู
โด-สเปกตรัมตอบสนอง (pseudo- acceleration response spectrum) = 1.3%g และได้เปรียบเทียบผลสเปกตรัมการตอบสนองที่
ได้กับผลจากการตรวจวัดคลื่นที่บันทึกได้ในสิงคโปร์จากแผ่นดินไหวประเภทมุดตัว M9.3 (ปี2004), M8.6 (ปี2005), M8.4 (ปี 2007)
ซึ่งพบว่าสอดคล้องกันมาก สาหรับ กทม. เนื่องจากการตรวจวัดคลื่นที่ชั้น(คล้าย)หินใน กทม. เป็นสิ่งที่เป็นไปได้ยากเพราะชั้น(คล้าย)
หิน อยู่ลึกมาก ดังนั้น จึงควรวางแผนวางโครงข่ายตรวจวัดแผ่นดินไหวบนชั้นหินในจังหวัดรอบๆ กทม. เพื่อจะได้ข้อมู ลคลื่นที่ดีบนชั้น
หินแข็งจากผลของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นทั้งใกล้และไกลกทม.ในอนาคต ซึ่งจะนาไปสู่การสร้างแบบจาลองการลดทอนของอัตราเร่ง หรือ
แบบจาลองการวิเคราะห์ที่เหมาะสมสาหรับการประเมินความเสี่ยงภัยที่เหมาะสมต่อไป
ภัยพิบัติธรรมชาติทุกครั้งนาความสูญเสียสู่มนุษย์ชาติ แต่ขณะเดียวกันก็ให้บทเรียนอันล้าค่าแก่เราในการเรียนรู้ และวิจัย
พัฒนาเพื่อป้องกัน หรือ บรรเทาภัยในอนาคต ภายหลังจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว ChiChiประเทศไต้หวัน ขนาด M7.6 เมื่อวันที่ 21
กันยายน ค.ศ.1999 มีผู้เสียชีวิตกว่า 2100 คน โดยมีโรงเรียนได้รับความเสียหายอย่างมาก รัฐบาลได้ลงทุนทั้งการวิจัย พัฒนา การ
ประเมินความมั่นคงแข็งแรงของอาคารโรงเรียน ตลอดจนการเสริมกาลังอาคารที่อ่อนแอ “ไต้หวันโมเดล” นี้น่าจะเป็นแบบอย่างที่ดี
สาหรับประเทศไทย สมควรที่ประชาคมวิศวกรแผ่นดินไหวในประเทศจะผนึกพลังผลักดันให้เกิดโครงการเช่นนี้ และทาโครงการให้
สาเร็จ หากเป็นไปได้ ก็น่าจะก้าวไปถึงขั้นการจัดตั้งศูนย์วิจัยแห่งชาติดังเช่น National Center for Earthquake Engineeringของ
ไต้หวันต่อไป

กิตติกรรมประกาศ
ผู้เขียนขอขอบคุณโยธาธิการจังหวัดเชียงรายในการอานวยความสะดวกในการสารวจความเสียหายของอาคารจากแผ่นดินไหว
เมื่อ วันที่ 7-9 พ.ค. 2557 และขอขอบคุณ ผศ.สนิท พิพิธสมบัติ และ ผศ.วรพรรณ นันทวงศ์ สาหรับข้อมูลและรูปภาพโรงเรียนวัด
เหมืองง่าพิเศษวิทยา อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย
งานวิจัยและพัฒนาที่ก้าวไกลมาได้ถึงสถานะปัจจุบันก็ด้วยความมุ่งมั่นของนักวิจัยต่างๆ การสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยต้นสังกัด
และหน่วยงานให้ทุนวิจัยมากมาย มีอาทิ สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สานั กงาน
คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมอุตุนิยมวิทยา กรมทางหลวงชนบท นอกจากนี้ การทดสอบโครงสร้างได้รบั
ความอนุเคราะห์ด้วยดีจากบริษัทเอกชนในการก่อสร้างหรือติดตั้งอุปกรณ์ทดสอบ เช่น STS Engineering Consultants Co., Ltd.
บริษัท อินเตอร-คอนซัลท์ จากัด Christiani & Nielsen (Thai) PCL เป็นต้น และกาลังสาคัญที่เชื่อมโยงปัจจุบันและอนาคตคือ นิสิต
นักศึกษา
10 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

เอกสารอ้างอิง
10B

[1] Earthquake engineering and hazard mitigation.(1986). Proceedings of the Workshop on Earthquake Engineering and Hazard
30B

Mitigation, Southeast Asia Association of Seismology and Earthquake Engineering and the National Earthquake Committee of
Thailand, Bangkok, Thailand.
[2] ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ และ เป็นหนึ่ง วานิชชัย (2538). ความเสียหายจากแผ่นดินไหวที่อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย. โยธาสาร, วิศวกรรมสถาน
31B

แห่งประเทศไทยฯ, ปีที่ 7 ฉบับที่ 1, หน้า 9-16.


[3] Lukkunaprasit P. and Ruangrassamee A. (2008). Damage of buildings in Thailand in the 2004 Indian Ocean tsunami and clues for
32B

tsunami resistant design. IES Journal A: Civil and Structural Engineering, V.1, No.1.
[4] Ruangrassamee A., Yanagisawa H., Foytong P., Lukkunaprasit P., Koshimura S. and Imamura F. (2006). Investigation on tsunami-
3B

induced damage and fragility of buildings in Thailand. Journal of Earthquake Engineering Research Institute, Earthquake Spectra,
V. 22, Issue S3, pp. S377-S401.
[5] Lukkunaprasit P., Ruangrassamee A. and Stitmannaithum B. (2010). Calibration of tsunami loading on a damaged building. Journal
34B

of Earthquake and Tsunami, V. 4, No. 2, pp. 105-114.


[6] Lukkunaprasit P., Thanasisathit N. and Yeh H. (2009). Experimental verification of FEMA P646 tsunami loading. Journal of Disaster
35B

Research, V.4, No. 6, pp. 410-418.


[7] Chinnarasri C., Thanasisathit N., Ruangrassamee A., Weesakul S. and Lukkunaprasit P. (2013). The impact of tsunami-induced
36B

bores on buildings. Proceedings of the Institution of Civil Engineers, Maritime Engineering, V.166, No. 1, pp. 14-24.
[8] Lukkunaprasit P., Thanasisathit N. and Ruangrassamee A. (2009).Tsunami loading on buildings with Openings. Journal of Tsunami
37B

Society, Volume 28, No 5, Nov. 2009.


[9] Lau T.L., Lukkunaprasit P. and Ruangrassamee A. (2010). Performance of bridges with solid and perforated parapets in resisting
38B

tsunami attacks. Journal of Earthquake and Tsunami, Volume 4, Issue 2, Jun. 2010, pp. 95-104.
[10] ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์, ฉัตรพันธ์ จินตนาภักดี, อาณัติ เรืองรัศมี, จิตติ ปาลศรี, มานพ เจริญยุทธ, และธวัช อนันต์ธนวณิช (2551). ความเสียหาย
39B

ของอาคารจากแผ่นดินไหวและข้อพิจารณาสาหรับการออกแบบอาคารในกรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 13,


พัทยา, จ. ชลบุร,ี STR313 – STR319.
[11] ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์, อาณัติ เรืองรัศมี , ฐิรวัตร บุญญะฐี, เสถียร เจริญเหรียญ, นรินทร์ กวางทอง, หทัยรัตน์ มณีเทศ และ สุวิทย์ โคสุวรรณ
40B

(2554). รายงานความเสียหายเนื่องจากแผ่นดินไหวพม่า วันที่ 24 มีนาคม 2554. โยธาสาร, ปีที่ 23, ฉบับที่ 2, หน้า 7-17.
[12] อาณัติ เรืองรัศมี และ จิตติ ปาลศรี (2554). แผ่นดินไหวที่ประเทศพม่า ในวันที่ 24 มีนาคม 2554 กับบทเรียนทางวิศวกรรม. วิศวกรรมสาร, ปีที่ 64,
41B

ฉบับที่ 2, หน้า 47-65.


[13] Lukkunaprasit P., Chintanapakdee C., Ruangrassamee A. and Boonyatee T. (2014). Performance of buildings in the Mw6.1 Mae
42B

Lao earthquake in Thailand on May 5, 2014.The 5th Asia Conference on Earthquake Engineering, Taipei, October 16-18, 2014.
[14] กรมโยธาธิการและผังเมือง (2557). มาตรฐานการประเมินและการเสริมความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้างอาคารในเขตที่อาจได้รับแรงสั่นสะเทือนของ
43B

แผ่นดินไหว (มยผ.1303-57).
[15] กรมโยธาธิการและผังเมือง (2552). มาตรฐานการออกแบบอาคารต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว (มยผ.1302-52).
4B

[16] ปริญญา นุตาลัย และ ประกาศ มานเศรษฐา (2533). ความสั่นสะเทือนและความเสี่ยงภัยเนื่องจากแผ่นดินไหวในประเทศไทย. เอกสารการประชุม


45B

ใหญ่วิชาการทางวิศวกรรมประจาปี 2533, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศ-ไทยฯ, หน้า 57-77.


[17] ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ และ นพดล คูหาทัสนะดีกุล (2536). เขตแผ่นดินไหวและสัมประสิทธิ์ แผ่นดินไหวสาหรับประเทศไทย. เอกสารการประชุม
46B

ใหญ่วิชาการทางวิศวกรรมประจาปี 2536, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศ-ไทยฯ, หน้า 268-287.


[18] เป็นหนึ่ง วานิชชัย และ อาเด ลิซานโตโน (2537). การวิเคราะห์ความเสี่ยงภัยจากแผ่นดินไหวสาหรับประเทศไทย. วิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา,
47B

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ, ปีที่ 5, ฉบับที่ 1, พ.ศ. 2537, หน้า 30-52.


[19] Nutalaya P., Sodsri S. and Arnold E.P. (1985). Southeast Asia Association of Seismology and Earthquake Engineering Series on
48B

Seismology-Volume II-Thailand, p. 402.


[20] Palasri C. and Ruangrassamee A. (2010). Probabilistic seismic hazard maps of Thailand. Journal of Earthquake and Tsunami, 4(4),
49B

369–386.
[21] Saithong P., Kosuwan S., Choowong M., Won-in K., Takashima I. and Charusiri P. (2004). Preliminary study on morpho tectonic
50B

evidences along Moei-Mae Ping fault zone, Tak province, Northwestern Thailand. Asia Conference on Earthquake Engineering,
Manila, Philippines.
[22] Sadigh K., Chang C.Y., Egan J.A., Makdisi F. and Youngs R.R. (1997). Attenuation relationships for shallow crustal earthquakes
51B

based on California strong motion data. Seismological Research Letters, 68(1), 180–189.
[23] Idriss I.M. (1993).Procedures for selecting earthquake ground motions at rock sites. Report No. NIST GCR 93-625, Report to
52B

National Institute of Standards and Technology, Gaithersburg, Maryland, Center for Geotechnical Modeling, Department of Civil
and Environmental Engineering, University of California, Davis, California.
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 11

[24] Chintanapakdee C., Naguit M.E., and Charoenyuth M. (2008).Suitable attenuation model for Thailand. Proceedings of the 14th
53B

World Conference on Earthquake Engineering, Beijing China, October 12-17,Paper no. 02-0088.
[25] Petersen M.D., Dewey J., Hartzell S., Mueller C., Harmsen S., Frankel A.D., Rukstales K. (2004). Probabilistic seismic hazard analysis
54B

for Sumatra, Indonesia and Across the Southern Malaysian Peninsula. Tectonophysics, 390, 141–158.
[26] Youngs R.R., Chiou S.J., Silva W.J. and Humphrey J.R. (1997). Strong ground motion attenuation relationships for subduction zone
5B

earthquakes. Seismological Research Letters, 68(1), 58–73.


[27] Ornthammarath T., Warnitchai P., Worakanchana K., Zaman S., Sigbjörnsson R., Lai C.G. (2 0 1 0 ) . Probabilistic seismic hazard
56B

assessment for Thailand. Bulletin of Earthquake Engineering, Springer.


[28] Jakrapiyanun W., Ashford S. A. and Lukkunaprasit P. (1995). Estimation of In-situ shear wave velocity of soft Bangkok clay.
57B

Procedings of the 2nd National Convention on Civil Engineering, pp. 321-326.


[29] Ashford A.S., Jakrapiyanun W. and Lukkunaprasit P. (2000). Amplification of earthquake ground motions in Bangkok. Proceedings
58B

of the12th World Conference on Earthquake Engineering, Auckland, New Zealand.


[30] Warnitchai P., Sangarayakul C. and Ashford A.S. (2000). Seismic hazard in Bangkok to long-distance earthquakes. Proceedings of
59B

the 12th World Conference On Earthquake Engineering (12WCEE), New Zealand, paper number 2145.
[31] ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ (2554). ข้อพิจารณาเพื่อปรับปรุง สเปกตรัมการตอบสนองสาหรับ กทม. ใน มยผ.1302 ก.ค.- ก.ย. /2554, 7-13.
60B

[32] Teachavorasinskun S., Pattararattanakul P. and Pongvithayapranu P. (2009). Liquefaction susceptibility in the northern provinces
61B

of Thailand. American Journal of Engineering and Applied Sciences, V. 2, No.1, pp. 194-201.
[33] Arai H. and Yamazaki F. (2002). Exploration of S- wave velocity structure using microtremor arrays in the greater Bangkok, Thailand.
62B

Earthquake Disaster Mitigation Research Center.


[34] Tuladhar R., Yamazaki F., Wanitchai P. and Saita J. (2004). Seismic microzonation of greater Bangkok using microtremor
63B

observation. Earthquake Engineering and Structural Dynamics, V.33, 211-225.


[35] จิตติ ปาลศรี และ อาณัติ เรืองรัศมี (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วคลื่นเฉือน ค่า N สาหรับการตอกกระบอกผ่าทดสอบและกาลังรับแรงเฉือน
64B

แบบไม่คายน้าของดินใน กรุงเทพฯ และบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย. การประชุม วิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 14, มหาวิทยาลัย


เทคโนโลยีสุรนารี.
[36] นคร ภู่วโรดม และ นนทกร ผลินยศ (2554). คุณลักษณะของชั้นดินบริเวณที่ตั้งในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจากการตรวจวัดคลื่นขนาดเล็กบนผิว
65B

ดิน, ปีที่ 22, ฉบับที่ 3.


[37] Poovarodom N. and Plalinyot N. (2 0 1 2 ) . Evaluation of site effects in the greater Bangkok by micro-tremor observations.
6B

Proceedings of the 15th World Conference on Earthquake Engineering, paper No. 4115, Lisbon, Portugal.
[38] Poovarodom N. and Plalinyot N. (2013). Site characterization in the greater Bangkok area by micro-tremor observations. Journal
67B

of Earthquake Engineering, 17, February, 209-226.


[39] นรากร บุญเต็ม และ นคร ภู่วโรดม (2555). คุณสมบัติของชั้นดินบริเวณที่ตั้งในจังหวัดเชียงใหม่เพื่อการประเมินความรุนแรงจากแผ่นดินไหว. การ
68B

ประชุมทางวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 17
[40] Sittipunt C., Wood S.L., Lukkunaprasit P. and Pattararattankul P. (2001). Cyclic behavior of reinforced concrete shear walls with
69B

diagonal web reinforcement. ACI Structural Journal, V.98, No.4, pp. 554-562.
[41] Shaingchin S., Lukkunaprasit P. and Wood S.L. (2007). Influence of diagonal web reinforcement on cyclic behavior of structural
70B

walls. Engineering Structures, V. 29,No.4, pp. 498-510.


[42] เกริกฤทธิ พรมดวง, สุรศักดิ์ นิยมพานิชพัฒนา, เจนศักดิ์ คชนิล, สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์, เป็นหนึ่ง วานิชชัย (2553). การทดสอบโครงอาคารคอนกรีต
71B

เสริมเหล็กที่มีผนังอิฐก่อภายใต้แรงสลับทิศ. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 15, 12-14 พฤษภาคม 2553.


[43] Srechai J. and Lukkunaprasit P. (2013). An innovative scheme for retrofitting masonry-infilled non-ductile reinforced concrete
72B

frames. IES Journal Part A: Civil and Structural Engineering, V.6, No.4, pp. 277–288.
[44] กวิน วรกาญจนา และ เป็นหนึ่ง วานิชชัย (2545). การทดสอบเสาคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีการทาบเหล็กเสริมด้วยวิธีแรงวัฏจักรกึ่งสถิต . การประชุม
73B

วิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 8, จ. ขอนแก่น, STR77 – STR82.


[45] Rodsin K., Awan T., Warnitchai P. (2010). Seismic performance assessment of existing non-ductile reinforced concrete columns.
74B

Proceedings of the 3rd Asia Conference on Earthquake Engineering, Bangkok, Thailand, Paper P-033.
[46] Wibowo A., Wilson J.L., Fardipour M., Lam N.T.K., Rodsin K., Lukkunaprasit P. and Gad E.F. (2011). Seismic performance assessment
75B

of lightly reinforced concrete columns. Proceedings of the 2 1 st Australian Conference on the Mechanics of Structures and
Materials, Melbourne, Australia, 341-346.
[47] ปรัชญา ยอดดารงค์ และ กิตติภูมิ รอดสิน (2555). ความสามารถในการรับน้าหนักบรรทุกของเสาคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีความเหนียวจากัดแบบมี
76B

เหล็กต่อทาบและไม่ต่อทาบภายใต้แรงกระทาแบบวัฏจักร.การประชุมวิชาการคอนกรีตแห่งชาติ ครั้งที่ 8, พัทยา, จ. ชลบุรี, STR120 – STR126.


[48] Prawatwong U., Warnitchai P., Tandian C.H. (in print). Seismic performance of bonded post-tensioned slab-column connections
7B

with and without drop panel. Advances in Structural Engineering.


12 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

[49] Pimanmas A., Chaimahawan P. (2 0 1 0 ) . Shear strength of beam - column joint with enlarged joint area. Engineering Structures,
78B

32, 2529 - 2545


[50] Pimanmas A. and Thai D. X. (2009).Modeling of RC column with lap splices strengthened by fiber reinforced polymer (FRP).
79B

Research and Development Journal of the Engineering Institute of Thailand, 20(4), pp. 22-34.
[51] Pimanmas A. and Thai D. X. (2011). Response of lap splice of reinforcing bars confined by FRP wrapping: application to nonlinear
80B

analysis of RC column. Structural Engineering and Mechanics, 37(1), pp. 111-129.


[52] อลงกรณ์ เพชรดี, กิตติภูมิ รอดสิน และชานาญ ดวงจรัส (2555). การเสริมกาลังของเสาคอนกรีตที่มีความเหนียวจากัดเพื่อรับแรงแผ่นดินไหวโดยใช้
81B

วัสดุโพลิเมอร์เสริมเส้นใยคาร์บอน. การประชุมวิชาการคอนกรีตแห่งชาติ ครั้งที่ 8, พัทยา, จ. ชลบุรี, STR113 – STR119.


[53] Khampanit A., Niyompanitpattana S., Leelataviwat S., and Warnitchai P. (2011).Cyclic response of non-ductile reinforced concrete
82B

frame strengthened with buckling restrained braces. Proceedings of the 2 0 1 1 World Congress on Advances in Structural
Engineering and Mechanics, Seoul, Korea, paper ID ES355_575.
[54] Khampanit A., Leelataviwat S., Kochanin J., and Warnitchai P. (2014). Energy-based seismic strengthening design of non-ductile
83B

reinforcement concrete frame using buckling restrained braces. Engineering Structure, Article in print.
[55] จิรวัฒน์ จันทร์เรืองและ วิโรจน์ บุญญภิญโญ (2557).การเปรียบเทียบกาลังต้านทานแรงแผ่นดินไหวของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กที่ได้และต่ากว่า
84B

มาตรฐาน.การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ, ครั้งที่19, 2557,1-10.


[56] Lukkunaprasit P. and Wanitkorkul, A. (2001). Inelastic buildings with tuned mass dampers under moderate ground motions from
85B

distant earthquakes. Earthquake Engineering and Structural Dynamics Journal, Vol. 30, 537-551.
[57] Pinkaew T., Lukkunaprasit P. and Chatupote P. (2003). Seismic effectiveness of tuned mass dampers for damage reduction of
86B

structures. Engineering Structures, Journal of Earthquake, Wind and Ocean Engineering, 25(1), 39-46.
[58] Ruangrassamee A., Srisamai W. and Lukkunaprasit P. (2006). Response mitigation of the base isolated benchmark building by
87B

semi-active control with the viscous-plus-variable-friction damping force algorithm. Structural Control and Health Monitoring
Engineering 13 (2-3), pp. 809-822.
[59] Lukkunaprasit P., Sittipunt C. (2003). Ductility enhancement of moderately confined concrete tied column with hook clip. ACI
8B

Structural Journal, V. 100, No. 4, pp. 422-429.


[60] Kristianto A., Imran I., Suarjana M. and Pane I. (2011). Behavior of R/C columns confined with code non-compliance confining
89B

reinforcement plus supplemental pen-binder under axial concentric loading. 2nd International Conference on Earthquake
Engineering and Disaster Mitigation( ICEEDM-II), 19-20 July, Surabaya.
[61] Lukkunaprasit P., Tangbunchoo T., and Rodsin K. (2011). Enhancement of seismic performance of reinforced concrete columns
90B

with buckling-restrained reinforcement. Engineering Structures, 33(12), pp. 3311-3316.


[62] Ruangrassamee A. and Sawaroj A. (2012). Seismic enhancement of reinforced-concrete columns by rebar-restraining collars.
91B

Journal of Earthquake and Tsunami, 6(3).


[63] Lam N.T.K, Balendra T, Wilson J.L., Venkatesan S. (2009). Seismic load estimates of distant subduction earthquakes affecting
92B

Singapore. Engineering Structures,31 (5). pp. 1230-1240.


การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 13

ข้อมูลการตรวจวัดความสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวจังหวัดเชียงรายเมื่อ 5 พ.ค. 2557


SEISMIC DATA OF EARTHQUAKE AT CHIANGRAI ON MAY 5, 2014

บุรินทร์ เวชบรรเทิง
ผู้อานวยการสานักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว/กรมอุตุนิยมวิทยา

Burin Wechbunthung
Director of Seismological Bureaus

บทคัดย่อ
ข้อมูลความสั่นสะเทือนของเหตุการณ์แผ่นดินไหว จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ได้รับการตรวจวัดและวิเคราะห์
ถึงตาแหน่ง ขนาด เวลาเกิด โดยเครือข่ายการตรวจวัดแผ่นดินไหว สานักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา โดยใช้ระยะเวลาใน
การคานวณ วิเคราะห์ เผยแพร่สู่ประชาชนในหลายช่องทางอย่างรวดเร็ว พร้อมกับการเฝ้าระวังติดตามเหตุการณ์ต่างๆ เช่น ความ
เสียหาย การเกิดแผ่นดินไหวตามมาเป็นเวลาหลายเดือน นอกจากนั้นยังสามารถตรวจค่าอัตราเร่งของพื้นดินบริเวณสถานีตรวจแผ่นดิน
ไหวโดยรอบศูนย์กลางแผ่นดินไหว หลายแห่ง ซึ่งสามารถนาไปสู่การประยุกต์ใช้ในงานวิศวกรรมแผ่นดินไหว การวิเคราะห์หาสมการ
อย่างง่ายสาหรับค่าการลดทอนอัตราเร่งของพื้นดินตามระยะทางของเหตุการณ์นี้
คาสาคัญ: แผ่นดินไหวเชียงราย แผ่นดินไหวตามมา การลดทอนอัตราเร่งของพื้นดิน

ABSTRACT
Seismic data from Chiangrai earthquake on May 5, 2014 can be monitored and be analyzed its epicenter
coordination, magnitude, time occurring by National Seismic Monitoring Network belonged to Seismological
Bureau, Thai Meteorological Department. It takes few minutes to compute its earthquake parameters, after that,
few months later aftershocks at damaging area are closely watched and analyzed to disseminate significant
information rapidly to medias, publics, and people at risk areas through multichannels. In addition acceleration
of strong ground motion are recorded nearby epicenter area by accelerographs.The simple attenuation model of
acceleration for this event can be made and is beneficial to some application in earthquake engineering uses.
KEYWORDS: Chiangrai earthquake, ground acceleration, attenuation model, Seismological Bureau

1. บทนา
เหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศไทยในอดีต ที่เกิดบนบกและมีผลต่อการรับรู้ ของการสั่นสะเทือนส่วนใหญ่เป็นแผ่นดินไหวที่มี
ขนาดปานกลาง น้อยกว่าขนาด 6.0 ตามมาตรริกเตอร์ หากมีการเกิดแผ่นดินไหวที่มีขนาดมากกว่า 6.0 ริกเตอร์ จะมีตาแหน่ง
ศูนย์กลางภายนอกประเทศ แต่มีหลายครั้งที่แผ่นดินไหวขนาดมากกว่า 6.0 ริกเตอร์มีตาแหน่งศูนย์กลางใกล้ชายแดนประเทศไทย ทั้งที่
อยู่ด้านประเทศเมียนมาร์ หรือประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และส่งแรงสั่นสะเทือนแผ่เข้ามาในอาณาเขตประเทศ
ไทยจนบางครั้งสร้างความเสียหายกับโครงสร้างที่ไม่แข็งแรงหรือไม่มาตรฐานการสร้างที่ดีพอ สาหรับประวัติการเกิดแผ่นดินไหวใน
ประเทศไทยที่ทาให้ผู้คนตื่นตระหนกมากส่วนใหญ่เป็นแผ่นดินไหวขนาดตั้งแต่ 5 ตามมาตราริกเตอร์ขึ้นไป และเกิดใกล้ชุมชน รวมถึง
บริเวณที่มีสภาพธรณีวิทยาและลักษณะอาคารที่เอื้อต่อการรับรู้ความสั่นไหวได้ง่ายเช่น บริเวณกรุงเทพมหานครซึ่งมีอาคารสูงเป็น
จานวนมากและตั้งอยู่บนดินอ่อน

2. แผ่นดินไหว จังหวัดเชียงราย พฤษภาคม 2557


เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 เวลา 18.08 น. (ตามเวลาประเทศไทย) ได้เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวคานวณศูนย์กลางในเบื้องต้น
พบว่ามีจุดศูนย์กลางอยู่บริเวณตาบลทรายขาว อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย ละติจูด 19.685 ºN ลองจิจูด 99.687 ºE ขนาด
แผ่นดินไหว 6.3 ความลึก 7 กิโลเมตร ความรุนแรงระดับ VIII ตามมาตราเมอร์คัลลี่ ต่อมาสานักเฝ้าระวังแผ่นดินไหวได้ทาการวิเคราะห์
ข้อมูลอีกครั้งจากข้อมูลทุกชนิดที่จัดเก็บเพิ่มเติม พบว่า พิกัดมีการเปลี่ยนแปลงตาแหน่งเดิมประมาณ 8 กิโลเมตรที่ละติจูด 19.756
14 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

องศาเหนือ ลองจิจูด 99.687 องศาตะวันออก ที่ระดับความลึก 2 กิโลเมตร ที่ ตาบลจอมหมอกแก้ว อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย
แสดงดังรูปที่ 1 ตัวอย่างภาพตาแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหวหลักและแผ่นดินไหวตามที่ตรวจวัดได้โดยสานักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
ระหว่างวันที่ 5 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

รูปที่ 1 ภาพแผ่นดินไหวหลักและแผ่นดินไหวตามมา เดือน 5-10พฤษภาคม 2557

ในเบื้องต้นเครือข่ายการตรวจวัดบริเวณสถานีตรวจแผ่นดินไหวในภาคเหนือ สามารถตรวจวัดความสั่นสะเทือนได้ทุกสถานี
เนื่องจากมีขนาดค่อนข้างใหญ่ การวัดขนาดจากสถานีใกล้ศูนย์กลางมีข้อจากัดทาให้ตรวจวัดค่าความสูงของคลื่นไม่ถูกต้อง จาเป็นต้อง
ใช้สถานีอื่นที่อยู่ห่างออกไปมาร่วมในการคานวณแสดงดังรูปที่ 2

รูปที่ 2 การตรวจและวิเคราะห์คลืน่ แผ่นดินไหวจากสถานีต่างๆ

แผ่นดินไหวครั้งนี้ถือเป็นแผ่นดินไหวบนบกครั้งประวัติศาสตร์ครั้งหนึ่งที่สร้างความเสียหายต่อบ้านเรือนที่อยู่อาศัย อาคารของ
ทางราชการ โบราณสถาน วัด และสิ่งก่อสร้างที่ไม่แข็งแรง โดยเกิดผลกระทบถึง 7 จังหวัด พื้นที่ได้รับความเสียหาย จานวน 7 อาเภอ
50 ตาบล 609 หมู่บ้าน รายการความเสียหายและประมาณการค่าเสียหายเบื้องต้น ประชาชนเสียชีวิต 1 ราย บาดเจ็บ 107 คน ที่อยู่
อาศัย 15ฒ139 หลัง ทางหลวงแผ่นดิน 4 แห่ง ทล 118 ช่วง กม.151 – 152 บ้านห้วยส้านยาว ต.ดงมะดะ อ.แม่ลาว ถนนสาย
เชียงราย – เชียงใหม่ ทางหลวงชนบทเสียหาย 3 แห่ง รวมถนนเสียหายดินทรุด 7 แห่ง สะพานลอยข้ามถนน 3 แห่ง สะพานข้ามแม่น้า
2 แห่ง วัด 151 แห่ง โบสถ์คริสต์ 9 แห่ง สถานศึกษา สานักงานเขตพี้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 1 จานวน 12 แห่ง เขต 2
จานวน 59 แห่ง.เขต 3 จานวน 12 แห่ง เขต 4 จานวน 6 แห่ง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 36 จานวน 27 แห่ง
สานักงานอาชีวศึกษาฯ จานวน 6 แห่ง ระดับอุดมศึกษา 1 แห่ง ม.ราชภัฏเชียงราย โรงเรียนที่เสียหายรวม 123 แห่ง มหาวิทยาลัย
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 15

1 แห่ง สถานบริการสาธารณสุข 44 แห่ง โรงงานอุตสาหกรรม 6 แห่ง สถานที่ราชการ ศาลากลางจังหวัดเชียงราย สนง.ที่ดิน จังหวัด


เชียงราย จานวน 1 แห่ง สนง.เกษตร 1 แห่ง สนง.เกษตร อ.ป่าแดด จานวน 1 แห่ง สถานีตารวจภูธรอาเภอแม่ลาว จานวน 1 แห่ง
แขวงการทางที่1 (1แห่ง) หอประชุมที่ว่าการ อ.แม่ลาว 1 แห่ง องค์การบริหารส่วนตาบล ต.ม่วงคา อ.พาน 1 แห่ง เขตเทศบาลตาบล
ต.ดงมะดะ อ.แม่ลาว 1 แห่ง รวมสถานที่ราชการที่เสียหาย รวม 10 แห่ง
หลังจากการเกิดแผ่นดินไหวหลัก ได้เกิดแผ่นดินไหวตาม (Aftershock ) อีกอย่างต่อเนื่อง
ขนาด 5.0 - 5.9 จานวน 8 ครั้ง
ขนาด 4.0 - 4.9 จานวน 43 ครั้ง
ขนาด 3.0 - 3.9 จานวน 220 ครั้ง
ขนาดน้อยกว่า 3.0 จานวนมากกว่า 790 ครั้ง
(รวบรวมเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2557)
จากผลการวิเคราะห์โดยเปรียบเทียบกับเครือข่ายตรวจแผ่นดินไหวของต่างประเทศ มีความแตกต่างกันบ้างเล็กน้อยทั้งในเรื่อง
ของตาแหน่ง ขนาด ความลึก เนื่องจากข้อมูลนาเข้าจากสถานีที่แตกต่างกัน ในกรณีของเครือการตรวจแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา
ได้ตรวจสอบล่าสุดโดยใช้ข้อมูลจากทุกสถานีเข้าร่วมในการคานวณ พบว่าตาแหน่งล่าสุดอยู่ที่ ตาบลจอมหมอกแก้ว อาเภอแม่ลาว
จังหวัดเชียงราย ดังแสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบตาแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหวกับหน่วยงานต่างประเทศ
Depth
แหล่งข้อมูล Latitude Longitude Magnitude Locate Remark
(KM)
ใช้ข้อมูล TMD
TMD(กรม ต. ทรายขาว อ.พาน จ.
19.685 99.689 6.3 7 บางสถานี เพื่อ
อุตุนิยมวิทยา) เชียงราย
ความรวดเร็ว
เครือข่าย
USGS ต.ธารทอง อ. พาน จ. สหรัฐอเมริกาใช้
19.7026 99.6826 6.0 7
(สหรัฐอเมริกา) เชียงราย ข้อมูล TMD บาง
สถานี
เครือข่ายประเทศ
Geofon
19.71 99.79 6.2 7 ต.แม่อ้อ อ.พาน จ.เชียงราย เยอรมันใช้ข้อมูล
(เยอรมัน)
TMD บางสถานี
ใช้ข้อมูล TMD
TMD ต.จอมหมอกแก้ว อ.แม่ลาว ทุกสถานี
19.756 99.687 6.3 2
Update จ.เชียงราย ปรับแต่งการ
วิเคราะห์ล่าสุด

2. การตอบสนองต่อเหตุการณ์กขณะเกิดแผ่นดินไหว
ปกติการตอบสนองต่อเหตุการณ์แผ่นดินไหวของประเทศไทยมีมาตรฐานการปฏิบัติงานที่เจ้าหน้าที่สานักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
จาเป็นต้องกระทาตามข้อกาหนด เพื่อให้เกิดความรวดเร็วต่อการเผยแพร่ข่าวสาร ด้านแผ่นดินไหวและสึนามิสู่ประชาชนผ่านช่องทาง
สื่อสารต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วทันการณ์ รูปที่ 3 แสดงรายละเอียดแต่ละช่วงเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงานขณะเกิดแผ่นดินไหว ของ
เจ้าหน้าที่
16 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

รูปที่ 3 รายละเอียดของช่วงเวลาปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ ขณะเกิดแผ่นดินไหว

ในช่วงแรกเจ้าหน้าที่แจ้งผู้บริหาร อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา ถึงรายละเอียดข้อมูล ข่าวสารแผ่นดินไหวที่คานวณได้ พร้อมส่งข้อมูล


แบบสรุปเพื่อให้สถานีโทรทัศน์แจ้งประชาชนในลักษณะอักษรวิ่ง ส่งข้อมูลผ่าน SMS ไปยังสื่อมวลชน เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ
และเอกชน รวมถึงสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบ(ในกรณีภัยสึนามิได้แก่ โรงแรม รีสอร์ทในพื้นที่ภาคใต้ฝั่ งตะวันตก) ออก
ประกาศเป็ น ทางการแจ้ ง สื่ อ มวลชนทุ ก แขนง จากนั้ น สร้ า งรายละเอี ย ดต่ า งลงในเว็ บ ไซด์ ส านั ก เฝ้ า ระวั ง แผ่ น ดิ น ไหว
(www.seismology.tmd.go.th)และส่งโทรสารไปยังรายชื่อผู้รับบริการ หน่วยงานภาครัฐ เอกชน สื่อมวลชนต่างๆ
นอกจากนั้นเจ้าหน้าที่ต้องติดตามเฝ้าระวัง คานวณ แผ่นดินไหวตาม (Aftershock) อย่างต่อเนื่องและตอบและ ให้ข้อเสนอแนะ
สัมภาษณ์ ในรายละเอียดเชิงวิชาการด้านแผ่นดินไหว และข้อเท็จจริง ข้อมูลของเหตุการณ์ ให้ประชาชน ผู้สื่อข่าวต่างๆ อย่างรวดเร็ว
ผลจากการตรวจวัดด้วยเครือข่ายตรวจแผ่นดินไหวด้วยเครื่องวัดความสั่นสะเทือนโดยรอบเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่ จังหวัด
เชียงรายครั้งนี้ จากสถานีทั้งภายในประเทศและต่างประเทศทาให้สามารถวิเคราะห์ กลไกแผ่นดินไหวซึ่งแสดงลักษณะของรอยเลื่อนมี
พลังในกลุ่มพะเยานี้ซึ่งก่อให้เกิด แผ่นดินไหว ดังแสดงในรูปที่ 4 ผลวิเคราะห์กลไกแผ่นดินไหว การคานวณ centroid momentensor
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 17

ของ Globalcmt Project มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ซึ่งได้จัดทาเป็นแคตาล๊อกของภาพกลไกแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ซึ่งเกิดในทุกพื้นที่บนโลก


และสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ผ่านเว็บไซด์

201405051108A THAILAND
Date: 2014/ 5/ 5 Centroid Time: 11: 8:48.0 GMT
Lat= 19.71 Lon= 99.70
Depth= 12.0 Half duration= 3.0
Centroid time minus hypocenter time: 4.1
Moment Tensor: Expo=25 -0.028 -1.670 1.690 0.144 0.161 1.730
Mw = 6.2 mb = 0.0 Ms = 6.0 Scalar Moment = 2.42e+25
Fault plane: strike=338 dip=85 slip=178
Fault plane: strike=68 dip=88 slip=5

รูปที่ 4 ผลการวิเคราะห์กลไกแผ่นดินไหว จาก Global CMT Catalog


ที่มา : http://www.globalcmt.org/CMTsearch.html

จากสถิติข้อมูลแผ่นดินไหวที่มีขนาดมากกว่า 6.0 ตามมาตราริกเตอร์และคาดว่าจะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยในรูปของความ


สั่นสะเทือน โดยการรวบรวมข้อมูลเหตุการณ์ด้วย ภาพกลไกแผ่นดินไหว ในพื้นที่ในประเทศไทยและโดยรอบประเทศไทยทาให้สามารถ
ทราบถึงลักษณะทิศทางการเคลื่อนตัว ระนาบของรอยเลื่อน ชนิดของรอยเลื่อนมีพลังทั้งภายในและต่างประเทศดังแสดงในรูปที่ 5 ซึ่ง
จะเป็นประโยชน์ต่อนักแผ่นดินไหว นักธรณีวิทยา วิศวกรและนักจัดการภัยพิบัติ ในการศึกษา วางแนวทางแผนการในการดาเนินการให้
ประชาชนมีความปลอดภัยมากขึ้น

รูปที่ 5 ผลการวิเคราะห์กลไกแผ่นดินไหวที่มีขนาดมากกว่า 6 ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและบริเวณใกล้เคียงตั้งแต่ พ.ศ. 2519 -


พฤษภาคม 2557 ที่มา : http://www.Ldeo.columbia.edu
18 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

3. ข้อมูลอัตราเร่งของพื้นดินเหตุการณ์แผ่นดินไหวเชียงราย 2557
เครือข่ายการตรวจวัดความสั่นสะเทือน สานักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา ประกอบด้วยเครื่องวัดความสั่นสะเทือน
แบบวัดความเร็วและแบบวัดอัตราเร่งของพื้นดิน ซึ่งทั้งสองประเภทมีวัตถุประสงค์ต่างกันคือ การตรวจวัดความเร็วของพื้นดินเพื่อการ
คานวณตาแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหว ขนาดและเวลาเกิด ส่วนการตรวจวัดอัตราเร่งของพื้นดินเพื่อให้สามารถนาไปคานวณหาแรงที่
กระทาต่ออาคารสิ่งก่อสร้างเนื่องจากการเกิดแผ่นดินไหว ซึ่งเป็นประโยชน์ในงานวิศวกรรมแผ่นดินไหว การออกแบบอาคารต้าน
แผ่นดินไหวได้อย่างเหมาะสมกับพื้นที่เสี่ยง รูปที่ 6 แสดงสถานีเครือข่ายการตรวจวัดความสั่นสะเทือนแบบวัดความเร็วและวัดอัตราเร่ง
ของพื้นดิน สานักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา

รูปที่ 6 ตาแหน่งสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวแบบวัดความเร็วและอัตราเร่งของพื้นดิน
สานักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา

ผลการตรวจวัดค่าอัตราเร่งของพื้นดิน ณ สถานีต่างๆ ทั่วประเทศไทยแสดงดังตารางที่ 2และ รายละเอียดของสถานีข้างต้นแสดง


ดังตารางที่ 3
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 19

ตารางที่ 2 ผลการตรวจวัดอัตราเร่งของพื้นดิน ณ สถานีต่างๆ


ค่า PGA ที่บันทึกได้ (count) ค่า PGA ค่า PGA
No. สถานี Distance (km)
EW_PGA NS_PGA UD_PGA สูงสุด(m/ s2) สูงสุด(%g)
1 PAYA 47 43765 104182 101503 0.6772 6.90
2 MEAJ 48 46799 70217 59186 0.4564 4.65
3 CMMT 130 33300 19100 18928 0.1557 1.59
4 LAMP 148 32733 60905 57315 0.1970 2.01
5 PHRA 150 5599 9938 6331 0.0646 0.66
6 NANA 157 4316 12945 8927 0.0841 0.86
7 PHEA 187 4055 15433 15344 0.1003 1.02
8 UTTA 240 1122 1392 1879 0.0122 0.12
9 PHIT 294 1675 2461 1758 0.0160 0.16
10 NONG 409 462 853 909 0.0059 0.06
11 UMPA 423 848 1629 1598 0.0106 0.11
12 UTHA 466 540 318 793 0.0052 0.05
13 CHAI 492 - 477 707 0.0046 0.05
14 SRDT 598 447 474 569 0.0027 0.03
15 TMDA 683 - 1310 1601 0.0104 0.11
16 BKKA 683 593 1884 1768 0.0088 0.09
17 SURI 689 225 184 230 0.0015 0.02
18 PATY 769 117 82 150 0.0010 0.01
19 PRAC 809 120 143 163 0.0011 0.01
20 TRTT 1324 62 49 67 0.0003 0
21 PKDT 1326 136 - - 0.0006 0.01

ตารางที่ 3 แสดงรายละเอียดสถานีต่างๆที่ สามารถตรวจวัดค่าอัตราเร่งของพื้นดินจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว จ. เชียงราย เมื่อ 5


พฤษภาคม 2557
No. สถานี รหัส LAT LONG ที่ตั้ง
1 พะเยา PAYA 19.360 99.869 อ่างเก็บน้าแม่ปืม จังหวัดพะเยา
2 เชียงราย MEAJ 20.146 99.852 อาเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย
3 เชียงใหม่ CMMT 18.814 98.944 ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่
4 ลาปาง LAMP 18.567 99.038 เขื่อนกิ่วลม จังหวัดลาปาง
5 แพร่1 PHRA 18.499 100.229 อ่างเก็บน้าสอง จังหวัดแพร่
20 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

No. สถานี รหัส LAT LONG ที่ตั้ง


6 น่าน NANA 18.767 100.763 ฝายน้ากอน จังหวัดน่าน
7 แพร่2 PHEA 18.127 100.166 สถานีอุตุฯแพร่ จังหวัดแพร่
8 อุตรดิตถ์ UTTA 17.744 100.554 เขื่อนสิริกิตต์ จังหวัดอุตรดิตถ์
9 พิษณุโลก PHIT 17.189 100.416 เขื่อนแควน้อย จังหวัดพิษณุโลก
อ่างเก็บน้าห้วยเปลวเหงือก
10 หนองคาย NONG 18.063 103.146
จังหวัดหนองคาย
11 ตาก UMPA 16.026 98.860 สถานีอุตุฯอุ้มผาง จังหวัดตาก
12 อุทัยธานี UTHA 15.559 99.445 เขื่อนทับเสลา จังหวัดอุทัยธานี
13 ชัยภูมิ CHAI 15.902 101.986 อ่างเก็ยน้าช่อระกา จังหวัดชัยภูมิ
14 เขื่อนศรีนครินทร์ SRDT 14.395 99.121 เขื่อนศรีนครินทร์ จังหวัดกาญจนบุรี
15 บางนา TMDA 13.668 100.607 บางนาหลุมเจาะ กรุงเทพ
16 กรุงเทพ BKKA 13.668 100.607 บางนา กรุงเทพ
17 สุรินทร์ SURI 14.769 103.553 อ่างเก็บน้าอาปึล จังหวัดสุรินทร์
18 ชลบุรี PATY 12.923 100.866 สถานีอุตุฯพัทยา จังหวัดชลบุรี
เขื่อนปราณบุรี
19 ประจวบคีรีขันธ์ PRAC 12.473 99.793
จังหวัดประจวบคีรีขันธุ์
20 ตรัง TRTT 7.836 99.691 เขื่อนท่างิ้ว จังหวัดตรัง
21 ภูเก็ต PKDT 7.892 98.335 เขื่อนบางวาด จังหวัดภูเก็ต

สาหรับรูปที่ 7 แสดงสมการอย่างง่ายของการลดทอนอัตราเร่งของพื้นดินตามระยะทางของเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 5
พฤษภาคม 2557 ขนาด 6.3 ตามมาตราริกเตอร์ โดยรวบรวมใช้ข้อมูลอัตราเร่งของพื้นดินจากทั้งสถานีตรวจของกรมอุตุนิยมวิทยาและ
สถานีของกรมทรัพยากรธรณี ล่าสุด (พฤศจิกายน 2557)
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 21

รูปที่ 7 การลดทอนค่าอัตราเร่งของพื้นดินตามระยะทางและสมการอย่างง่าย

สมการอย่างง่ายของแบบจาลองค่าการลดทอนอัตราเร่งของพื้นดินเฉพาะเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่ จ.เชียงรายมีความสัมพันธ์ดีกับ
ข้ อ มู ล ดิ บ ระหว่ า งค่า อั ตราเร่งกั บ ค่ าระยะทาง แต่ เ ป็ น ที่ น่ า สั งเกตประการหนึ่ งได้แ ก่ ข้ อ มู ล อั ต ราเร่งของพื้ น ดิ นที่ ต รวจวัด ได้ ณ
กรุงเทพมหานคร(683 ก.ม.)กับ ณ สถานีตรวจแผ่นดินไหวจังหวัดสุรินทร์ (689 กม.) มีค่ามากกว่า ประมาณ 4.8 เท่าทั้งนี้เป็นข้อพิสูจน์
ว่าพื้นดินใต้กรุงเทพมหานครซึ่งเป็นดินอ่อนสามารถขยายความสั่นสะเทือนได้มากกกว่า
บทเรียนที่ได้จากการเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งนี้ที่เกี่ยวข้องกับระบบการตรวจวั ดนั้น พบข้อด้อยที่ยังคงมีความจาเป็นต้อง
พัฒนาและขยายจานวนสถานีให้เพิ่มมากขึ้นเพื่อให้เกิดความครอบคลุมในทุกพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวและเพิ่มความถูกต้องในเรื่องของ
รายละเอียด ตาแหน่งศูนย์กลางและความลึกของแผ่นดินไหว โดยกรมอุตุนิยมวิทยาควรเพิ่มจานวนสถานีตรวจความสั่นสะเทือนทั้ง
แบบวัดความเร็วและอัตราเร่งของพื้นดินในภาคเหนือ ภาคกลางด้านตะวันตกและภาคใต้

4. สรุปและข้อเสนอแนะ
ข้อมูลจากการตรวจวัด การวิเคราะห์ การแจ้งข่าวสาร ทั้งแบบวัดความเร็วและวัดอัตราเร่งของพื้นดินมีความสาคัญในเรื่องของ
การจัดการภัยพิบัติแผ่นดินไหวในประเทศไทยเพราะเป็นข้อมูลเริ่มต้นในการจัดการวางแผนการป้องกันและบรรเทาภัยพิบัตแิ ผ่นดินไหว
ในประเทศไทยทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ซึ่งต้องการความถูกต้อง รวดเร็ว ทันการณ์ ประชาชนและผู้รับบริการได้รับข้อมูลข่าวสาร
ครบถ้วน ทันเวลา อย่างไรก็ตามการพัฒนาระบบตรวจวัด วิเคราะห์ เผยแพร่ข่าวสารที่มีประสิทธิภาพยังคงมีความจาเป็นเร่งด่วนที่ต้อง
พัฒนาเพิ่มขึ้นและสร้างความร่วมมือที่เป็นเครือข่ายต่างๆ ในเรื่องการใช้งานข้อมูลร่วมกันแบบเวลาจริง ตลอดจนสร้างชุมชนเรียนรู้
เกี่ยวกับภัยพิบัติแผ่นดินไหวให้สามารถป้องกันและบรรเทาภัยด้วยตนเองได้ดี

กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่สานักเฝ้าระวังแผ่นดินไหวที่อนุเคราะห์ที่สนับสนุนข้อมูล ข่าวสารต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลล่าสุดในบทความนี้
และเว็บไซต์ www.seismology.tmd.go.th
22 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 23

ลักษณะเฉพาะของการเกิดแผ่นดินไหวหลักและแผ่นดินไหวตามในรอบ 24 ชั่วโมง
ของเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริกเตอร์ จังหวัดเชียงราย วันที่ 5 พฤษภาคม 2557
จากโครงข่ายตรวจวัดแผ่นดินไหวของกรมทรัพยากรธรณี
MAINSHOCK AND AFTERSHOCKS CHARACTERISTICS WITHIN 24 HOURS OF THE M 6.1
EARTHQUAKE ON MAY 5TH 2014 IN CHIANGRAI PROVINCE, NORTHERN THAILAND FROM THE
DEPARTMENT OF MINERAL RESOURCES 'S SEISMIC NETWORK

ภาสกร ปนานนท์ 1, * สุทธิพงษ์ ฮะบางแขม1 วิศเวศ ว่องไว1


ปฏิญญา พรโสภิณ1, 2 บุรินทร์ เวชบรรเทิง2 สิทธิรักษ์ ลิมปิสวัสดิ์3 สุวิทย์ โคสุวรรณ3
1
ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะด้านแผ่นดินไหวและธรณีแปรสัณฐานของโลก (SEIS-SCOPE)
ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถ.งามวงศ์วาน จตุจักร กรุงเทพฯ 10900
2
สานักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา ถ.สุขุมวิท บางนา กรุงเทพฯ
3
สานักธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อมและธรณีพิบัตภิ ัย กรมทรัพยากรธรณี ถ.พระรามหก ราชเทวี กรุงเทพฯ

บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นผลการศึกษาลักษณะเฉพาะของแผ่นดินไหวหลักและแผ่นดินไหวตามที่เกิดขึ้นในรอบ 24 ชั่วโมงจากเหตุการณ์
แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริกเตอร์ ที่จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ซึ่งมีแผ่นดินไหวขนาดมากกว่า 1.5 ริกเตอร์
เกิดขึ้นทั้งหมดจานวน 160 เหตุการณ์ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดและจานวนแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นโดยใช้ Gutenberg-
Richter Relationship พบว่ามีค่า a-value เท่ากับ 4.21 และ b-value เท่ากับ 0.73 แผ่นดินไหวตามมีแนวโน้มของอัตราการเกิด
ลดลงจากมากกว่า 5 เหตุการณ์ต่อชั่วโมงในรอบ 12 ชั่วโมงแรก จนเหลือน้อยกว่า 5 เหตุการณ์ต่อชั่วโมงหลังจากนั้น จากการศึกษาไม่
พบความสัมพันธ์อย่างชัดเจนระหว่างขนาดของแผ่นดินไหวกับเวลาที่ผ่านไป
การวิเคราะห์ลักษณะการเลื่อนตัวที่ทาให้เกิดแผ่นดินไหว (Focal Mechanism) พบว่าแผ่นดินไหวหลักเกิดจากการเลื่อนตัวของรอย
เลื่อนในแนวระนาบแบบเหลื่อมซ้ายเป็นทิศทางหลักผสมกับการเลื่อนลงในแนวดิ่งเล็กน้อย (oblique-strike slip faulting) และมีทิศ
ทางการวางตัวของแนวรอยเลื่อน (strike) 76 องศา ในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งมีความสัมพันธ์กับตาแหน่งของก
ลุ่มรอยเลื่อนมีพลังพะเยาตอนบนที่ปรากฏอยู่บนพื้นดิน นอกจากนี้ยังพบว่าแผ่นดินไหวตามที่มีขนาดมากกว่า 4 ส่วนมากเกิดจากการ
เลื่อนตัวของรอยเลื่อนในแนวระนาบผสมกับการเลื่อนในแนวดิ่ง (oblique-strike slip faulting)

1. บทนา
เหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ที่ จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 เวลา 18.08 น. (เวลาท้องถิ่น)ได้ทาให้
เกิดความเสียหายเป็นบริเวณกว้างโดยทาให้บ้านเรือนประชาชนเสียหายมากกว่า 8,000 หลังในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ ในรัศมีประมาณ
50 กิโลเมตร จากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว นอกจากนี้แผ่นดินไหวครั้งนี้ยังมีความสาคัญมาก เนื่องจากเป็นแผ่นดินไหวขนาดใหญ่
ที่สุดที่มีการตรวจวัดได้โดยเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหวในประเทศไทย (แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุดที่ เคยเกิดขึ้นและตรวจวัดได้มี
ขนาด 5.9 ซึ่งเกิดบริเวณปลายอ่างเขื่อนศรีนครินทร์ จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อวันที่ 22 เดือนเมษายน พ.ศ. 2526) ประกอบกับตาแหน่ง
การเกิดแผ่นดินไหวครั้งนี้อยู่ตรงรอยต่อระหว่างกลุ่มรอยเลื่อนย่อยพานและกลุ่มรอยเลื่อนย่อยแม่ลาวซึ่งเป็นส่วนหนึ่ งของกลุ่มรอย
เลื่อนพะเยา ทาให้เกิดความไม่ชัดเจนว่ารอยเลื่อนย่อยใดที่ทาให้เกิดแผ่นดินไหวครั้งนี้ และแผ่นดินไหวครั้งนี้ได้ทาให้มีแผ่นดินไหวตาม
(aftershock) ที่มีขนาดใหญ่กว่า 2 ริกเตอร์ อีกเป็นจานวนมาก
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทาการวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะของแผ่นดินไหวหลักและแผ่นดินไหวตามที่เกิดขึ้นในรอบ 24
ชั่วโมงจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริกเตอร์ ที่จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 อย่างละเอียดทั้งขนาดและ
ตาแหน่ง ซึ่งจะช่วยให้ทราบธรรมชาติของแผ่นดินไหวในครัง้ นี้ได้ดยี ิ่งขึ้น และสามารถนามาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนรับมือกับ
ธรณีพิบัติภัยแผ่นดินไหวของภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่จังหวัดเชียงรายได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เป็นการ
ช่วยลดผลกระทบจากธรณีพิบัติภัยแผ่นดินไหว ที่อาจเกิดขึ้นอีกในอนาคต

บทความนี้จะส่งเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารวิศวกรรมสาร ฉบับวิจัยและพัฒนาต่อไป
24 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

รูปที่ 1 แสดงการเกิดแผ่นดินไหวหลักและแผ่นดินไหวตามจานวนมาก ในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ที่ตรวจวัดได้จากสถานี


ตรวจวัดแผ่นดินไหวของกรมอุตุนยิ มวิทยาที่ตั้งอยู่ที่เขื่อนกิ่วลม จังหวัดลาปาง

2. ข้อมูลแผ่นดินไหว
ในการศึกษาครั้งนี้ทาการเก็บข้อมูลแผ่นดินไหวในรอบ 24 ชั่วโมงหลังจากเกิดแผ่นดินไหวหลักเมื่อเวลาประมาณ 18.08 น. (เวลา
ท้องถิ่น) ของวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557โดยใช้สถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวของกรมทรัพยากรธรณีจานวน 8 สถานี ร่วมกับข้อมูลที่
บันทึกได้จากสถานีตรวจวัดแผ่ นดินไหวของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จานวน 1 สถานี และสถานี ตรวจแผ่นดินไหวแบบดิจิตอล
ออนไลน์โครงข่าย IRIS จานวน 1 สถานี รวมทั้งสิ้น 10 สถานี แสดงใน ตารางที่ 1 และ รูปที่ 2

ตารางที่ 1 แสดงตาแหน่งของสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวที่บันทึกข้อมูลแผ่นดินไหวในการศึกษาครั้งนี้
Station Name Lat. Long. Region
MACR 19.6718 99.9233 Muang, Chiang Rai
WNLP 19.1417 99.6047 Wang Nua, Lampang
MSCR 20.4170 99.8672 Mae Sai Chiang Rai
CDCM 19.4045 98.9700 Chiang Dao/Chiang Mai
NGLP 18.7578 99.9838 Ngao, Lampang
CHTO 18.8083 98.9397 Muang, Chiang Mai (IRIS)
SMCM 18.8402 98.7340 Samoeng, Chiang Mai
PMMH 19.5193 98.2423 Pangmapa, Mae Hong Son
MJCM 18.5032 98.3675 Mae Chaem, Chiang Mai
METCR 19.9568 99.8755 Munag, ChiangRai (KU)
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 25

รูปที่ 2 แสดงตาแหน่งของสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวในบริเวณใกล้เคียงที่บันทึกข้อมูลแผ่นดินไหวในการศึกษาครั้งนี้

3. การวิเคราะห์ตาแหน่งศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
การวิเคราะห์ข้อมูลแผ่นดินไหวทั้งหมดที่เกิดขึ้นในรอบ 24 ชั่วโมงและการวิเคราะห์และลักษณะการเลื่อนตัวของรอยเลื่อนจาก
แผ่นดินไหวที่มีขนาดมากกว่า 4 ได้ดาเนินการโดยใช้โปรแกรม SEISAN (Ottemoller et al., 2014) โดยใช้ค่าความเร็วเฉลี่ยของแผ่น
เปลือกโลกในภาคเหนือจากผลการศึกษาโครงการวิเคราะห์ ข้อมูลคลื่นแผ่นดินไหวที่บันทึกได้ในประเทศไทยเพื่อการประยุกต์ใช้
ทางด้านวิศวกรรมแผ่นดินไหวและแผ่นดินไหววิทยา ในชุดโครงการลดภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ระยะที่ 3) ที่ได้รับ
ทุนอุดหนุนวิจัยจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย โดย ภาสกร ปนานนท์ และคณะ (2557) ดังรูปที่ 3

รูปที่ 3 แสดงความเร็วเฉลี่ยของแผ่นเปลือกโลกในภาคเหนือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้
(ภาสกร ปนานนท์ และคณะ 2557 และ Wongwai et al., 2013)

นอกจากนี้ ยั งได้ ท าการวิ เ คราะห์ ความสัม พั น ธ์ ร ะหว่ า งขนาดและจ านวนแผ่ น ดิน ไหวที่ เ กิ ดขึ้ น โดยใช้ Gutenberg-Richter
Relationship เพื่อศึกษาลักษณะเฉพาะของการเกิดแผ่นดินไหวตามจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งนี้
26 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

4. ผลการศึกษา
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเหตุการณ์แผ่นดินไหวหลักและแผ่นดินไหวตามที่เกิดขึ้นในรอบ 24 ชั่วโมงจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด
6.1 ริกเตอร์ ที่จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 พบว่ามีแผ่นดินไหวขนาดมากกว่า 1.5 ริกเตอร์เกิดขึ้นทั้งหมด
จานวน 160 เหตุการณ์ การวิเคราะห์ลักษณะการเลือ่ นตัวที่ทาให้เกิดแผ่นดินไหว (Focal Mechanism) พบว่าแผ่นดินไหวหลักเกิดจาก
การเลื่อนตัวของรอยเลื่อนในแนวระนาบแบบเหลื่อมซ้ายเป็นทิศทางหลักผสมกับการเลื่อนลงในแนวดิ่งเล็กน้อย (oblique-strike slip
faulting) และมีทิศทางการวางตัวของแนวรอยเลื่อน (strike) 76 องศา ในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งมีความสัมพันธ์
กับตาแหน่งการวางตัวของกลุ่มรอยเลื่อนมีพลังพะเยาตอนบน นอกจากนี้ยังพบว่าแผ่นดินไหวตามที่มีขนาดมากกว่า 4 ส่วนมากเกิด
จากการเลื่อนตัวของรอยเลื่อนในแนวระนาบผสมกับการเลื่อนในแนวดิ่ง (oblique-strike slip faulting) (รูปที่ 4 และตารางที่ 2)

รูปที่ 4 เหตุการณ์แผ่นดินไหวหลักและแผ่นดินไหวตามที่มีขนาดตั้งแต่ 1.5 ริกเตอร์ ที่เกิดขึ้นในรอบ 24 ชั่วโมงจากเหตุการณ์


แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริกเตอร์ ที่จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 จานวน 160 เหตุการณ์และแสดงลักษณะของ
การเลื่อนตัวของรอยเลื่อนที่ทาให้เกิดแผ่นดินไหว ของแผ่นดินไหวทีม่ ีขนาดมากว่า 4

เมื่อพิจารณาลักษณะการเกิดแผ่นดินไหวตามพบว่า แผ่นดินไหวตามที่เกิดขึ้นมีแนวโน้มของอัตราการเกิดลดลงตามระยะเวลาที่
ผ่านไปโดยมีอัตราการเกิดลดลงจากมากกว่า 5 เหตุการณ์ต่อชั่วโมงในระยะเวลา 12 ชั่วโมงแรก ลดลงจนเหลือน้อยกว่า 5 เหตุการณ์
ต่อชั่วโมงหลังจากนั้น ดังแสดงในรูปที่ 5
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 27

ตารางที่ 2 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลแผ่นดินไหวที่มีขนาดมากกว่า 4 ที่เกิดขึ้นในรอบ 24 ชั่วโมงจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด


6.1 ริกเตอร์ ที่จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 (เวลาที่ระบุเป็นเวลา GMT)
Depth
Year Month Date hours minutes seconds Latitude Longitude (km) Ml Strike Dip Rake
2014 5 5 11 8 43.5 19.726 99.727 2.1 6.1 76 77 -17
2014 5 5 11 19 37.7 19.745 99.703 2.2 4.9 337 62 -142
2014 5 5 11 22 19.1 19.755 99.608 2.5 4.6 73 38 18
2014 5 5 12 6 20.3 19.785 99.706 2.1 4.2 146 80 118
2014 5 5 12 20 59.6 19.811 99.673 2.1 4.4 0 58 -179
2014 5 5 13 18 3.8 19.705 99.724 2.1 4.0 77 88 -41
2014 5 5 13 34 29.7 19.77 99.63 2.1 4.2 70 68 -41
2014 5 5 16 7 25.2 19.746 99.589 2.1 4.2 168 60 -166
2014 5 5 16 20 17.9 19.781 99.68 2.1 4.0 156 88 169
2014 5 5 17 35 28.8 19.766 99.617 2.1 4.0 15 68 -155
2014 5 5 19 12 6.2 19.771 99.691 2.1 4.2 321 90 115
2014 5 5 20 5 24.9 19.742 99.611 2.1 4.1 319 62 -168
2014 5 5 21 17 4.6 19.748 99.658 2.1 4.6 173 74 -156
2014 5 5 23 4 57 19.671 99.620 6.6 4.6 339 90 -162
2014 5 6 0 50 16.7 19.783 99.711 2.1 5.2 273 53 7
2014 5 6 0 58 20.8 19.702 99.533 2.1 5.2 331 57 -160
2014 5 6 12 42 12.5 19.744 99.608 2.1 4.2 333 59 -172

25 200
Number of events
Number of events

20 150
15
100
10
5 50

0 0
1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23
Time after the mainshock (Hours) Time after the mainshock (Hours)

รูปที่ 5 แสดงจานวนการเกิดแผ่นดินไหวรายชั่วโมง (ซ้าย) และ แสดงจานวนการเกิดแผ่นดินไหวสะสมรายชั่วโมง (ขวา) ที่มีขนาด


ตั้งแต่ 1.5 ริกเตอร์ ที่เกิดขึ้นในรอบ 24 ชั่วโมงจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริกเตอร์ ที่จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม
พ.ศ. 2557 จานวน 160 เหตุการณ์

สาหรับความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแผ่นดินไหวกับเวลาที่ผ่านไปนั้น ถึงแม้ว่าจะมีลักษณะแนวโน้มกว้างๆ ที่อาจบ่งชี้ว่าขนาด


ของแผ่นดินไหวดูเหมือนจะเล็กลงเมื่อเวลาผ่านไป แต่ก็ไม่พบลักษณะความสัมพันธ์ที่ชัดเจนมากนัก ซึ่งเป็นไปตามหลักพื้นฐานของการ
เกิดแผ่นดินไหวที่กล่าวไว้ว่าขนาดของแผ่นดินไหวตามไม่มีความสัมพันธ์อย่างชัดเจนกับเวลาที่ผ่านไปหลังจากเกิดแผ่นดินไหวหลัก ซึ่ง
ทาให้ไม่สามารถทานายการเกิดแผ่นดินไหวล่วงหน้าได้ (รูปที่ 7)
28 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

7
6

Magnitude (ML)
5
4
3
2
1
0
0 5 10 15 20
Time after the mainshock (Hours)

รูปที่ 7 แสดงขนาดของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นรายชั่วโมง ที่มีขนาดตั้งแต่ 1.5 ริกเตอร์ ในรอบ 24 ชั่วโมงจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว


ขนาด 6.1 ริกเตอร์ ที่จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 จานวน 160 เหตุการณ์

ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดและจานวนแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นโดยใช้ Gutenberg-Richter Relationship พบว่า


แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ในรอบ 24 ชั่วโมง มีค่า a value เท่ากับ 4.21 และ b value เท่ากับ 0.73 (รูปที่ 8)

รูปที่ 8 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดและจานวนแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นโดยใช้ Gutenberg-Richter Relationship ของ


แผ่นดินไหวที่มีขนาดตั้งแต่ 1.5 ริกเตอร์ ที่เกิดขึ้นในรอบ 24 ชั่วโมงจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริกเตอร์ ที่จังหวัดเชียงราย
เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 จานวน 160 เหตุการณ์ พบว่า มีค่า a-value เท่ากับ 4.21 และ b-value เท่ากับ 0.73

5. สรุปผลการศึกษา
การศึกษาลักษณะเฉพาะของแผ่นดินไหวหลักและแผ่นดินไหวตามที่เกิดขึ้นในรอบ 24 ชั่วโมงจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด
6.1 ริกเตอร์ ที่จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 พบว่ามีแผ่นดินไหวขนาดมากกว่า 1.5 ริกเตอร์เกิดขึ้นทั้งหมด
จานวน 160 เหตุการณ์ การวิเคราะห์ลักษณะการเลือ่ นตัวที่ทาให้เกิดแผ่นดินไหว (Focal Mechanism) พบว่าแผ่นดินไหวหลักเกิดจาก
การเลื่อนตัวของรอยเลื่อนในแนวระนาบแบบเหลื่อมซ้ายเป็นทิศทางหลักผสมกับการเลื่อนลงในแนวดิ่งเล็กน้อย (oblique-strike slip
faulting) และมีทิศทางการวางตัวของแนวรอยเลื่อน (strike) 76 องศา ในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งมีความสัมพันธ์
กับตาแหน่งที่คาดว่ากลุ่มรอยเลื่อนมีพลังพะเยาตอนบนพาดผ่าน นอกจากนี้ยังพบว่าแผ่นดินไหวตามที่มีขนาดมากกว่า 4 ส่วนมากเกิด
จากการเลื่อนตัวของรอยเลื่อนในแนวระนาบผสมกับการเลื่อนในแนวดิ่ง (oblique-strike slip faulting)
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 29

การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดและจานวนแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นโดยใช้ Gutenberg-Richter Relationship พบว่ามีค่า


a-value เท่ากับ 4.21 และ b-value เท่ากับ 0.73 และพบว่าแผ่นดินไหวตามมีแนวโน้มของอัตราการเกิดลดลงจากมากกว่า 5
เหตุการณ์ต่อชั่วโมงในรอบ 12 ชั่วโมงแรก จนเหลือน้อยกว่า 5 เหตุการณ์ต่อชั่วโมงหลังจากนั้น จากการศึกษาไม่พบความสัมพันธ์อย่าง
ชัดเจนระหว่างขนาดของแผ่นดินไหวกับเวลาที่ผ่านไป

คาขอบคุณ
คณะผู้วิจัยขอขอบคุณกรมทรัพยากรธรณี ที่ได้ให้การสนับสนุนด้านข้อมูลในครั้งนี้ การศึกษาในครั้งนี้ได้รับงบประมาณสนับสนุน
จากกรมทรัพยากรธรณีและสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (โครงการศึกษากลไกการเกิดแผ่นดินไหวและผลกระทบของเหตุการณ์
แผ่นดินไหว ขนาด 6.1 ริกเตอร์ วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 จังหวัดเชียงราย โดยมี นายภาสกร ปนานนท์ เป็นหัวหน้าโครงการ)

เอกสารอ้างอิง
[1] ภาสกร ปนานนท์, เป็นหนึ่ง วานิชชัย, ฉัตรพันธ์ จินตนาภักดี, สุมาลี ประจวบ, บุรินทร์ เวชบรรเทิง, ปฏิญญา พรโสภิณ, วิศเวศ ว่องไว, 2557.
โครงการวิเคราะห์ข้อมูลคลื่นแผ่นดินไหวที่บันทึกได้ในประเทศไทยเพื่อการประยุกต์ใช้ทางด้านวิศวกรรมแผ่นดินไหวและแผ่นดินไหววิทยา ในชุด
โครงการลดภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ระยะที่ 3) รายงานฉบับสมบูรณ์ สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
[2] กรมทรัพยากรธรณี, 2557 แผนที่รอยเลือ่ นมีพลังในประเทศไทย, สานักธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อมและธรณ๊พิบัตภิ ัย, กรมทรัพยากรธรณี
[3] Ottemoller, Voss and Havskov, SEISAN EARTHQUAKE ANALYSIS SOFTWARE FOR WINDOWS, SOLARIS, LINUX and MACOSX , 2014.
[4] Wongwai, W.; Pananont, P.; Pornsopin, P., 2013. Teleseismic Receiver Functions Study of the Crustal Thickness Underneath
Thailand American Geophysical Union, Fall Meeting 2013, abstract #S33F-03
30 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 31

คลื่นแผ่นดินไหวจากแผ่นดินไหวแม่ลาวเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557

ดร. ธีรพันธ์ อรธรรมรัตน์


ภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหิดล

บทคัดย่อ
บทความนี้ได้ทาการศึกษาแผ่นดินไหวแม่ลาว เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ที่เกิดใน อาเภอ แม่ลาว จังหวัดเชียงราย โดย
แผ่นดินไหวในครั้งนี้เกิดขึ้นบนรอยเลื่อนย่อยแม่ลาว และมีลักษณะการเกิดในลักษณะเหลื่อมไปทางซ้าย (Left lateral strike-slip)
โดยรอยเลื่อนย่อยแม่ลาวนั้นอยู่ทางตอนเหนือในกลุ่มรอยเลื่อนพะเยา และเป็นแผ่นดินไหวที่ใหญ่ที่สุดที่เคยเกิดขึ้นจากกลุ่มรอยเลื่อน
พะเยาในรอบ 100 ปี ทางผู้เขียนได้รวบรวมคลื่นแผ่นดินไหวที่สามารถวัดได้จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวในครั้งนี้โดยสามารถรวบรวมมา
ได้ 14 คลื่นภายในระยะทาง 200 กิโลเมตร โดยสถานีที่ใกล้สุดนั้นตั้งอยู่บนสันเขื่อนแม่สรวยซึ่งมีความเร่งสูงสุดที่ 0.3g ซึ่งมีระยะห่าง
จากรอยเลื่อนแม่ลาวประมาณ 14 กิโลเมตร แต่เนื่องมาจากลักษณะที่ตั้งของสถานีจึงอาจจะเชื่อได้ว่าได้เกิดการขยายคลื่นเนื่องมาจาก
การสั่นของสันเขื่อนเนื่องมาจากลักษณะและจานวนความเสียหายใน อาเภอแม่สรวย นั้นน้อยกว่าที่ อาเภอแม่ลาวมาก และจากการ
พิจารณาคลื่นแผ่นดินไหวที่ตั้งอยู่ใน อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย พบว่าไม่ได้เกิดการขยายคลื่นเนื่องมาจากปรากฏการณ์ Directivity
effect ซึ่งตรงกันกับความเสียหายใน อาเภอเมือง เชียงราย ซึ่งน้อยกว่าที่คาดว่าจะได้รับ โดยคลื่นแผ่นดินไหวทั้งหมดได้ทาการ
เปรียบเทียบกันกับสมการลดทอนคลื่นแผ่นดินไหวที่ได้นามาใช้ในการพัฒนาแผนที่ความเสี่ยงแผ่นดินไหวของประเทศไทย โดยพบว่า
สมการที่เลือกมาใช้สามารถประเมินการลดทอนของคลื่นแผ่นดินไหวที่วัดได้ในระดับที่ยอมรับได้

Abstract
This study aims to investigate a Mw 6.1 earthquake that occurred in Northern Thailand on 5 May 2014. The
epicenter of this earthquake struck very close to the Mae Lao district which is located near Chiang Rai, Northern
Thailand. In addition, this shallow left-lateral strike-slip earthquake occurred on Mae Lao fault which is not
previously been identified. Based on instrumental earthquake catalogue, Mae Lao fault did not produce any
earthquake greater than magnitude 6 for at least 100 years. So the 5 May 2014 earthquake is essentially filling
the gap of relatively short instrumental earthquake catalogue in this region.
The strong ground motion from this event has been recorded in Thailand with the highest peak ground
acceleration (PGA) of 0.3 g at 14 km distance from rupture zone. Furthermore, a seismic station located in Chiang
Rai city could be able to record strong motion from this event at 25 km from rupture zone. Further analysis from
these two records show that neither of these records show near fault rupture directivity effect. This evidence do
support low observed damage within Chiang Rain and Mae Suai districts. Comparison between observed strong
motion and global empirical equation had been provided. Over the distance range for which the model is
applicable, they are in fair agreement.

1. บทนา
เหตุการณ์แผ่นดินไหว ขนาด 6.1 เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 ที่ อาเภอ แม่ลาว จังหวัดเชียงราย ที่ผ่านมาถือเป็นเหตุการณ์
แผ่นดินไหวที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยในรอบ 79 ปีภายหลังจากเหตุแผ่นดินไหว ขนาด 6.3 ที่ อาเภอ ปัว จังหวัดน่าน เมื่อวันที่ 13
พฤษภาคม 2478 โดยแผ่นดินไหวในครั้งนี้ยังส่งผลให้ผู้อาศัยบนอาคารสูงในกรุงเทพสามารถรับรู้ถึงการสั่นไหวได้แม้มีระยะทางไกล
ประมาณ 600 - 700 กิโลเมตรจากจังหวัดเชียงราย ซึ่งแสดงถึงความสามารถของชั้นดินอ่อนในเมืองหลวงที่สามารถขยายกาลังการสั่น
ของคลื่นแผ่นดินไหวถึงแม้เป็นแผ่นดินไหวขนาดกลางที่เกิดในระยะไกลก็ตาม
โดยแผ่นดินไหวขนาด 6.1 นี้เกิดขึ้นบนรอยเลื่อนย่อยแม่ลาวซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของกลุ่มรอยเลื่อนพะเยา รูปที่ 1 โดยแผ่นดินไหว
ในครั้งนี้แตกต่างจากทุกครั้งที่เคยเกิดขึ้นมาเนื่องมาจากว่าจุดกาเนิดแผ่นดินไหวอยู่ในบริเวณชุมชนซึ่งมีผู้คนอาศัยอยู่จึงทาให้เกิดความ
เสียหายและเป็นครั้งแรกในประเทศไทยที่เกิดอาคารถล่มเนื่องมาจากแผ่นดินไหว โดยจากผลการสารวจสภาพความเสียหายในพื้นที่
พบว่าอาเภอแม่ลาวนั้นเป็นพื้นที่ ที่มีจานวนอาคารที่ได้รับความเสียหายมากที่สุด ตารางที่ 1 (ศปอ. 2557) อย่างไรก็ตามเป็นที่แน่ชัดว่า
มูลค่าและจานวนความเสียหายอาจจะเกิดได้มากกว่าในครั้งนี้ถ้าแผ่นดินไหวเกิดในระยะที่ใกล้ตัวเมืองจังหวัดเชียงรายมากกว่านี้
เนื่องมาจากในอาเภอเมืองของจังหวัดเชียงรายนั้นมีจานวนอาคารค่อนข้างหนาแน่นมากกว่าอาเภอแม่ลาวหรือถ้าขนาดแผ่นดินไหวมี
32 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

ขนาดใหญ่กว่า 6.1 เช่นถ้าเหตุการณ์เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 มีขนาด 7.5 ตัวเมือง จังหวัดเชียงรายก็จะได้รับความเสียหาย


มากกว่าในครั้งนี้อย่างแน่นอน ดังนั้นการวางแผนรับมือภัยแผ่นดินไหวในเขต อาเภอเมือง ของจังหวัดต่างๆทางภาคเหนือจึง เป็นสิ่งที่
จาเป็นและสมควรจะส่งเสริมให้มีการวางแผนรับมือถึงภัยธรรมชาตินี้ล่วงหน้า

ตารางที่ 1 จานวนอาคารที่ได้รับความเสียหายโดยแบ่งตามระดับความเสียหาย สีแดง คือ อาคารที่เสียหายรุนแรงและเป็นอันตราย ไม่


สามารถใช้อาคารได้ สีเหลือง คือ อาคารที่ได้รับความเสียหายบางส่วนรอซ่อมแซม สามารถใช้งานได้ในบริเวณพื้นที่กาหนด สีเขียว คือ
อาคารสามาถใช้งานได้อย่างปลอดภัย (ศปอ. 2557)
อาเภอ สีแดง สีเหลือง สีเขียว
แม่ลาว 378 1,631 2,892
แม่สรวย 34 39 1,224
เมือง 34 89 639
พาน 152 578 3,022

รูปที่ 1 สภาพธรณีวิทยาบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย ลาว และ พม่า โดยสีเหลืองในภาพคือแอ่งดินอ่อนบริเวณภาคเหนือซึ่งมีอยู่


เป็นจานวนมากโดยมีการกาเนิดมาจากรอยเลื่อนย่อย โดย CR ตัวเมืองจังหวัดเชียงรายและดาวสีแดงคืออาเภอแม่ลาวซึ่งเกิด
แผ่นดินไหวขนาด 6.1 เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 โดยระยะห่างจากรอยเลื่อนแม่ลาวซึ่งเกิดแผ่นดินไหวในครั้งนี้ถึงตัวเมืองเชียงรายมี
ระยะทางประมาณ 15 ถึง 20 กิโลเมตร (ดัดแปลงมาจาก Morley et al., 2011)

โดยรอยเลื่อ นย่ อ ยทางภาคเหนือ ของประเทศไทยนั้ น มี ลัก ษณะการกระจายตั ว อยู่เ กื อ บทั่ วไปในทุ กจั งหวั ดทางภาคเหนือ
เนื่องจากว่าภูมิสัณฐานของภาคเหนือของประเทศไทยนั้นมีลักษณะเป็นแอ่งดินอ่อนสลับหุบเขาซึ่งเกิดขึ้นเนื่องมาจากแรงดันภายใน
แผ่นเปลือกโลกจึงทาให้เกิดรอยเลื่อนขนาดเล็กเป็นจานวนมาก โดยรอยเลื่อนย่อยเหล่านี้ซึ่งได้รับความสนใจในการศึกษาน้อยกว่ารอย
เลื่อนหลักเช่นรอยเลื่อนแม่จัน แต่ทว่ารอยเลื่อนย่อยเหล่านี้ก็สามารถทาให้เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.0 ถึง 6.5 ซึ่งสามารถก่อให้เกิดความ
เสียหายต่ออาคารและระบบสาธารณูปโภคเช่นเดียวกันกับที่ ทาให้เกิดความเสียหายจากแผ่นดินไหวที่เพิ่งผ่านมา โดยในบริเวณพื้นที่
จังหวัดเชียงรายนั้นมีความเสี่ยงแผ่นดินไหวที่ค่อนข้างสูงที่สุดในประเทศไทยโดยอ้างอิงจากผลการศึกษาถึงความเสี่ยงแผ่นดินไหวจาก
ทีมวิจัยต่างชาติและในประเทศไทยเนื่องมาจากสถิติการเกิดแผ่นดินไหวในภาคเหนือที่เกิดขึ้นค่อนข้างถี่และรอยเลื่อนย่อยที่กระจายตัว
อยู่ในภาคเหนือนั้นยังคงมีพลังที่จะทาให้เกิดแผ่นดินไหวได้โดยในบริเวณพื้นที่จังหวัดเชียงรายนั้นมีการประเมินอัตราความเร่งสูงสุด
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 33

(Peak Ground Acceleration, PGA) ที่น่าจะเกิดขึ้นเนื่องจากแผ่นดินไหวที่คาบการเกิดทุกๆ 475 ปี ประมาณ 0.2 g บนชั้นหินแข็ง


(Shedlock et al., 2000; Palasri and Ruangrassamee A, 2010; Ornthammarath T et al., 2011) ซึ่งเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่
จะทาให้เกิดค่า PGA ที่ประมาณ 0.2g จากผลการศึกษาโดย Ornthammarath et al. (2011) นั้นเนื่องมาจากแผ่นดินไหวขนาดกลาง
และมีแหล่งกาเนิดบริเวณจังหวัดเชียงราย ดังนั้นเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 จึงไม่ได้เป็นเหตุการณ์ที่อยู่เหนือ
ความคาดหมายแต่อย่างใด

รูปที่ 2 เส้นสีน้าเงินคือกลุ่มรอยเลือ่ นพะเยาและรอยเลื่อนอื่นๆโดยรอบจังหวัดเชียงราย โดยดาวสีแดง เขียว และ ม่วง แสดงถึงจุด


กาเนิดแผ่นดินไหวจากการคาณวนโดย USGS สานักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว Global CMT ตามลาดับ โดยสี่เหลี่ยมสีดาแสดงถึงตัวอาเภอ
แม่ลาว แม่สรวย และ พาน โดยสามเหลี่ยมสีฟ้าแสดงถึงตาแหน่งสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวที่สามารถวัดคลื่นแผ่นดินไหวจากเหตุการณ์
ครั้งนี้ได้ เส้นทึบสีแดงคือรอยเลื่อนมีพลังแม่ลาวทีเ่ ชื่อว่าทาให้เกิดแผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557

2. คลื่นแผ่นดินไหวจากแผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557


โดยคลื่นแผ่นดินไหวในระยะใกล้จากเหตุการณ์แผ่นดินไหว สามารถทาการตรวจวัดได้ทั้งหมด 14 สถานี ภายในระยะทางไม่เกิน
200 กิโลเมตรโดยผู้เขียนได้ทาการรวบรวมมาจากสถานีวัดคลื่นแผ่นดินไหวของ สานักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยา , กรม
ชลประทาน, และ กรมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยมี 4 สถานีที่สามารถวัดคลื่นแผ่นดินไหวได้ที่ระยะทางน้อยกว่า 50
กิโลเมตร (รูปที่ 2 และ ตารางที่ 2)

ตารางที่ 2 ตาแหน่งของสถานีวัดคลื่นแผ่นดินไหวและค่า PGA ที่วัดได้จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 โดยค่าที่


แสดงในตารางเป็นค่าแบบ Geometric Mean (GMrotl50)
ตาแหน่ง ลักษณะทีต่ ั้งของชั้นดิน Ground motion parameters
ระยะทางจาก Source-to-
สถานีวัดคลื่น D5-
สถานี Lat แผ่นดินไหว site azimuth PHA PHV PVA
Long (E) แผ่นดินไหวตาม 95
(N) (กิโลเมตร) (degree) (g) (cm/s) (g)
NEHRP (s)
MSAC 19.679 99.536 B 14 234 0.30 21.6 0.21 4.5
MACR 19.675 99.928 D 25 116 0.13 2.8 0.09 13.5
34 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

ตาแหน่ง ลักษณะทีต่ ั้งของชั้นดิน Ground motion parameters


ระยะทางจาก Source-to-
สถานีวัดคลื่น D5-
สถานี Lat แผ่นดินไหว site azimuth PHA PHV PVA
Long (E) แผ่ นดินไหวตาม 95
(N) (กิโลเมตร) (degree) (g) (cm/s) (g)
NEHRP (s)
MEAJ 20.146 99.852 D 38 20 0.04 2.5 0.02 19.5
PAYA 19.360 99.869 B 48 160 0.06 3.5 0.03 5.5

โดยสถานีวัดคลื่นแผ่นดินไหวนั้นได้มีการจัดตั้งเพื่อใช้ในการตรวจวัดตาแหน่งการเกิดแผ่นดินไหวและศึกษาถึงผลตอบสนองของ
โครงสร้างต่อแรงแผ่นดินไหวแล้วคลื่นแผ่นดินไหวยังเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับวิศวกรเพื่อที่จะสามารถนาไปใช้ออกแบบอาคารและทาความ
เข้าใจถึงลักษณะของแรงกระทาที่จะเกิดขึ้นในโครงสร้างอาคารเนื่องมาจากแรงแผ่นดินไหวในแต่ละเหตุการณ์ โดยจากตารางที่ 1 คลื่น
แผ่นดินไหวของสถานีเขื่อนแม่สรวย (MSAC) นั้นเป็นสถานีที่อยู่ใกล้แผ่นดินไหวเป็นระยะทางที่ใกล้ที่สุดประมาณ 14 กิโลเมตร โดยมี
ค่าความเร่งสูงสุดที่วัดได้คือ 0.3g แต่เนื่องมาจากว่าสถานีแห่งนี้ตั้งอยู่บนสันเขื่อนดินที่สูงประมาณ 59 เมตร ดังนั้นคลื่นแผ่นดินไหวที่
สถานีนี้จึงอาจจะมีผลของการสั่นเนื่องมาจากโครงสร้างของสันเขื่อนและจึงอาจที่จะไม่เหมาะสมสาหรับการนาไปใช้ในการวิเคราะห์
โครงสร้างอาคาร โดยสิ่งที่บ่งชี้ว่าคลื่นแผ่นดินไหวที่ส ถานีนี้มีผลของการสั่นมาจากโครงสร้างของสั่นเขื่อนด้วยก็เนื่องมาจากว่าจานวน
อาคารที่เสียหายใน อาเภอแม่สรวยนั้นน้อยกว่าที่อาเภอแม่ลาวมากแม้ว่าค่า PGA ที่วัดได้สูงถึง 0.3g ซึ่งอาคารโดยส่วนใหญ่ใน อาเภอ
แม่สรวยน่าจะมีความเสียหายจานวนมากกว่าที่สารวจพบ
สถานีวัดคลื่นแผ่นดินไหว MACR นั้นมีระยะทาง 25 กิโลเมตรและมีระยะทางใกล้เคียงกับ อาเภอเมือง เชียงราย และ อาเภอพาน
ซึ่งมีจานวนอาคารที่ได้รับความเสียหายน้อยกว่าที่อาเภอแม่ลาว โดยเนื่องมาจากสถานี MACR ใช้เครื่องมือSeismometer ซึ่งไม่ได้
ออกแบบให้สามารถวัดคลื่นแผ่นดินไหวในระยะใกล้จึงทาให้คลื่นความเร็วที่วัดได้นั้นไม่สามารถวัดความเร็วสูงสุดจริงที่เกิดขึ้นได้ โดย
คลื่นความเร็วสูงสุดที่สถานี MACR นั้นวัดได้คือ 2.5 cm/s (รูปที่ 4) โดยคลื่นความเร่งของสถานี MACR นั้นได้ทาการหาโดยแสดง ใน
รูปที่ 3 และมีค่า PGA ประมาณ 0.125g โดยจากการพิจารณาคลื่นการกระจัด (Displacement time history) (รูปที่ 5) ที่วัดได้ที่
สถานี MACR ก่อนทาการกรองความถี่สัญญาณ (เส้นสีน้าเงิน) สามารถพบได้ว่าการสั่นของสถานี MACR นั้นมีลักษณะพิเศษ โดยการ
สั่นเป็นไปในรูปแบบเคลื่อนตัวขึ้น (Ramp function) ทั้งสามทิศทาง เหนือใต้ (North-South) ตะวันออกตะวันตก (East-West) บน
ล่าง (Up-Down) โดยข้อมูลนี้บ่งชี้ได้ว่าสถานี MACR นั้นเคลื่อนไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตั้งแต่วินาทีที่ 80 ถึงวินาทีที่ 90 ซึ่ง
สอดคล้องกันกับลักษณะการเคลื่อนตัวของรอยเลื่อนแม่ลาวซึ่งมีทิศทางเหลื่อมซ้าย (Left lateral strike-slip) จึงทาให้สถานี MACR
นั้นเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ แต่ทว่าการที่การกระจัดในช่วงหลังตั้งแต่ วินาทีที่ 90 มีค่าสูงผิดปกติเนื่องมาจากคลื่น
แผ่นดินไหวมีการบันทึกค่าเบี่ยงเบนซึ่งต้องทาการแก้โดยการทาแก้ค่ามาตรฐาน (Baseline correction) แต่เนื่องมาจากว่าโครงสร้าง
ทางวิศวกรรมนั้นมีย่านความถี่ที่สนใจอยู่ในช่วง 0.1 ถึง 25 Hz ดังนั้นการกรองสัญญาณด้วย Butterworth function ในย่านความถี่ที่
สนใจจึงเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ได้รับความนิยม โดยรูปแบบของการกระจัดนั้นเปลี่ยนไปโดยไม่พบการสั่นในรูปแบบเคลื่อนตัวขึ้นเนื่องมาจาก
การเคลื่อนตัวของสถานีนั้นเป็นสัญญาณในย่านความถี่ที่ต่า (Low frequency) หรือ คาบการสั่นสูง (Long period) ดังนั้นการกรอง
สัญญานคลื่นแผ่นดินไหวจึงอาจจะไม่ทาให้เห็นลักษณะการเคลื่อนตัวของสถานี MACR
โดยสเปกตรัมของคลื่นแผ่นดินไหวที่สถานี MACR หลังจากได้รับการปรับแก้ทิศของเครื่องวัดแผ่นดินไหวให้มที ิศทางตั้งฉากกันกับ
แนวรอยเลื่อน (Fault Normal and Fault Parallel) นั้นไม่มีความแตกต่างกันแสดงถึงคลื่นแผ่นดินไหวทีสถานีนี้ไม่ได้เกิดการขยาย
คลื่นแผ่นดินไหวพลังงานสูงเนื่องมาจากทิศทางและระยะทางที่ใกล้แผ่นดินไหว (Near fault directivity effect ground motion) (รูป
ที่ 6)
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 35

รูปที่ 3 คลื่นความเร่งแผ่นดินไหว (Acceleration time history) ที่วัดได้ทสี่ ถานี MACR โรงเรียนบ้านทรายงาม อาเภอเมือง จังหวัด
เชียงราย โดยมีระยะห่างจากแผ่นดินไหวเชียงรายประมาณ 25 กิโลเมตร

รูปที่ 4 คลื่นความเร็วแผ่นดินไหว (Velocity time history) ที่วัดได้ที่สถานี MACR โรงเรียนบ้านทรายงาม อาเภอเมือง จังหวัด
เชียงราย โดยมีระยะห่างจากแผ่นดินไหวเชียงรายประมาณ 25 กิโลเมตร โดยเส้นสีน้าเงินเป็นคลื่นความเร็วที่ยังไม่ได้ทาการกรอง
ความถี่สัญญาณ และ เส้นสีแดงเป็นคลื่นความเร็วที่ได้ทาการกรองความถี่สัญญาณในช่วง 0.1-25 Hz
36 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

รูปที่ 5 คลื่นการกระจัดแผ่นดินไหว (Displacement time history) ที่วัดได้ที่สถานี MACR โรงเรียนบ้านทรายงาม อาเภอเมือง


จังหวัดเชียงราย โดยมีระยะห่างจากแผ่นดินไหวเชียงรายประมาณ 25 กิโลเมตรโดยเส้นสีน้าเงินเป็นคลื่นการกระจัดที่ยังไม่ได้ทาการ
กรองความถี่สัญญาณ และ เส้นสีแดงเป็นคลื่นการกระจัดที่ได้ทาการกรองความถี่สญ ั ญาณในช่วง 0.1-25 Hz

รูปที่ 6 สเปกตรัมของคลื่นแผ่นดินไหวที่วัดได้ที่สถานี MACR โรงเรียนบ้านทรายงาม อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย โดยมีระยะห่างจาก


แผ่นดินไหวเชียงรายประมาณ 25 กิโลเมตร โดยเปรียบเทียบกันกับ ค่าสเปกตรัมที่กาหนดใน มยผ1302-52

คลื่นแผ่นดินไหวทั้งหมดที่วัดได้ 14 คลื่นภายในระยะทาง 200 กิโลเมตรได้ทาการทาการเปรียบเทียบค่า PGA และ สเปกตรัมที่


1.0 วินาที (Spectral acceleration, SA) กับค่าที่ประมาณจากสมการ Sadigh et al. (1997) และ Boore and Atkinson (2008) ดัง
รูปที่ 7 โดยทั้งสองสมการได้รับการพัฒ นาสาหรั บพื้ นที่ๆเกิดแผ่ นดินไหวบ่ อยครั้ ง (Active Tectonic Region) โดยใช้ข้อมูลคลื่ น
แผ่นดินไหวที่วัดได้ใน แคลิฟอร์เนีย และพื้นที่อื่นเช่น ตุรกี อิหร่าน จากรูปที่ 5 ค่า PGA และ ค่าสเปกตรัมที่ 1.0 วินาทีนั้นสามารถที่จะ
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 37

ประมาณจากทั้งสองสมการได้เป็นอย่างดี โดยค่า PGA นั้นมีค่าความเบี่ยงเบนน้อยกว่า ค่าสเปกตรัมที่ 1.0 วินาที และ สถานีที่ตั้งอยู่บน


ชั้นดินอ่อนที่ระยะทางมากกว่า 50 กิโลเมตรนั้นค่า PGA และ ค่าสเปกตรัมที่ 1.0 วินาทีนั้นสามารประเมินได้แม่นยามากกว่าโดยใช้
สมการ Boore and Atkinson (2008)

รูปที่ 7 การเปรียบเทียบค่า PGA และ Sa ที่ 1 วินาทีที่วัดได้จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวแม่ลาวเมื่อวันที่ 5พฤษภาคม 2557


เปรียบเทียบกับค่าที่ประเมินโดยสมการ Sadigh et al. (1997) และ Boore and Atkinson (2008) โดยเส้นและจุดสีดาแสดงถึงการ
ประเมินสาหรับชั้นดินแข็งและเส้นและจุดสีแดงแสดงถึงการประเมินสาหรับชั้นดินอ่อน โดยเส้นประแสดงถึงค่าความเบีย่ งเบนในการ
ประเมินของสมการที่ 16 และ 84 เปอร์เซนไตน์
38 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

3. สรุป
แผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 ไม่ได้เป็นเหตุการณ์ที่อยูเ่ หนือความคาดหมายแต่อย่างใด โดยแหล่งกาเนิดแผ่นดินไหว
นัน้ อยูบ่ นรอยเลือ่ นย่อยแม่ลาวซึง่ อยูใ่ นกลุม่ รอยเลือ่ นพะเยาซึง่ ได้รบั การศึกษาน้อยกว่ารอยเลือ่ นหลักอืน่ ๆในประเทศไทย โดยในพืน้ ที่
ภาคเหนือนั้นยังมีรอยเลื่อนย่อยประเภทเดียวกันนี้อีกเป็นจานวนมากที่สามารถทาให้เกิดแผ่นดินไหวในระดับเดียวกันและส่วนใหญ่รอย
เลื่อนย่อยเหล่านีม้ ีตาแหน่งอยู่ใกล้กับตัวเมืองต่างๆในภาคเหนือซึ่งตรงกันกับการพิจารณาความเสีย่ งแผ่นดินไหวที่ชี้ว่าทางภาคเหนือ
ของประเทศไทยนั้นมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวได้สูงที่สุดในประเทศไทย โดยแผ่นดินไหวในครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวที่ใหญ่ที่สดุ ในประเทศ
ไทยนับแต่แผ่นดินไหวขนาด 6.3 ที่อาเภอ ปัว จังหวัดน่าน เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม 2478 โดยจากการพิจารณาคลื่นแผ่นดินไหวที่วัด
โดยละเอียดแล้วนั้นไม่ได้มีคา่ ที่สูงกว่าค่าที่ประมาณการโดยสมการ Sadigh et al. (1997) และ Boore and Atkinson (2008) โดยค่า
สเปกตรัมที่วัดได้ ที่สถานี MACR นั้นยังมีค่าน้อยกว่าที่กาหนดไว้ใน มยผ 1302-52 ดังนั้นจึงสามารถสรุปในเบื้องต้นได้วา่ อาคารทีไ่ ด้รับ
ความเสียหายระดับสีแดงนั้นส่วนใหญ่จึงเป็นอาคารที่สร้างมาก่อน มยผ 1302-52 และ เป็นอาคารที่ไม่ได้ก่อสร้างตรงตามหลักวิศวกรรม
ดังนั้นการก่อสร้างอาคารในพื้นที่ภาคเหนือจึงสมควรได้รับการออกแบบตรงตามหลักวิศวกรรมเพื่อลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้นจาก
แผ่นดินไหวที่จะเกิดขึ้นได้ในอนาคตต่อไป

บรรณานุกรม
[1] ศูนย์ประสานงานเพื่อตรวจสอบอาคาร เนื่องจากภัยพิบัติแผ่นดินไหว จังหวัดเชียงราย (ศปอ) (2557) รายงานสรุปสถานการณ์ความเสียหายจากเหตุ
แผ่นดินไหว วันจันทร์ที่ 16 มิถุนายน 2557
[2] มาตรฐานการออกแบบอาคารต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว (มยผ 1302-52) (2552) กรมโยธาธิการและผังเมืองกระทรวงมหาดไทย จานวน
125 หน้า
[3] Boore DM, Atkinson GM (2008) Ground-motion prediction equations for the average horizontal component of PGA, PGV, and 5%-
damped PSA at spectral periods between 0.01 s and 10.0 s. Earthq Spectra24(1):99–138
[4] Morley, C.K., Charusiri, P., Watkinson, I. M. (2011) Structural geology of Thailand during the Cenozoic. The Geology of Thailand.
ed. / M.F. Ridd; A.J. Barber; M.J. Crow. Geological Society of London, p. 273-334.
[5] Ornthammarath T, Warnitchai P, Worakanchana K, Zaman S, Sigbjörnsson R, Lai CG (2011) Probabilistic seismic hazard assessment
for Thailand. Bull Earthquake Eng 9(2):367–394
[6] Palasri C, Ruangrassamee A (2010) Probabilistic seismic hazard maps of Thailand. J Earthq Tsunami 4(4):369–386
[7] Sadigh K, Chang C-Y, Egan JA, Makdisi FI, Youngs RR (1997) Attenuation relationships for shallow crustal earthquakes based on
California strong motion data. Seismol Res Lett 68(1):180–189
[8] Shedlock KM, Giardini D, Grünthal G, Zhang P (2000) The GSHAP global seismic hazard map. Seismol Res Lett 71(6):679–689
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 39

แผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย กับรอยเลื่อนพะเยาส่วนเหนือ (ส่วนแม่ลาว)


MAE LAO EARTHQUAKE IN CHIANG RAI AND THE MAE LAO SEGMENT OF THE PHAYAO FAULT

วีระชาติ วิเวกวิน1 และสุวิทย์ โคสุวรรณ2


1,2
นักธรณีวิทยา ส่วนวิจัยรอยเลื่อนมีพลัง สานักธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม กรมทรัพยากรธรณี
Email: Weerachat23@yahoo.com

บทคัดย่อ
ตามการรายงานของกรมอุตุนิยมวิทยา เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 ตามมาตราริกเตอร์ มีจุดเหนือศูนย์เกิด
แผ่นดินไหวที่ ต. ห้วยทรายขาว อ. พาน จ. เชียงราย ภายหลังข้อมูลแผ่นดินไหวหลัก และแผ่นดินไหวตาม จานวน 478 เหตุการณ์ ได้
ถูกนามาวิเคราะห์ใหม่เพื่อหา ขนาดแผ่นดินไหว ด้วยโปรแกรม SEISAN และจุดศูนย์เกิดแผ่นดินไหว จุดเหนือศูนย์เกิ ดแผ่นดินไหวทั้ง
478 เหตุการณ์ ก็ถูกวิเคราะห์ใหม่ด้วยโปรแกรม HypoDD โดยใช้วิธี Double-Difference Method ผลการวิเคราะห์พบว่าแผ่นดินไหว
หลักครั้งนี้มีขนาด 6.1 ตามมาตราริกเตอร์ มีจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอยู่ในพื้นที่ ต. ดงมะดะ อ. แม่ลาว จ. เชียงราย และตาแหน่ง
ของแผ่นดินไหวตามกระจายตัวขนานสอดคล้องกับแนวรอยเลื่อนส่วนแม่ลาวของ กลุ่มรอยเลื่อนพะเยาส่วนเหนือ ที่วางตัวแนวทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ และมีรูปแบบการเลื่อนตัวในแนวระนาบเหลื่อมซ้าย แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ตามมาตราริกเตอร์
นอกจากทาให้เกิดความเสียหายต่ออาคารบ้านเรือนแล้วยังทาให้เกิดรอยแตกบนผิวดิน ปรากฏการณ์ทรายพุ และตลิ่งแม่น้าพัง ในพื้นที่
อ. แม่ลาว อ. แม่สรวย และ อ. พาน จ. เชียงราย ผลการประเมินความรุนแรงของแผ่นดินไหวในเหตุการณ์ดังกล่าวมีระดับสูงสุดตาม
มาตราเมอร์คัลลี่ คือ ระดับ VIII (ระดับทาลาย) ในบริเวณรัศมีจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว 10 กม. ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ใน ต.
ดงมะดะ และ ต.จอมหมอกแก้ว อ. แม่ลาว และครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของ อ. พาน อ. แม่สรวย และ อ. เมือง จ. เชียงราย ซึ่ง
บ้านเรือนของประชาชนในพื้นที่ดังกล่าวพังเสียหายเป็นจานวนมาก
คาสาคัญ : แผ่นดินไหวขนาด 6.3 ตามมาตราริกเตอร์, รอยเลื่อนพะเยาส่วนเหนือ (ส่วนแม่ลาว), เชียงราย

ABSTRACT
According to the Thai Meteorological Department report, an earthquake with a magnitude of 6.3 on the Richter
scale occurred on 5 May 2014 in the Huai Sai Khao subdistrict, Pan district, Chiang Rai province. The magnitude
was recalculated using the SEISAN software, and 478 epicenters and hypocenters were also relocated using the
Double-Difference Method in the HypoDD software. The magnitude of this earthquake was recalculated to 6.1 on
the Richter scale. After relocation, an epicenter of mainshock was located in the Dong Mada subdistrict, Mae Lao
district, Chiang Rai province to the southeast of the NE-SW trending Mae Lao segment of the Phayao Fault zone.
Moreover, the aftershocks were distributed along the NE-SW trending Mae Lao segment. It is concluded that this
earthquake event was caused by the left-lateral strike-slip movement of the NE-SW trending Mae Lao segment.
The ground cracks and sand boils induced by this earthquake also occurred in the Mae Lao, Mae Suai, and Pan
districts, Chiang Rai province. After this earthquake event, macroseismic intensity has been mapped. The maximum
intensity of this earthquake event was up to level of VIII of the modified mercalli intensity (MMI) scale. The zone
of maximum level of VIII in a radius of 10 km from its source is mainly located in the Mae Lao districts, Chiang Rai
province.
KEYWORDS: M 6.3 Chiang Rai earthquake, Mae Lao segment, Phayao Fault, Mae Lao, Chiang Rai

1. บทนา
กรมอุตุนิยมวิทยา ได้รายงานเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.3 ตามมาตราริกเตอร์ เกิดขึ้นเมื่อวันจันทร์ที่ 5 พฤษภาคม 2557
เวลา 18.08 น. มีจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (Epicenter) บริเวณตาบลทรายขาว อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย (รูปที่ 1) จุดเหนือ
ศูนย์เกิดแผ่นดินไหวครั้งนี้ ห่างจากอาเภอแม่สรวย ประมาณ 18 กิโลเมตร ห่างจากอาเภอแม่ลาว ประมาณ 15 กิโลเมตร และห่างจาก
อาเภอเมืองเชียงราย ประมาณ 31 กิโลเมตร หลังจากเกิดแผ่นดินไหวหลัก พบว่าเกิดแผ่นดินไหวตาม (Aftershock) ไม่น้อยกว่า 1,000
40 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

ครั้ง [1] (รูปที่ 2) เหตุการณ์นี้เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาดสูงสุดที่เคยตรวจวัดได้ในประเทศไทยในรอบ 70 ปี ส่งผลให้บ้านเรือนประชาชน


ในเขตพื้นที่ อาเภอแม่ลาว อาเภอแม่สรวย และอาเภอพาน จังหวัดเชียงราย ได้รับความเสียหายเป็นจานวนมาก โดยเฉพาะโรงเรียน
สถานพยาบาล วั ด บางหลั งพั งเสี ยหายจนไม่สามารถเข้ าอยู่ อ าศั ยได้ พื้ น ดิ น มี ร อยแตกร้ าว เช่ น ถนนทางหลวงหมายเลข 118
(เชียงใหม่-เชียงราย) นอกจากนี้ยังพบทรายพุ และรอยแตกบนพื้นผิว เป็นจานวนมาก เหตุการณ์ครั้งนี้ทาให้มีผู้เสียชีวิตจานวน 1 ราย
[2]
กรมทรัพยากรธรณีเป็นหน่วยงานหนึ่งซึ่งมีภารกิจเกี่ยวข้องกับการสารวจ ศึกษา วิเคราะห์ธรณีพิบัติภัยแผ่นดินไหว เพื่อให้ได้มา
ซึ่งข้อมูลธรณีวิทยาแผ่นดินไหว พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว ข้อมูลดังกล่าวนี้จะถูกส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้
เป็นข้อมูลในการบริหารจัดการเชิงพื้นที่ เพื่อลดความสูญเสีย และผลกระทบจากเหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยแผ่นดินไหว ตลอดจนนาไปใช้
พิจารณาใช้ในงานออกแบบด้านวิศวกรรม ดังนั้นกรมทรัพยากรธรณีจึงได้ทาการสารวจ ศึกษาวิจัยด้านธรณีพิบัติภัยแผ่นดิ นไหวใน
บริเวณพื้นที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 จังหวัดเชียงราย เพื่อที่จะได้เข้าใจพฤติกรรมของ
รอยเลื่อนมีพลังในพื้นที่ดังกล่าว ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวในครั้งนี้

รูปที่ 1 ตาแหน่งจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวของแผ่นดินไหวหลัก (Mainshock) กับรอยเลื่อนพะเยา [3] และการกระจายตัวของ


ตะกอนดินยุคควอเทอร์นารี ในพืน้ ที่บางส่วนของจังหวัดเชียงราย และจังหวัดพะเยา [4]
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 41

รูปที่ 2 แผนภูมิการเกิดแผ่นดินไหวหลักของเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.3 ตามมาตราริกเตอร์ และแผ่นดินไหวตาม ในพื้นที่อาเภอ


แม่ลาว อาเภอแม่สรวย อาเภอพาน และเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

2. สภาพธรณีแปรสัณฐาน (Tectonic setting)


ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่บนแผ่นเปลือกโลก(Tectonic plates) ที่มาบรรจบกัน 4 แผ่นด้วยกัน ได้แก่
แผ่นเปลือกโลกยูเรเชีย (Eurasian plate) แผ่นเปลือกโลกอินเดีย (Indian plate หรือ Indo-Australian plate) แผ่นเปลือกโลกทะเล
ฟิลิปปินส์ (Philippines sea plate) และแผ่นเปลือกโลกแปซิฟิก (Pacific plate) นอกจากนี้ยังมีรอยต่อของแผ่นเปลือกโลก (Plate
boundary) ตั้งแต่ตะวันตกของสหภาพพม่า อ้อมหมู่เกาะสุมาตรา และหมู่เกาะชวาไปทางใต้ ในช่วงอายุทางธรณีกาลล่าสุด ( Late
Cenozoic) พบว่าส่วนของประเทศไทย และประเทศใกล้เคียงเป็นส่วนใต้สุดของแผ่นเปลือกโลกยูเรเชีย (ชนิดแผ่นทวีป) จากหลักฐาน
การเคลื่อนที่ของเปลือกโลกบ่งชี้ว่าแผ่นเปลือกโลกแปซิฟิกยังคงเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนแผ่นเปลือกโลกยูเรเชีย
แทบจะหยุดนิ่งอยู่กับที่ ขณะที่แผ่นเปลือกโลกอินเดียเคลื่อนขึ้นมาทางด้านเหนือ [5,6] และชนกับแผ่นเปลือกโลกยูเรเชีย ส่งผลทาให้
ขอบของแผ่นเปลือกโลกเป็นร่องลึก (Trench) มีแนวรอยเลื่อนเนื่องจากแนวการแยกตัวออกจากกัน (Spreading zone) และมีแนว
การมุดตัว (Subduction zone) ระหว่างรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกต่างๆ
การเคลื่อนที่ขึ้นมาทางด้านทิศเหนืออย่างต่อเนื่องของแผ่นเปลือกโลกอินเดีย ทาให้เกิดการชนกันระหว่างแผ่นเปลือกโลกอินเดีย
กับแผ่นเปลือกโลกยูเรเชีย และส่งผลทาให้เกิดรอยเลื่อนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นจานวนมาก เช่น รอยเลื่อนสะกาย
(Sagaing Fault) ในสหภาพพม่า หรือรอยเลื่อนแม่น้าแดง (Red River Fault) ในสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม รวมทั้งรอยเลื่อนมี
พลังในบริเวณตอนใต้ของสาธารณรั ฐประชาชนจีน สามเหลี่ยมทองคา และภาคเหนือของประเทศไทย ปัจจุบันรอยเลื่อนเหล่านี้ถูก
จัดเป็นรอยเลื่อนมีพลังที่มีการเคลื่อนที่อยู่ และทาให้เกิดแผ่นดินไหวในพื้นที่ดังกล่าว

3. เหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.3 ตามมาตราริกเตอร์ เชียงราย เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557


กรมอุตุนิยมวิทยา และ United States Geological Survey (USGS) ได้รายงานตาแหน่งจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ขนาด
6.3 ตามมาตราริกเตอร์ และขนาด 6.1 ตามมาตราโมเมนต์ (Mw) ตามลาดับ อยู่บริเวณตาบลทรายขาว อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย
ซึ่งเป็นตาแหน่งใกล้เคียงกับรอยเลื่อนพะเยาส่วนใต้ (ส่วนพาน) [1,7] ทั้งนี้ กรมอุตุนิยมวิทยา และ USGS ได้วิเคราะห์ตาแหน่งจุดเหนือ
ศูนย์เกิดแผ่นดินไหวของเหตุการณ์แผ่นดินไหวนี้โดยใช้ข้อมูลคลื่นแผ่นดินไหวจากสถานีวัดแผ่นดินไหวที่อยู่ไกลจากพื้นที่จังหวัด
เชี ย งราย ประกอบกั บกรมอุ ตุนิย มวิท ยากาหนดตาแหน่ งจุ ดดังกล่าวด้วยโปรแกรมคอมพิ วเตอร์แ บบกึ่งอั ตโนมัติ และใช้ วิธีการ
คานวณหาตาแหน่งดังกล่าวด้วย Regional Earth Crustal Velocity Model (IASPEI91) ซึ่งวิธีการคานวณนี้จะใช้เวลาแรกที่คลื่น
แผ่นดินไหว P (P wave first-arrival) เดินทางมาถึงสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวกับข้อมูลความเร็วการเดินทางของคลื่นแผ่นดินไหว ใน
การกาหนดตาแหน่งจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว วิธีนี้จะเหมาะสาหรับการกาหนดตาแหน่งจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวของเหตุการณ์
แผ่นดินไหวทั่วๆ ไป โดยเฉพาะเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ และมีสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวเป็นจานวนมาก ที่สาคัญ Regional
Earth Crustal Velocity Model ถูกสร้างมาจากค่าความเร็วของคลื่น P ในชั้นหินของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นค่าที่
42 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

อาจจะไม่เหมาะสม เนื่องจากใช้เป็นค่าความเร็วเฉลี่ยทั้งภูมิภาค ดังนั้น ตาแหน่งจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวที่วิเคราะห์โดยของกรม


อุตุนิยมวิทยา และ USGS จึงเป็นตาแหน่งที่มีความคลาดเคลื่อน และความถูกต้องแม่นยาในระดับหนึ่งเท่านั้น เพื่อให้ได้ตาแหน่ง
ดังกล่าวที่ถูกต้อง นักวิชาการด้านแผ่นดินไหวจะต้องนาข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์เพิ่มเติมภายหลัง

รูปที่ 3 แผนที่แสดงธรณีแปรสัณฐานของภูมิภาคเอเชียใต้และตะวันออกของสองแผ่นเปลือกโลก และการกระจายตัวของรอยเลื่อน


ต่างๆ ระหว่างโครงสร้างแผ่นเปลือกโลก (Tectonic plates) [5,6]
คณะผู้ศึกษาจึงได้ร่วมมือกับ ผศ.ดร.ภาสกร ปนานนท์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทาการวิเคราะห์ขนาดแผ่นดินไหวโดยใช้
โปรแกรม SEISAN (โปรแกรมนี้เหมาะสาหรับการวิเคราะห์ขนาดของแผ่นดินไหวระยะใกล้ (Local earthquake) และแผ่นดินไหว
ระยะไกล (Global earthquake)) และกาหนดศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (Hypocenter) และจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอีกครั้งโดยใช้
Local Earth Crustal Velocity Model ด้วยโปรแกรม HypoDD ซึ่งใช้วิธี Double-Difference Method [8] โดยเลือกใช้ข้อมูลคลื่น
แผ่นดินไหวจากชุดข้อมูลรูปคลื่นสถานีวัดแผ่นดินไหวของกรมทรัพยากรธรณีในพื้นที่จังหวัดเชียงราย จังหวัดแพร่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน
จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดลาปาง และจังหวัดเชียงใหม่ ที่ให้ค่าความคาดเคลื่อนในการคานวณน้อยที่สุด จานวน 11 สถานี สถานีวัด
แผ่ น ดิ น ไหวของมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาตร์ จ านวน 1 สถานี และจากสถานี วั ด แผ่ น ดิ น ไหวของแบบดิ จิ ตั ล ออนไลน์ ร ะบบไอริ ส
(Incorporated Research Institutions for Seismology, IRIS) จานวน 1 สถานี รวมทั้งสิ้น 13 สถานี
การวิเคราะห์ข้อมูลแผ่นดินไหวตามในการศึกษาครั้งนี้ใช้วิธี Double-Difference Method ซึ่งพัฒนาโดย Waldhauser and
Ellsworth [8] (สมการที่ 1 และรูปที่ 4) ซึ่งใช้ประโยชน์จากการมีแผ่นดินไหวตามจานวนมากที่เกิดขึ้นในบริเวณใกล้เคียงกัน ประกอบ
กับมีสถานีวัดแผ่นดินไหวในบริเวณใกล้เคียงหลายสถานี โดยใช้หลักการที่ว่าแผ่นดินไหวที่เกิดตาแหน่งใกล้เคียงกันจะใช้เส้นทางในการ
เดินทางของคลื่นแผ่นดินไหวเส้น ทางเดียวกัน ทาให้ใ ช้เ วลาในการเดิ นทางแตกต่า งกั นเพี ยงเล็ กน้ อย เนื่ องจากคลื่นเดินทางจาก
แหล่งกาเนิดแผ่นดินไหวที่แตกต่างกัน ความแตกต่างของเวลาน้อยๆ ของแผ่นดินไหวตามที่อยู่ใกล้กันแต่ละตัวจะถูกคา นวณโดยใช้
ความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ เพื่อให้คานวณระยะทางที่คลื่นเดินทางอย่างถูกต้องได้ ทาให้สามารถคานวนย้อนกลับไปยังศูนย์เกิด
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 43

แผ่นดินไหวที่เป็นแหล่งกาเนิดคลื่นได้อย่างถูกต้อง การหาตาแหน่งจุดศูนย์เกิดแผ่นดินไหวด้วยวิธีนี้จะได้ผลดีเมื่อมีข้อมูลแผ่นดินไหว
ตามเกิดเป็นจานวนมากและมีสถานีตรวจวัดในบริเวณใกล้เคียง ซึ่งวิธีดังกล่าวนี้ได้ใช้กันอย่างแพร่หลาย เพราะช่วยทาให้สามารถเห็น
กลุ่มของแผ่นดินไหวที่มักจะสัมพันธ์กับแนวรอยเลื่อนที่เป็นแหล่งกาเนิดแผ่นดินไหว

(1)
𝑗
𝑡𝑘𝑖 , 𝑡𝑘 = ค่า travel time จากจุดเกิดแผ่นดินไหว i ถึงสถานี k และจากจุดศูนย์เกิดแผ่นดินไหว j ถึงสถานีวัดคลื่นสะเทือน
พื้นดิน
𝑚 = เวคเตอร์ของคลื่นแผ่นดินไหวจากจุดเกิดแผ่นดินไหว i และ j ถึงสถานีวัดแผ่นดินไหว
𝑖𝑗
𝑑𝑟𝑘 = Double-Difference residual ที่ได้จากค่า travel time ของเหตุการณ์ i และ j ที่สถานีวัดคลื่นสะเทือนพื้นดิน
∆𝑚 , ∆𝑚𝑗 =ระยะทางจากตาแหน่งเดิมของเหตุการณ์ i และ j
𝑖

ผลการวิเคราะห์พบว่าขนาดแผ่นดินไหวหลักที่วิเคราะห์ได้ใหม่มีขนาด 6.1 ตามมาตราริกเตอร์ และมีจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว


อยู่ที่ตาแหน่ง ละติจูด 19.7356 องศาเหนือ ลองจิจูด 99.6992 องศาตะวันออก ในพื้นที่ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย
ข้อมูลตาแหน่งของแผ่นดินไหวหลักขนาด 6.1 ตามมาตราริกเตอร์ และแผ่นดินไหวตามขนาดมากกว่า 2.0 ตามมาตราริกเตอร์ จานวน
478 เหตุ ก ารณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ระหว่ างวั น ที่ 5 พฤษภาคม 2557 ถึ งวั น ที่ 8 กรกฎาคม 2557 กระจายตั ว เป็ นแถบแนวเส้น ตรงในทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งขนานสอดคล้องกับแนวรอยเลื่อนส่วนแม่ลาวของรอยเลื่อนพะเยาส่วนเหนือ (รูปที่ 5) เมื่อนา
ตาแหน่งและความลึกของการเกิดแผ่นดินไหวหลัก และแผ่นดินไหวตามมาหาความสัมพันธ์ในลักษณะภาคตัดขวางในรูปที่ 6 พบว่าการ
กระจายตัวของข้อมูลในแนว A-B (ตามรูปที่ 5) ซึ่งตัดตั้งฉากกับแนวรอยเลื่อน มีการเอี ยงไปทางด้านขวามือ บ่งชี้ว่าระนาบรอยเลื่อน
ส่วนแม่ลาวนี้มีการเอียงเทไปทิศตะวันออกเฉียงใต้ด้วยมุมประมาณ 45 องศา
คณะผู้ศึกษาได้ทาการวิเคราะห์ระนาบรอยเลื่อนที่ทาให้เกิดแผ่นดินไหวหลักขนาด 6.1 ตามมาตราริกเตอร์ครั้งนี้ และระนาบรอย
เลื่ อ นของแผ่ น ดิน ไหวตามขนาดใหญ่ก ว่ า 4.0 ตามมาตราริ ก เตอร์ ด้ ว ยการวิ เ คราะห์ กลไกการเกิด แผ่ นดิ น ไหวที่ เรี ยกว่ า Focal
mechanism analysis จากข้อมูลรูปคลื่นแผ่นดินไหวจากสถานีวัดแผ่นดินไหวของกรมทรัพยากรธรณีที่อยู่รายรอบและอยู่ใกล้เคียงกับ
จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ทาให้ทราบถึงรูปแบบและทิศทางการเลื่อนตัวของรอยเลือ่ น ตามรูปร่างของ Beach ball diagrams หรือ
Fault plane solution ในรูปที่ 5 ซึ่งแสดงพฤติกรรมการเลื่อนตัวของรอยเลื่อนได้ 2 แบบ คือ มีลักษณะการเลื่อนตัวแบบเหลื่อมซ้าย
ตามแนวรอยเลื่อนทิศตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ หรือ ลักษณะการเลื่อนตัวเหลื่อมขวาตามแนวรอยเลื่อนทิศตะวันตกเฉียง
เหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งหากพิจารณาจากตาแหน่งและทิศทางการกระจายตัวของแผ่นดินไหวตาม ก็วิเคราะห์ได้อย่างชัดเจนว่า
รูปแบบของการเลื่อนตัวของรอยเลื่อนที่ทาให้เกิดแผ่นดินไหวของเหตุการณ์วันที่ 5 พฤษภาคม 2557 ในพื้นที่จังหวัดเชียงรายนี้ คือ
รอยเลื่อนที่วางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ -ตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งมีการเลื่อนตัวแบบเหลื่อมซ้าย (Left-lateral strike-slip faults) อันบ่งชี้
ว่าเป็นรอยเลื่อนส่วนแม่ลาวของรอยเลื่อนพะเยาส่วนเหนือ

รูปที่ 4 หลักการการคานวณจุดเกิดแผ่นดินไหวด้วยวิธี Double-Difference Method (สมการที่ 1) โดยใช้สมมติฐานว่าแผ่นดินไหวที่


เกิดตาแหน่งใกล้กันจะใช้เส้นทางในการเดินทางของคลื่นเส้นทางเดียวกัน [8]
44 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

รูปที่ 5 ผลการวิเคราะห์ตาแหน่งจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวหลัก แผ่นดินไหวตาม และรูปร่างของ Beach ball diagrams หรือ


Fault plane solution ของเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นช่วงวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 ถึงวันที่ 8 กรกฎาคม 2557 จุดเหนือศูนย์เกิด
แผ่นดินไหวหลักอยู่ทตี่ าแหน่งละติจูด 19.7356 องศาเหนือ ลองจิจูด 99.6992 องศาตะวันออก บริเวณตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว
จังหวัดเชียงราย

4. ผลกระทบและความเสียหาย
4.1 รอยแตกบนพื้นดิน (Ground cracks or surface ruptures)
เหตุการณ์แผ่นดินไหวนี้ทาให้เกิดรอยแตกบนพื้นดินเป็นจานวนมากในพื้นที่อาเภอแม่ลาว อาเภอพาน อาเภอแม่สรวย จังหวัด
เชียงราย (รูปที่ 7) จากการสารวจเก็บรวบรวมข้อมูลรอยแตกของพื้นดินในพื้นที่ดังกล่าวจานวน 183 จุด ถูกนามาวิเคราะห์ในแผนภูมิ
ภาพดอกกุหลาบ (Rose diagram) (รูปที่ 7จ) ที่พบว่าการกระจายตัวของรอยแตกหลักวางตัวอยู่ในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ -ตะวันตก
เฉียงใต้ (N30oE) ซึ่งแนวการวางตัวของรอยแตกนี้สอดคล้องกับแนวการวางตัวของรอยเลื่อนพะเยาส่วนเหนือ และมีรอยแตกรองอยู่ 3
แนว คือ แนวการวางตัวในทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ (N40oW) แนวการวางตัวในทิศตะวันตก-ตะวันออก (S80oE) และ
แนวการวางตัวในทิศเหนือ-ใต้ (S10oE)
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 45

รูปที่ 6 ความลึกของแต่ละจุดศูนย์เกิดแผ่นดินไหวตามแนว A-B ในรูปที่ 5 ข้อมูลนี้บ่งชี้ว่าระนาบรอยเลื่อนมีการอียงเทไปด้านทิศ


ตะวันออกเฉียงใต้ (ตามแนวเส้นปะ) ด้วยมุมเอียงเทประมาณ 45 องศา

รูปที่ 7 รอยแตกบนพื้นดินที่เกิดจากแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวขนาด 6.1 ตามมาตราริกเตอร์ รอยแตกดังกล่าวพบในพื้นที่อาเภอ


แม่ลาว อาเภอแม่สรวย และอาเภอพาน จังหวัดเชียงราย
ก-ข) รอยแตกในพื้นที่บ้านใหม่จัดสรร ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย มีระยะเลื่อนออกจากกันประมาณ 6
เซนติเมตร แสดงการเลื่อนแบบตามแนวระนาบเหลื่อมซ้าย
ค) รอยแตกบนถนนทางหลวงหมายเลข 118 ที่ กม.151-152
ง) รอยแตกในพื้นที่ บ้านห้วยส้านยาว ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย
46 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

จ) แนวการวางตัวของรอยแตกบนพื้นดินถูกวิเคราะห์ในแผนภูมิภาพดอกกุหลาบแสดงแนวแตกหลักในแนวทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ (N300 E)

4.2 ปรากฏการณ์ทรายพุ (Liquefaction)


ปรากฏการณ์ทรายพุ เกิดจากแรงสั่นสะเทือนของคลื่นแผ่นดินไหวเขย่าชั้นตะกอนทรายที่จับตั วกันอย่างหลวมๆ และอิ่มตัวด้วย
น้าที่อยู่ด้านล่าง เกิดการอัดตัวแน่นของมวลตะกอนทราย ทาให้แรงดันน้าเพิ่มขึ้นแล้วเกิดการไหลพุ่งขึ้นสู่ผิวดินด้ านบนตามแนวรอย
แตก หรือช่องว่าง น้าจะพาตะกอนทราย ขึ้นมากองเป็นเนินบนผิวดิน (รูปที่ 8) โดยทั่วไปทรายพุ จะเกิดขึ้นในกรณีเกิดแผ่นดินไหว
ขนาดมากกว่า 5.0 [9] หรือเป็นแผ่นดินไหวค่อนข้างรุนแรงที่ทาให้มีอัตราเร่งของผิวดินมากกว่า 0.10 g ของแรงโน้มถ่วงของโลก [10]
และต้องมีชั้นดินเป็นตะกอนทรายอุ้มน้า จับตัวกันแบบหลวมๆ แล้วมีชั้นดินอื่นมาปิดทับ
ปรากฏการณ์ทรายพุเป็นตัวการสาคัญที่ทาให้ถนนสายเชียงราย-เชียงใหม่ บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 151-152 แตกร้าวเป็นทางยาว
ประมาณ 100 เมตร และยุบตัวลงมากกว่า 2 เมตร ถนนเสียหายเป็นอย่างมาก หลั งเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ตามมาตราริก
เตอร์ คณะผู้ศึกษาได้สารวจพบตาแหน่งทรายพุเกิดขึ้นในชุมชนและพื้นที่ท้องนาของหมู่บ้านต่างๆ เป็นจานวนมากในบริเวณอาเภอแม่
ลาว อาเภอแม่สรวย และอาเภอพาน จังหวัดเชียงราย ซึ่งชุมชนดังกล่าวตั้งอยู่บนตะกอนที่ราบน้าท่วม (Qff) และตะกอนธารน้าพา
(Qa) เนื่องจากในช่วงเวลาที่เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวดังกล่าวเป็นช่วงต้นฤดูฝน มีฝนตกหนัก จึงทาให้ระดับน้าใต้ดินสูง ส่งผลให้ชั้น
ตะกอนทรายอุ้มน้า ซึ่งง่ายต่อการเกิดทรายพุขึ้นมาตามรอยแตก หรือบริเวณช่องว่างที่อยู่บนดิน เมื่อได้รับแรงเขย่าจากแผ่นดินไหว (รูป
ที่ 9)

รูปที่ 8 รูปแบบอย่างง่ายของปรากฏการณ์ทรายพุ [11]

4.3 ตลิ่งพัง
แรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวขนาด 6.1 ตามมาตราริกเตอร์ ได้ทาให้เกิดรอยแตกบนตลิ่งของลาน้าแม่ลาว และลาคลองหลาย
สายในพื้นที่บริเวณอาเภอแม่ลาว อาเภอแม่สรวย และอาเภอพาน จังหวัดเชียงราย และต่อมามีการพังทลายลงแม่น้าในหลายแห่ง (รูป
ที่ 10) ส่งผลให้แม่น้าลาคลองตื้นเขิน ตลิ่งที่พังทาให้ประชาชนสูญเสียพื้นที่ทาการเกษตรตามแนวลาน้า และลาคลอง

4.4 การประเมินความรุนแรงของแผ่นดินไหว
ความรุนแรงของแผ่นดินไหว เป็นผลกระทบของแผ่นดินไหวโดยตรงที่มีต่อการรับรู้ถึงการสั่นไหวของคน และความเสียหายของ
อาคารสิ่งก่อสร้าง และต่อสภาพภูมิลักษณ์ต่างๆ ในธรรมชาติ ระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหวขึ้นอยู่กับระยะทางจากตา แหน่งจุด
เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว กล่าวคือ ถ้าอยู่ใกล้กับจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวแล้ว ระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหวจะมาก และ
ระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหวจะลดน้อยลงเรื่อยๆ เมื่ออยู่ห่างจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวออกไป
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 47

การประเมินความรุนแรงแผ่นดินไหวขนาด 6.1 ตามมาตราริกเตอร์ ในครั้งนี้ใช้ข้อมูลความเสียหายในพื้นที่ประสบภัย (ความเสียหาย


ของสิ่งปลูกสร้างรอยแตกบนพื้นดิน ทรายพุ ตลิ่งพัง) จากการสารวจของทีมงานของกรมทรัพยากรธรณี และกรมป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย

รูปที่ 9 (ก-ข) รูปทรายพุบริเวณบ้านนิคมแม่ลาว อาเภอพาน (ค-ง) บ้านท่าฮ่อ ตาบลทรายขาว อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย

รูปที่ 10 รอยแตกบนตลิ่งของน้าแม่ลาวบริเวณ อาเภอแม่ลาว อาเภอแม่สรวย และอาเภอพาน จังหวัดเชียงราย

จานวน 235 แห่ง โดยใช้หลักเกณฑ์การประเมินตามมาตราเมอร์คัลลี่ (Modified Mercalli Intensity Scale) ซึ่งผลการประเมิน


ดังกล่าว มีระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหว ตามมาตราเมอร์คัลลี่ ดังนี้ (รูปที่ 11)
-ระดับ VIII (ระดับทาลาย) มีรัศมีจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว 10 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของอาเภอแม่
ลาว และครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของอาเภอพาน อาเภอแม่สรวย และอาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
-ระดับ VII (ระดับแรงมาก) มีรัศมีจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว 40 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นทีส่ ่วนใหญ่ในอาเภอเมือง
อาเภอแม่ลาว อาเภอแม่สรวย อาเภอพาน อาเภอเวียงชัย และครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของอาเภอเทิง อาเภอป่าแดด อาเภอพญา
เม็งราย อาเภอเวียงเชียงรุ้ง อาเภอแม่จัน อาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย และอาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา
48 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

-ระดับ VI (ระดับแรง) มีรัศมีจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว 150 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดพะเยา


จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลาปาง จังหวัดน่าน และครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของจังหวัดเชียงราย จังหวัดแพร่ จังหวัดลาพูน และ
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
-ระดับ V (ระดับค่อนข้างแรง) มีรัศมีจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว 270 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน
จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลาพูน จังหวัดลาปาง จังหวัดแพร่ จังหวัดน่าน และครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของจังหวัดอุตรดิตถ์
-ระดับ IV (ระดับพอประมาณ) มีรัศมีจากจุดเหนือศู นย์เกิดแผ่นดินไหว 320 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน
จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลาพูน จังหวัดลาปาง จังหวัดแพร่ จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดสุโขทัย และครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของ
จังหวัดตาก จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดเลย
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 49

รูปที่ 11 ผลการประเมินความรุนแรงของเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ตามมาตราริกเตอร์ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557


50 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

5. บทวิจารณ์ (Discussion)
5.1 ตาแหน่งจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
คณะผู้ศึกษาได้ทาการวิเคราะห์ตาแหน่งเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวอีกครั้ง โดยใช้ Local Earth Crustal Velocity Model ด้วย
วิธี Double-Difference Method ซึ่งจุดศูนย์เกิดแผ่นดินไหว และจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวที่คานวนได้จากวิธีนี้ค่อนข้างเป็นที่
ยอมรั บ ว่ า มี ค วามแม่ น ยามากกว่ า ต าแหน่ ง ที่ ค านวณได้ จ ากวิ ธี Regional Earth Crustal Velocity Model ในครั้ ง แรกที่ ก รม
อุตุนิยมวิทยาได้ประกาศสู่สาธารณะ เนื่องจาก Local Earth Crustal Velocity Model ถูกสร้างมาจากค่าความเร็วของคลื่น P ตาม
สภาพธรณีวิทยาของหินในพื้นที่ใกล้กับตาแหน่งจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ผลการวิเคราะห์พบว่าจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวหลักที่
คานวนได้ใหม่อยู่ที่ตาแหน่งละติจูด 19.7536 องศาเหนือ ลองจิจูด 99.6992 องศาตะวันออก บริเวณตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว
จังหวัดเชียงราย ส่วนจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวตามก็มีตาแหน่งการกระจายตัวขนานสอดคล้องกับแนวการวางตัวของรอยเลื่อนส่วน
แม่ลาวในกลุ่มรอยเลื่อนพะเยาส่วนเหนือที่วางตัวในแนวทิศตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ (รูปที่ 5)
กลุ่มรอยเลื่อนพะเยาส่วนเหนือ ประกอบด้วยส่วนแม่ลาว ส่วนแม่กรณ์ ส่วนห้วยส้าน และส่วนแม่สรวย มีความยาวประมาณ 70
กิโลเมตร วางตัวอยู่ในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ -ตะวันตกเฉียงใต้ รอยเลื่อนส่วนใหญ่มีก ารเลื่อนตัวตามแนวระนาบเหลื่อมซ้าย [12]
แผ่นดินไหวโบราณที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วหลายครั้งจากกลุ่มรอยเลื่อนพะเยาส่วนเหนือนี้มีขนาดแผ่นดินไหวประมาณ 6.0 – 6.8 ตาม
มาตราริกเตอร์ (คานวณจากสมการของ Wells and Coppersmith [13]) และเคยเกิดแผ่นดินไหวครั้งล่าสุดเมื่อ 5,300 ปีที่แล้วตาม
หลักฐานการจารึกไว้ในชั้นดินในร่องสารวจของการขุดค้นหาหลักฐานการเกิดแผ่นดินไหวครั้งบรรพกาล
ข้ อ มู ล ต าแหน่ ง จุ ด เหนื อ ศู น ย์ เ กิ ด แผ่ น ดิ น ไหว ข้ อ มู ล Beach ball diagrams หรื อ Fault plane solution ของเหตุ ก ารณ์
แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ตามมาตราริกเตอร์ ที่ได้จากการศึ กษาในครั้งนี้มีความสอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ของ USGS [7]; และ วีระ
ชาติ วิ เ วกวิ น และสุ วิ ท ย์ โคสุ ว รรณ [14] ที่ ส รุ ป ว่ า เหตุ ก ารณ์ แ ผ่ น ดิ น ไหวดั งกล่ า วนี้ เ กิ ด จากการเลื่ อ นตัว ของรอยเลื่ อ นแนวทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ ในรูปแบบตามแนวระนาบเหลื่อมซ้าย

5.2 การขยายคลื่นแผ่นดินไหวกับความเสียหาย
ภายหลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวหลักเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 มีรายงานความเสียหายของอาคารบ้านเรือนราษฎร และ
สถานที่ราชการเกิดขึ้นเป็นจานวนมากในท้องที่อาเภอแม่ลาว อาเภอแม่สรวย และอาเภอพาน จังหวัดเชียงราย ความเสียหายที่เกิดใน
พืน้ ที่อาเภอแม่ลาว และอาเภอแม่สรวย มีความรุนแรงมากกว่าที่อื่นๆ เพราะว่าบริเวณดังกล่าวอยู่ใกล้กับตาแหน่งรอยเลื่อนพะเยาส่วน
เหนือ (ส่วนแม่ลาว) แต่สาหรับกรณีความเสียหายในพื้นที่ อาเภอพาน ที่อยู่ห่างไกลจากตาแหน่งรอยเลื่อนพะเยาส่วนเหนือ (ส่วน แม่
ลาว) ก็มีรายงานความเสียหายเป็นจานวนมาก ซึ่งความเสียหายดังกล่าวเป็นผลมาจากชั้นดินมีการสั่นรุนแรงขึ้น อันเนื่องมาจาก
คุณสมบัติการขยายคลื่นของชั้นดินที่รองรับข้างใต้พื้นที่ อาเภอพาน ซึ่งอธิบายได้จากผลการสารวจค่าความเร็วคลื่นเฉือน และข้อมูล
หลุมสารวจ ดังนี้
ข้อมูลความเร็วคลื่นเฉือนที่ระดับความลึก 30 เมตรจากผิวดิน (Shear wave velocity, V30) ของชั้นดินที่รองรับใต้อาคาร
โรงเรียนพานพิทยาคม อาเภอพาน มีค่าความเร็วคลื่นเฉือนประมาณ 260 เมตรต่อวินาที [15] และอาศัยสมการคานวณหาขนาดการ
ขยายคลื่นแผ่นดินไหวของ Midorikawa และคณะ [16] พบว่าชั้นดินที่รองรับโรงเรียนพานพิทยาคม อาเภอพาน สามารถขยายคลื่น
แผ่นดินไหวได้ประมาณ 1.64 เท่า
ข้อมูลหลุมเจาะที่โรงเรียนพานพิทยาคม อาเภอพาน พบว่ามีชั้นดินเหนียว มีทรายปนเล็กน้อย ที่ระดับความลึกประมาณ 16-30
เมตร [17] ชั้นดินเหนียวปนทรายนี้ถูกสรุปว่าเป็นชั้นดินที่ทาให้เกิดการขยายคลื่นแผ่นดินไหวประมาณ 1.64 เท่า ส่งผลให้อาคารเรียน
โรงเรียนพานพิทยาคม อาเภอพาน และบ้านเรือนประชาชนในพื้นที่ใกล้เคียงพังเสียหายในหลายแห่ง การขยายคลื่นแผ่นดินไหวของชั้น
ดินเหนียวนี้ สามารถนามาอธิบายความเสียหายที่เกิดขึ้นในพื้นที่ อาเภอพาน ทั้งที่ตั้งอยู่ไกลจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวได้อย่าง
ชัดเจน

5.3 สภาพธรณีแปรสัณฐาน (Tectonic setting) กับรอยแตกบนผิวดิน


รอยแตกบนผิวดินหลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ตามมาตราริกเตอร์ สามารถอธิบายด้วยสภาพธรณีแปรสัณฐานมหภาค
(Regional tectonic setting) ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ถูกแรงกดในแนวเกือบทิศเหนือ-ใต้ อันเนื่องมาจากการเคลื่อนที่ชน
กันของแผ่นธรณีอินเดียกับและแผ่นธรณียูเรเชีย (รูปที่ 3) ทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นเลือกโลกบริเวณพื้นที่ยูนนาน สาธารณรัฐ
ประชาชนจีน ได้เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนตัวจากแนวทิศตะวันตกเฉียงใต้ ด้วยอัตราเร็วประมาณ 12–13 มิลลิเมตรต่อปี ไปเป็นการ
เคลื่อนตัวแนวเกือบทิศตะวันตก ด้วยอัตราเร็วประมาณ 6 มิลลิเมตรต่อปี และแรงดังกล่าวยังทาให้พื้นที่สามเหลี่ยมทองคาในสหภาพ
พม่า สปป.ลาว และภาคเหนือ ประเทศไทยเคลื่อนที่ขนานไปกับบริเวณพื้นที่ยู นนานตอนใต้ ด้วยอัตราเร็วของการเคลื่อนตัวประมาณ
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 51

2–3 มิลลิเมตรต่อปี [18] การเคลื่อนที่ดังกล่าวทาให้เกิดรอยเลื่อนตัวของรอยเลื่อนในทิศแนวตะวันออกเฉียงเหนือ -ตะวันตกเฉียงใต้


และเป็นแบบแนวระนาบเหลื่อมซ้าย (Left-lateral strike-slip faults) เป็นจานวนมาก เช่น รอยเลื่อนเม็งซิง (Mengxing Fault) ใน
พื้นที่ภูมิภาคยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน รอยเลื่อนแม่น้ามา (Nam Ma Fault) บริเวณสามเหลี่ยมทองคา สหภาพพม่า และ
สปป.ลาว รอยเลื่อนแม่จัน (Mae Chan Fault) และรอยเลื่อนพะเยาส่วนเหนือ (ส่วนแม่ลาว) ในภาคเหนือของประเทศไทย
เหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.1 ตามมาตราริกเตอร์ ทาให้เกิดรอยแตกเกิดขึ้นหลายแนวในพื้นที่ อาเภอแม่ลาว อาเภอแม่สรวย
และอาเภอพาน จังหวัดเชียงราย ข้อมูลแนวรอยแตก (รูปที่ 7จ) แสดงให้เห็นว่ามีแนวรอยแตกหลักวางตัวในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ -
ตะวันตกเฉียงใต้ (N30oE) ซึ่งแนวการวางตัวของรอยแตกหลักสอดคล้องกับแนวการวางตัวของรอยเลื่อนพะเยาส่วนเหนือ (ส่วนแม่ลาว)
จึงบ่งชี้ได้ว่าแนวรอยแตกหลักเกิดจากการเลื่อนตัวของรอยเลื่อนพะเยาส่วนเหนือ (ส่วนแม่ลาว) และส่งผลให้เกิดรอยแตกรองในแนวทิศ
ตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ (N40oW) แนวรอยแตกในทิศตะวันตก-ตะวันออก (S80oE) และแนวรอยแตกในทิศเหนือ-ใต้
(S10oE) ตามมา

6. สรุป
6.1 แผ่นดินไหวขนาด 6.3 ตามมาตราริกเตอร์ [1] และแผ่นดินไหวตามขนาดใหญ่กว่า 2.0 ตามมาตราริกเตอร์ ที่บันทึกได้
ระหว่างวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 ถึงวันที่ 8 กรกฎาคม 2557 จานวน 478 เหตุการณ์ ถูกนามาวิเคราะห์หาขนาดแผ่นดินไหวใหม่ด้วย
โปรแกรม SEISAN และแผ่นดินไหวเหล่านี้ยังถูกนามาวิเคราะห์หาจุดศูนย์เกิดแผ่นดินไหว และจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวใหม่ด้วย
โปรแกรม HypoDD โดยใช้เทคนิควิธี Double-Difference Method ผลการวิเคราะห์พบว่าแผ่นดินไหวครั้งนี้มีขนาด 6.1 ตามมาตรา
ริกเตอร์ แผ่นดินไหวนี้มีขนาดสูงสุดที่ตรวจวัดได้ด้วยเครื่องมือวัดคลื่นสั่นสะเทือนพื้นดินในประเทศไทย สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว
ในครั้งนี้ เกิดจากการเลื่อนตัวของกลุ่มรอยเลื่อนพะเยาส่วนเหนือ (ส่วนแม่ลาว) โดยเลื่อนตัวในแนวราบเหลื่อมซ้า ย (Left-lateral
strike-slip movement) ที่วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้
6.2 แผ่ น ดิ น ไหวขนาด 6.1 ตามมาตราริ ก เตอร์ ท าให้ เ กิ ด รอยแตกบนพื้ น ดิ น โดยพบรอยแตกหลั ก บนพื้ น ดิ น ในแนว ทิ ศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ (N30oE) ซึ่งแนวการวางตัวของรอยแตกหลักสอดคล้องกับแนวการวางตัวของรอยเลื่อนพะเยา
ส่วนเหนือ (ส่วนแม่ลาว) และมีแนวแตกรองที่วางตัวในทิศตะวันตกเฉียงเหนือ -ตะวันออกเฉียงใต้ (N40oW) แนวรอยแตกใน ทิศ
ตะวันตก-ตะวันออก (S80oE) และแนวรอยแตกในทิศเหนือ-ใต้ (S10oE) นอกจากนี้แรงสั่นสะเทือนของเหตุการณ์แผ่นดินไหวนี้ยังทาให้
เกิดปรากฎการณ์ทรายพุ และตลิ่งแม่น้าพัง ในพื้นที่อาเภอแม่ลาว อาเภอแม่สรวย และอาเภอพาน จังหวัดเชียงราย
6.3 ผลการประเมินความรุนแรงแผ่นดินไหว ขนาด 6.1 ตามมาตราริกเตอร์ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 มีระดับความรุนแรง
ดังนี้
-ระดับ VIII (ระดับทาลาย) มีรัศมีจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว 10 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของอาเภอแม่
ลาว และครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของอาเภอพาน อาเภอแม่สรวย และอาเภอเมืองจังหวัดเชียงราย
-ระดับ VII (ระดับแรงมาก) มีรัศมีจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว 40 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ในอาเภอเมือง
อาเภอแม่ลาว อาเภอแม่สรวย อาเภอพาน อาเภอเวียงชัย และครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของอาเภอเทิง อาเภอป่าแดด อาเภอพญา
เม็งราย อาเภอเวียงเชียงรุ้ง อาเภอแม่จัน อาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย และอาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา
-ระดับ VI (ระดับแรง) มีรัศมีจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว 150 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดพะเยา
จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลาปาง จังหวัดน่าน และครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของจังหวัดเชียงราย จังหวัดแพร่ จังหวัดลาพูน และ
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
-ระดับ V (ระดับค่อนข้างแรง) มีรัศมีจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว 270 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน
จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลาพูน จังหวัดลาปาง จังหวัดแพร่ จังหวัดน่าน และครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของจังหวัดอุตรดิตถ์
-ระดับ IV (ระดับพอประมาณ) มีรัศมีจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว 320 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน
จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลาพูน จังหวัดลาปาง จังหวัดแพร่ จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดสุโขทัย และครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของ
จังหวัดตาก จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดเลย

กิตติกรรมประกาศ
คณะผู้ทาการศึกษาขอขอบคุณบุ คคลดั งต่ อไปนี้ นายปรีชา สายทอง ผอ.ส่วนแผนที่ ศูนย์สารสนเทศทรัพยากรธรณี กรม
ทรัพยากรธรณี ที่สนับสนุนข้อมูลภาพถ่ายทรายพุในพื้นที่เกิดเหตุการแผ่นดินไหวขนาด 6.1 ตามมาตราริกเตอร์ ผศ.ดร.ภาสกร ปนา
นนท์ อาจารย์ประจาภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นพิภพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์ ที่ช่วยวิเคราะห์ข้อมูลคลื่นแผ่นดินไหว นายสิทธิรักษ์
52 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

ลิมปิสวัสดิ์ นักธรณีวิทยาชานาญการ ที่ให้คาแนะนาในการวิเคราะห์ข้อมูลคลื่นแผ่นดินไหว นางสาวณฐมน ติมัน นางสาวอัจฉรา โพธิ


สม นักธรณีวิทยา ส่วนวิจัยรอยเลื่อนมีพลัง สานักธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม ที่ช่วยในการเก็บข้อมูลสนาม และช่ว ยจัดทาแผนที่ประเมิน
ความรุนแรงแผ่นดินไหว นายอนุวัชร ตรีโรจนานนท์ และนายจิรศักดิ์ เจริญมิตร นักธรณีวิทยาชานาญการ สานักธรณีวิทยา ที่ช่วยใน
การเก็บข้อมูลสนาม

อ้างอิง
[1] กรมอุตุนิยมวิทยา. ประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา เรื่องแผ่นดินไหว อ.พาน จ.เชียงราย ขนาด 6.3 ประกาศ ณ วันที่ 5 พฤษภาคม 2557 เวลา 18:08 น.
(http://www.seismology.tmd.go.th/ announce.html/), 2557.
[2] กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. สรุปความเสียหาย และให้ความช่วยเหลือประชาชนผู้ประสบภัยจากเหตุแผ่นดินไหว จังหวัดเชียงราย, สานักงาน
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดเชียงราย (http://dpmcr.wordpress.com/), 2557.
[3] กรมทรัพยากรธรณี. แผนที่รอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทย, กองธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม, กรมทรัพยากรธรณี, 2557.
[4] กรมทรัพยากรธรณี. แผนที่ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราส่วน 1:1,000,000 กรมทรัพยากรธรณี, 2541. [5] Tapponnier, P., Peltzer, G., Armijo,
R., Le Dain, A. & Coobbold, P. (1982). Propagating Extrusion Tectonics in Asia: New Insights from simple experiments with
plasticine. Geology 10, 611–616. [6] Tapponnier, P., Peltzer, G. & Armijo, R. (1986). On the mechanism of collision between India
and Asia. Geological Society London Special Publications 19, 115–157.
[7] United States Geological Survey (USGS). M 6.1-13NNW of Phan, Thailand on 5 May 2014 [Online]: Available from
http://comcat.cr.usgs.gov/earthquakes/eventpage/usb000qack#scientific, 2014.
[8] Waldhauser, F. & Ellsworth, W.L. (2000). A Double-Difference Earthquake Location Algorithm: Method and Application to the
Northern Hayward Fault, California. Bulletin of the Seismological Society of America 90, No. 6, 1353–1368 [9] Atkinson, G.M.,
Finn, W. D. L. & Charlwood, R. G. (1984). Simple Computation of Liquefaction Probability for seismic Hazard Applications.
Earthquake Spectra 1, 107-123.
[10] Audemard, F.A. & Santis, F.D. (1991). Survey of Liquefaction structure induced be recent moderate earthquakes. Bulletin of the
International Association of Engineering Geology 44, 5-16.
[11] Sims, J.D. & Garvin, C.D. (1995). Recurrent liquefaction at Soda Lake, California, induced by the 1989 Loma Prieta earthquake,
and 1990 and 1991 aftershocks: Implications for paleoseismicity studies. Seismological Society of America Bulletin 85, 51-65.
[12] กรมทรัพยากรธรณี.โครงการศึกษาคาบอุบัติซ้าในพื้นที่แสดงร่องรอยการเลื่อนตัวของรอยเลื่อนมีพลังในจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ และพะเย า (กลุ่ม
รอยเลื่อนแม่จัน และกลุ่มรอยเลื่อนพะเยา), กองธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม, กรมทรัพยากรธรณี, 2552, รายงานการสารวจ, 392 หน้า.
[13] Wells, D.L. & Coppersmith, K.J. (1994). New empirical relationships among magnitude, rupture length, rupture area, and surface
rupture displacement. Bulletin of the Seismological Society of America 84, 974–1002.
[14] วีระชาติ วิเวกวิน และสุวิทย์ โคสุวรรณ. แผ่นดินไหว 5.5.57 เชียงราย. การประชุมวิชาการกรมทรัพยากรธรณี ประจาปี 2557 กรมทรัพยากรธรณี, 9-
10 กันยายน 2557, กรุงเทพฯ, 2557, หน้า 364-377.
[15] นคร ภูวโรดม, เป็นหนึ่ง วานิชชัย, ชยานนท์ หรรษภิญโญ และธีรพงษ์ จันทร์เพ็ง. คุณสมบัติการขยายคลื่นของชั้นดินในเมืองใหญ่ และคุณสมบัติเชิงพล
ศาตร์ของอาคาร. การประชุมสัมมนาเรื่อง “ลดภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวในประเทศไทย” วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ (วสท), 4 มิถุนายน 2557,
2557.
[16] Midorikawa, S., Matsuoka, M. and Sakukawa, K. Site effect on strong-motion records observed during the 1987 Chiba-Ken-Toho-
Oki, Japan earthquake. Proceedings of 9th Japan Earthquake Engineering Symposium, Tokyo, Japan, 1994, pp. E085 - E090.
[17] วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมถ์. รายงานการเจาะสารวจสภาพชั้นดิน โครงการออกแบบอาคารเรียน โรงเรียนพานพิทยาคม
อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย, 2557, รายงานการเจาะสารวจ, 47 หน้า.
[18] Simons, W.J.F., Socquet, A., Vigny, C., Ambrosius, B.A.C., Abu, S.H., Promthong, C., SubaryaSarsito, D.A., Matheussen, S., Morgan,
P. & Spakman, W. (2007). A decade of GPS in Southeast Asia: resolving Sundaland motion and boundaries. Journal of Geophysical
Research 112, (B06420), doi: 10.1029/2005JB003868.
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 53

การตรวจสอบทางธรณีฟิสิกส์ในพื้นที่ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว จังหวัดเชียงราย
PRELIMINARY GEOPHYSICAL INVESTIGATION IN AN EARTHQUAKE IMPACT
AREA CHIANG RAI PROVINCE

กัมปนาท แหลมพูลทรัพย์1, ถนัด สร้อยซา2 และภควัต ศรีวังพล2


1
ผู้อานวยการส่วนธรณีฟิสิกส์ สานักเทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี
2
นักธรณีวิทยาชานาญการ สานักเทคโนโลยีธรณี กรมทรัพยากรธรณี

Kampanart Lhamphoonsup1, Tanad Soisa2 and Pakawat Sriwangpon2


1
Director of Geophysics Section, Bureau of Geotechnology Department of Mineral Resources
2
Senior Geologist, Bureau of Geotechnology Department of Mineral Resources

บทคัดย่อ
ความเสียหายจากเหตุการณ์เกิดแผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 ที่จังหวัดเชียงราย แบ่งออกได้ 3 ลักษณะคือ 1. เกิดรอยแตก
บนพื้นดิน 2. เกิดความเสียหายแก่ตัวอาคารบ้านเรือน และ 3. เกิดทรายพุ เพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงใช้วิธีการสารวจ
ธรณีฟิสิกส์วิธีวัดค่าสภาพต้านทานไฟฟ้า วิธีหยั่งลึกด้วยสัญญาณเรดาร์และวิธีวัดคลืน่ ไหวสะเทือน ทาให้ได้ข้อสรุปว่า รอบแตกที่เกิดบน
พื้นดินเป็นรอยแตกระดับตื้นลักษณะดินเลื่อนตัวไม่ได้เกิดจากรอยเลื่อนในระดับลึก จึงใช้ดินถมและบดอัดก็กลับคืนสภาพเดิมได้ ส่วน
อาคารบ้านเรือนที่เกิดความเสียหายส่วนใหญ่ (90%) ตั้งอยู่บนชั้นตะกอนที่มีอัตราการขยายคลื่นแผ่นดินไหว 1.3 -1.6 เท่า จึงต้อง
ออกแบบฐานรากและโครงสร้างอาคารให้แข็ งแรงขึ้นจะสามารถต้านแผ่นดินไหวได้ และกรณีทรายพุเกิดจากพื้นที่มีดินทรายละเอียด
ดินเหนียวและชั้นน้ามีแรงดันวางตัวอยู่ระดับตื้น แก้ไขได้ด้วยการเจาะฝังท่อปรุเพื่อลดแรงดันชั้นน้าใต้ดินเมื่อเกิดแผ่นดินไหว
คาสาคัญ: แผ่นดินไหว, สารวจธรณีฟิสิกส์

Abstract
The damage from earthquake on May 5 , 2 5 5 7 at Chiang Rai province is divided into 3 types 1 . Cracks on the
ground 2 . Damage against buildings and 3 . Liquefactions. To find out the solutions in such events. Thus, the
geophysical exploration methods are applied by usinge the resistivity, Ground penetration radar and Seismics.
The results come to conclude that the fractures occurred on the ground is shallow cracks likely landform slide.
It don t due to a fault or deep fracture. Therefore, soil reclamation and compaction was restored to its original
condition. The majority of damaged buildings are about 90% settled on unconsolidated sediment which able to
increase the earthquake amplitude up to 1 . 3 - 1 . 6 times, So it need to design a strong foundation and building
structures to resist earthquakes. In case of liquefraction it coincided with fine sand, clay and shallow confined
aquifer underlain. To prevent such event by embed the perforate pipe for reducing pressure on the ground floor
when earthquake.
KEYWORDS: earthquake, Geophysical exploration
1. บทนา
เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 เวลา 18.08 น. ได้เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.3 ริกเตอร์ ใต้แผ่นดินลึก 10 กิโลเมตร โดยมีจุดศูนย์เกิด
บริเวณอาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย ซึ่งส่งผลกระทบออกไปเป็นบริเวณกว้างคลุม 4 อาเภอคือ อาเภอพาน อาเภอแม่ลาว อาเภอแม่
สรวย และอาเภอเมือง ทาให้สิ่งก่อสร้างจานวนมากได้รับความเสียหายว่า 7,000 หลังคาเรือน ที่ต้องรื้อถอนสร้างใหม่ประมาณ กว่า
2,000 หลังคาเรือน ในจานวนนี้เป็นโรงเรียนที่สังกัดอยู่ในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงรายเขต 1 และเขต 2 มีอาคาร
เรียนแตกร้าว 61 โรงเรียน ต้องทาการสร้างใหม่จานวน 12 โรงเรียน ซึ่งในการสร้างอาคารใหม่จะต้องทาการสารวจโครงสร้างชั้นหิน
เพื่อการวางฐานรากอาคารให้มีความมั่นคง สามารถต้านแผ่นดิน ไหวได้ นอกจากนี้ยังเกิดรอยแตกเป็นแนวยาวบนพื้นดินและบนทาง
หลวงหลายเส้นทางทาให้เสียเส้นทางการสัญจรไปชั่วระยะหนึ่ง อีกทั้งยังเกิดทรายผุดในบางบริเวณที่เป็นบ้านเรือนและที่เป็นพื้นที่นา
แต่ยังไม่มีผลกระทบต่อฐานรากอาคาร เพื่อหาแนวทางการแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้น จึงต้ องทาการสารวจโครงสร้างธรณีวิทยาใต้ดิน
54 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

ด้วยวิธีการทางธรณีฟิสิกส์ โดยใช้วิธีการสารวจวัดค่าสภาพต้านทานไฟฟ้า วิธีการวัดคลื่นไหวสะเทือน วิธีการหยั่งลึกด้วยสัญญาณเรดาร์


และการเจาะระดับตื้นด้วยเครื่องเจาะมือหมุน พื้นที่สารวจอยู่ในจังหวัดเชียงรายคลุม 4 อาเภอได้แก่ อาเภอพาน อาเภอแม่ลาว อาเภอ
แม่สรวย และอาเภอเมือง เป็นบ้านเรือนและโรงเรียนที่ได้รับความเสียหาย จากการสารวจทาให้ได้ข้อสรุปว่า อาคารที่ได้รับความ
เสียหายมากกว่า 90% ตั้งอยู่บนชั้นดินตะกอน ที่มีอัตราการขยายความแรงคลื่นแผ่นดินไหว 1.3 -1.6 เท่า ดินตะกอนที่มีชั้นทราย
ละเอียดในระดับตื้น 1-2 เมตร มีชั้นดินเหนียวและน้ารองรับ จะมีโอกาสเกิดทรายพุได้ ข้อมูลจากการสารวจธรณีฟิสิกส์จะเป็น
ประโยชน์ต่อการออกแบบก่อสร้างอาคารให้มีความเหนียว แข็งแรงสามารถต้านแผ่นดินไหวได้

2. พื้นที่ดาเนินการ
พื้นที่ได้รับความเสียหายตัง้ อยู่ในเขตปกครอง 4 อาเภอ บนแผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วน 1:50,000 ระวางจังหวัดเชียงราย 4948I
ระวางกิ่งอาเภอป่าแดด 4948II ระวางอาเภอแม่สรวย 4948III ระวางบ้านแม่กรณ์ 4948IV และระวางบ้านหนองหล่ม 4848III L7018
(รูปที่ 1) ส่วนใหญ่อยู่ในแอ่งตะกอน (90%) ประกอบด้วย ดินเหนียว บางส่วนสลับด้วยเลนส์ของทรายปนกรวด ส่วนน้อยอยู่บนหินมวล
แน่น หินแข็งบริเวณนี้ส่วนใหญ่เป็นหินดินดาน มีหินทรายแทรกสลับ

3. การสารวจ
การสารวจใช้วิธีการทางธรณีฟิสิกส์ 3 วิธีการ เพื่อตรวจสอบโครงสร้างชั้นหินใต้ดินให้ทราบถึงความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดขึน้
ต่อโครงสร้างใต้ดิน สาหรับเป็นแนวทางการแก้ไขสภาพเสียหายให้กลับสู่สภาพเดิม และเป็นแนวทางการป้องกันให้สิ่งก่อสร้างทั้งหลาย
สามารถต้านทานแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวได้ มีวิธีการสารวจดังนี้
วิธีการวัดค่าสภาพต้านทานไฟฟ้า (Resistivity) เป็นวิธีที่ใช้กระแสไฟฟ้าทางานในครั้งนี้ใช้ 2 รูปแบบคือ รูปแบบภาพตัดขวาง
ต่อเนื่องตามแนวสารวจ (Resistivity Imaging) ใช้เพื่อดูความต่อเนื่องของชั้นตะกอนและชั้นหินในระดับความลึก 0-30เมตร และแบบ
หยั่งลึกเป็นจุด (Vertical Electrical Sounding) ใช้เพื่อตรวจสอบความลึ กของชั้นหิ นฐาน(Basement) จึงใช้วิธีนี้เป็นพื้นฐานเข้ า
ตรวจสอบสาเหตุที่เกิดขึ้นจากแผ่นดินไหวแทบทุกกรณี
วิธีการหยั่งลึกด้วยสัญญาณเรดาร์ (Ground Penetrating Radar; GPR) เป็นวิธีการทางสนามแม่เหล็กไฟฟ้าใช้ความถี่ 200, 400
MHz ปล่อยลงไปใต้ดินสะท้อนกลับขึ้นมา ทาให้ได้ลักษณะรอยแตก ชั้นทรายและชั้นหินที่อยู่ใต้ดินในระดับตื้นเฉลี่ย 0-5 เมตร สามารถ
ใช้ตรวจสอบรอยแตก ทรายพุ และฐานรากในระดับตื้นได้
วิธีการวัดคลื่นไหวสะเทือน (Seismic) ใช้สารวจหาความเร็วคลื่นเฉือนด้วยการวิเคราะห์คลื่นผิวดินแบบหลายช่องสัญญาณ
(Multi-Channel Analysis of Surface Waves; MASW) ได้ผลเป็นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าความเร็วคลื่นเฉือนกับความ
ลึก และใช้ค่าความเร็วคลื่นเฉือนตั้งแต่ระดับความลึก 0-30 เมตร (Vs30 ) ในการประเมินอัตราขยายคลื่นแผ่นดินไหวของชั้นตะกอนได้
จึงเป็นประโยชน์ทาให้สามารถประเมินระดับความรุนแรงของภัยแผ่นดินไหวในแต่ละพื้นที่ สามารถจัดแบ่งประเภทของชั้นตะกอนตาม
มาตรฐานของ National Earthquake Hazards Reduction Program (NEHRP, 2003) ดังตารางที่ 1 และยังเป็นข้อมูลสาหรับการ
ออกแบบฐานราก โครงสร้างอาคารให้สามารถต้านแผ่นดินไหวได้

ตารางที่ 1 แสดงการจาแนกลักษณะชั้นดินตามเกณฑ์ของ National Earthquake Hazards Reduction Program (NEHRP, 2003)


Site/Class Type Soil Shear Wave Velocity (m/s)
A Hard rock Vs30 > 1500
B Rock 760 < Vs ≤ 1500
C Very dense soil and soft rock 360 < Vs ≤ 760
D Stiff soil 180 < Vs ≤ 360
E Soft clay soil Vs30 ≤ 180
F Soil Require site response analysis: liquefiable soils, very high

4. ผลการสารวจ
ผลการสารวจเพื่อตรวจหาสาเหตุของความเสียหายจากแผ่นดินไหวเพื่อหาแนวทางการแก้ไขสามารถสรุปได้ 3 กรณี คือ
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 55

4.1 รอยแตกบนพื้นดิน รอยแตกเป็นแนวยาวและแยกเป็นร่องลึกบนพื้นดิน จะปรากฏบริเวณใกล้จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว


ได้แก่ รอยแตกบนพื้นถนน บ้านใหม่จัดสรร ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย (รูปที่ 2-3) รอยแตกบนทางหลวงหมายเลข
108 ที่ กม. 151, 152 รอยแตกขนานกับถนนที่ บ้านห้วยส้านยาว ตาบลดงมะดะ จังหวัดเชียงราย มีทิศทางแนวแตกหลักประมาณ
ตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต้ จากการสารวจวัดค่าสภาพต้านทานไฟฟ้าบริเวณแนวรอยแตกเหล่านี้ พบว่าเป็นรอยแตกในชั้น
ตะกอนระดับผิวดิน จึงสามารถแก้ไขได้ด้วยการเปิดรอยแตกออก ถมดิน และบดอัดให้แน่นก็สามารถใช้งานได้ในที่เดิม
4.2 ทรายพุ เกิดในที่นาและใต้บ้านบริเวณอาเภอแม่สรวย แม่ลาว และพาน จังหวัดเชียงราย พื้นที่ดาเนินการบ้านห้วยหวาย
ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว ผลจากการสารวจด้วยวิธีหยั่งลึกด้วยสัญญาณเรดาร์ และวัดค่าสภาพต้านทานไฟฟ้า (รูปที่ 4-7) เป็นพื้นที่
สะสมตัวของตะกอนน้าพาที่มีส่วนประกอบเป็นดินเหนียวหนา 2 เมตร ลึกลงไปเป็นชั้นทรายหนา 6 เมตรและมีน้าใต้ดินอยู่ที่ระดับ 6
เมตร แก้ไขได้ด้วยการเจาะฝังท่อปรุเพื่อลดแรงดันชั้นน้าใต้ดินเมื่อเกิดแผ่นดินไหว (รูปที่ 8)
4.3 อาคารเสียหาย มีทั้งอาคารบ้านเรือนและโรงเรียนหลายแห่ง ส่วนใหญ่ตั้งอยู่บนชั้นตะกอนที่เป็นทรายและดินเหนียวรองรับ
อยู่ดังเช่น บ้านห้วยส้านยาว ต.ดงมะดะ อ.แม่ลาว จ.เชียงราย อาคารบ้านเรือนที่ได้รับความเสียหายส่วนใหญ่เป็นบ้านคอนกรีตเสริม
เหล็กสองชั้น ส่วนบ้านที่ก่อสร้างด้วยไม้พบความเสียหายเล็กน้อย ได้ทาการสารวจวัดค่าสภาพต้านทานไฟฟ้า วัดคลื่นไหวสะเทือนชนิด
คลื่นผิวดินแบบหลายช่องสัญญาณ (MASW) และหยั่งลึกด้วยสัญญาณเรดาร์ (GPR) ได้ข้อสรุปว่าพื้นที่ราบเป็นชั้นดินถมและชั้นทราย
และชั้นดินเหนียว ที่มีความหนาไม่เท่ากันในแต่ละแนวสารวจ ส่วนในบริเวณเชิงเขาพบเป็นชั้นหินผุ หรื อตะกอนเชิงเขา มีความหนา
ตั้งแต่ 1-10 เมตร วางตัวอยู่บนชั้นทรายและชั้นดินเหนียวที่อิ่มตัวด้วยน้ามีความหนา 40-60 เมตร พื้นที่ราบเกษตรกรรมมีค่าอัตราการ
ขยายตัวของคลื่นแผ่นดินไหวเท่ากับ 1.56 และชุมชนบริเวณไหล่เขามีค่าอัตราการขยายตัวของแผ่นดินไหวเท่ากับ 1.13 (รูปที่ 9-18)

รูปที่ 1 แผนที่ภูมิประเทศเทียบกับแผนที่ธรณีวิทยา พื้นที่ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว


56 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

รูปที่ 2 แผนที่แนวสารวจและผลวัดค่าสภาพต้านทานไฟฟ้า 2 แนว ผ่านรอยแตกพื้นที่บ้านใหม่จัดสรร


ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย

รูปที่ 3 รอยแตกลึก 3-5 เมตร เป็นแนวยาวบนถนนลาดยางขนานไปตามขอบบ่อน้า ลักษณะเป็นดินขอบบ่อทรุดตัว


พื้นที่บ้านใหม่จัดสรร ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 57

รูปที่ 4 แผนที่แนวสารวจ ผ่านรอยแตกพื้นที่บ้านห้วยหวาย ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย

รูปที่ 5 วิธีการหยั่งลึกด้วยด้วยสัญญาณเรดาร์ แสดงแนวรอยแตกบนถนนลึกลงไปในชั้นดินประมาณ 3 เมตร ชั้นดินถมและชั้นดิน


เหนียวปนทรายมีความหนาประมาณ 4 เมตร และระดับน้าใต้ดินอยูท่ ี่ความลึกประมาณ 6 เมตร
58 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

รูปที่ 6 ความต้านทานไฟฟ้าแบบภาพตัดขวางของแนวสารวจ พบว่าพื้นที่มีชั้นตะกอนดินเหนียวและทรายหนาประมาณ 2-10 เมตร


ถัดลึกลงไปเป็นชั้นทราย

รูปที่ 7 วัดสภาพต้านทานไฟฟ้าแบบภาพตัดขวางของแนวสารวจที่ 1 แสดงชั้นตะกอนมีความหนามากกว่า 50 เมตร

รูปที่ 8 แบบจาลอง วิธีการปรับปรุงสภาพชั้นดินเพื่อลดผลกระทบจากการเกิดทรายพุ


การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 59

รูปที่ 9 พื้นที่สารวจธรณีฟิสิกส์บริเวณหมู่บา้ นห้วยส้านยาว ด้วยวิธีวดั ความต้านทานไฟฟ้าแบบภาพตัดขวาง แนวสารวจที่ 1 (L1)


ถึงแนวสารวจที่ 4 (L4) แนวสารวจที่ 5 (L5) และสารวจธรณีฟิสิกส์ด้วยวิธีหยั่งลึกด้วยสัญญาณเรดาร์ ตามแนวสารวจ GPR 1
ระยะทาง 330 เมตร และ GPR 2 มีระยะทาง 400 เมตร
60 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

รูปที่ 10 ความเสียหายบางส่วนของหมู่บ้านห้วยส้านยาว

รูปที่ 11 ผลการสารวจวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าแบบภาพตัดขวางของแนวสารวจ L1

รูปที่ 12 ผลการสารวจวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าแบบภาพตัดขวางของแนวสารวจ L2
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 61

รูปที่ 13 ผลการสารวจวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าแบบภาพตัดขวางของแนวสารวจ L3

รูปที่ 14 ผลการสารวจวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าแบบภาพตัดขวางของแนวสารวจ L4

รูปที่ 15 ผลการสารวจวัดค่าความต้านทานไฟฟ้าแบบภาพตัดขวางของแนวสารวจ L5
62 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

รูปที่ 16 ผลการสารวจด้วยวิธีวัดคลื่นไหวสะเทือนชนิดคลื่นผิวดินแบบหลายช่องสัญญาณจุดที่ 1ชั้นตะกอนบริเวณที่ราบเกษตรกรรม มี


ค่าอัตราการขยายตัวของคลื่นแผ่นดินไหวเท่ากับ 1.56 และ 1.13

รูปที่ 17 ผลการสารวจด้วยวิธีหยัง่ ลึกด้วยสัญญาณเรดาร์แนวสารวจ GPR1 ระยะทาง 330 เมตร ผ่านบริเวณแนวแผ่นคอนกรีต


29B

ของถนนเลื่อนแยกออกจากกัน
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 63

รูปที่ 18 ผลการสารวจด้วยวิธีหยัง่ ลึกด้วยสัญญาณเรดาร์ แนวสารวจ GPR2 ระยะทาง 400 เมตร ผ่านบริเวณถนนที่ซ้อนทับกันของ


แผ่นคอนกรีต
เอกสารอา้ งอิง
[1] กรมทรัพยากรธรณี, 2550, ธรณีวิทยาประเทศไทย (Geology of Thailand) พิมพค์ รั้งที่ 2: กรมทรัพยากรธรณี, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม, 2550.
[2] Dobrin, M.B., 1960, Introduction to Geophysical Prospecting: McGraw-hill, New York.
[3] Grant, F.S. and West, G.F., Interpretation Theory in Applied Geophysics: Mc Graw-Hill, New York, 1965.
[4] Milson, J.,------ , Field Geophysics (2nd ed.): Wiley, Ltd., p.19 -37
[5] Paranis, D.S., Principles of Applied Geophysics: John Wiley and Sons, New York, 1962.
[6] Telford, W. M. , Gelgart, L.P., and Sheriff, R.E., 1990, Applied Geophysics (2nd ed): Cambridge, Cambridge University Press,
770p.
[7] RES2DINV ver. 2.45, Geoelectriccal Imaging 2D & 3D, GOTOMO SOFWARE, April 2005
64 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 65

IMPACTS OF 2014 CHIANGRAI EARTHQUAKE FROM GEOTECHNICAL PERSPECTIVES

Suttisak Soralump1 , Jessada Feungaugsorn2 , Sirisart yangsanphu3,


Montri Jinagoolwipat4, Chinoros Thongthamchart5, Rattatam Isaroranit6
1
Director of Geotechnical Engineering Research and Development center (GERD)
2,3,4,5,6
Researcher, Geotechnical Earthquake Engineering Research Unit, GERD
Faculty of Engineering, Kasetsart University, Bangkok, Thailand

ABSTRACT
th
In the evening of the 5 May 2014, the largest earthquake ever recorded which has epicenter within Thailand
strikes Chiangrai province. The magnitude was later reported to be 6.3 ML with 7 km depth. More than 10,000
houses were damaged and 2 people died. Even though the earthquake magnitude is just in moderate to high
level but for the country that considered being seismic quiet region, this is a serious one. This paper presents the
factual data relating with the damage relating with geotechnical aspects.
KEYWORDS: earthquake, liquefaction, emergency response, soil response, dam safety

1. Introduction
Thailand is located in the moderate seismic hazard area. According to UBC classification, the strongest
seismic hazard zone is zone 2B as shown in Fig 1, [1]. Fig 2 shows the earthquake events occurred around
Thailand since 1912-2007, [2].
It can be seen that most of the large earthquake occurred in the area of plate boundary in the Andaman
Ocean, through Myanmar and up to China. Moderate and small earthquake events were recorded in the
northern and western part of the country. Table 1 shows the statistical data of the first ten magnitude event that
recorded by the instrument in Thailand. Before the 5th of May the 5.9 magnitude was the largest which occurred
in 1986 and concluded to be the Reservoir Triggered Seismicity event, [3].
2. Geology
1B

The 6.3 ML occurred in the 5th of May 2014 at 6:08 pm in Chiang Rai province, northern country of Thailand.
The hypocenter depth was 7 km. The epicenter location initially reported by Thai Meteorological Department to
be at Parn district which locates 30 km away from Chiang Rai city.
The epicenter is considered to be located at the low to moderate population area. The acceleration
attenuation curve is plotted by using the peak ground acceleration from various seismic stations and shown in Fig
3. The plotted attenuation curve fitted well with the relationship proposed by [4]. According to the plot and
fitted relationship, the peak acceleration of 0.1g was possible at the 30km radius distance from epicenter. This
matches well with the actual condition where most of the damage is found within 30 km radius from epicenter.
The epicenter located in the PhaYao fault zone, which is one of the 14 active faults in Thailand (Fig 4, [5]).
Moreover, [6] estimated the maximum magnitude that this fault could produce to be 6.6. Many aftershocks have
been observed (Fig 5). Eight events occurred with the magnitude more than 5.0. The hypocenter depths of all
the aftershocks were shallow and generated between two fault lines as shown in Fig 6.
The ground ruptures have been observed. Their direction is either parallel or perpendicular to the Pha Yao
fault lines (Fig 7). Most of the ruptures located over the Quaternary deposit area. The thickness of the deposit
may be more than 200 m, according to the resistivity survey as shown in Fig 8, [7].
66 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

2A

2B

2A

Figure 1 Seismic hazard zone of Thailand, [1]

Figure 2 Thailand and its surrounding seismicity from 1912 to 2007, [2]

Table 1 : First ten earthquake magnitude recorded by the instrument in Thailand


No. Date Magnitude Earthquake epicenter
1 05/05/2014 6.3 Pran, Chiangrai
2 22/04/1983 5.9 Srisawat, Kanchanaburi
3 17/02/1975 5.6 Thasongyang, Tak
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 67

No. Date Magnitude Earthquake epicenter


4 06/05/2014 5.6 Pran, Chiangrai
5 06/05/2014 5.6 Maesuay, Chiangrai
6 22/12/1996 5.5 Boundary Thailand and Laos
7 15/04/1983 5.5 Srisawat, Kanchanaburi
8 22/04/1983 5.2 Srisawat, Kanchanaburi
9 21/12/1995 5.2 Prao, Chaingmai
10 05/05/2014 5.2 Muang, Chiangrai

M6.3 Chiangrai earthquake, 5/5/2014


1
M6.3_5/5/2014

Sadigh et. al. 1997


Peak Ground Acceleration (g)

0.1

0.01

0.001

0.0001

0.00001
1 10 100 1000 10000
Source to site distance (km.)

Figure 3 Recorded acceleration at 6.3 Magnitude, Chiangrai Earthquake


3. Overall damage
12B

Immediately after the earthquake, the need for building safety assessment was highly required. Most people
have to stay outside of their house since they were not sure if the damaged house were safe. Regarding the
investigation by Department of Public Works, it is found that more than 10,000 houses were report damaged.
More than 500 volunteer engineers from all over the country came to help on the safety evaluation of each
house. It took three weeks to finish all the evaluation and found that 475 houses were highly damaged, 2180
were partially damaged and could be repair and 7714 has a minor damage. In addition, 138 temples and 56
schools were found to be highly damaged.
Most of the buildings were not designed to resist the earthquake force since the structure that below 15 m
were not enforced by law to design for earthquake resistance. Wooden house is less damaged comparing to the
reinforced concrete (RC) structure (Fig 9) since it’s light and more flexible.
68 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

Figure 4 Epicenter location of 6.3 Magnitude, Chiangrai earthquake, [5]

Figure 5 Aftershocks location recorded from 5 May to 23 June 2014


Phayao Phayao
Fault Fault
NW SE
0

-5
6.3 Richter
Depth (km)

-10

-15

-20 -
-
-
-25

Figure 6 The hypocenter depths of all the aftershocks ( 5 May to 23 June 2014)
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 69

Figure 7 Ground ruptures location


200 m

Figure 8 Thickness of soil deposit from resistivity survey, [7]

Most of the buildings were not designed to resist the earthquake force since the structure that below 15 m
were not enforced by law to design for earthquake resistance. Wooden house is less damaged comparing to the
reinforced concrete (RC) structure (Fig 9) since it’s light and more flexible.

Figure 9 The damaged of reinforced concrete structure


(Picture taken by Dr. Pennung Warnitchai)
70 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

4. Liquefaction
13B

Liquefaction was found within the radius of 20 km from epicenter and located in the quaternary deposit (Fig
10 and 11). It means that the peak acceleration should be over than 0.15g to cause liquefaction, according to the
attenuation model discussed earlier. The subsoil investigation found the loose saturated sand in the shallow
depth. Furthermore, the gradation of the soil particle found to be a uniform grade and fitted within the range of
liquefiable material (Fig 12). The liquefaction potential analysis using Seed’ method, [8] also found that the soil
will be liquefied if the peak acceleration is more than 0.15g (Fig 13).
Some foundation settlement was found due to liquefied soil underneath the shallow foundation. However,
none of the cases were serious damage (Fig 14).

Mae Lao

Mae Suay
Pran

Figure 10 Location of observed liquefied soil

Figure 11 The liquefied soil evidence


การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 71

100

90

80 ก อ
70 ก อ

Percentage Finer (%)


liquefaction soil
60
ด าลอ ด ด
50
ด าลอ ด ด
40

30 ปา ดด อ ย
20 ปา ดด อ ย
Potential liquefaction soil
10

0
100 10 1 0.1 0.01 0.001
Grain size (mm.)

Figure 12 Gradation of liquefied soil plotted in liquefiable range

0.5 g

0.4 g

0.3 g
0.2 g

0.1 g

Top crust
-2 m.
SPT-N = 10
sand layer
-5 m.

Figure 13 The liquefaction potential analysis using Seed’s method

20*20 cm. of column


60*60 cm. of footing
0.80 m. depth of footing

0 m.
Top crust
0.2 m.
None – liquefaction
soil WL. 1 m.
1.2 m.

Maximum settlement 6 cm. Sand layer


and liquefied soil
1.4 m.
End of boring

Figure 14 Foundation settlement due to liquefied soil


72 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

5. Lateral spreading and landslide


14B

Lateral spreading were observed near the river or stream channel (Fig 15) and also the new filled soil area
(Fig 16). Landslide was not observed, even though the mountainous area located within 20 km from epicenter
(Fig 17). Only some rock fall was seen.

Figure 15 Lateral spreading observed near the river or stream channel

Old river
bank

Figure 16 Lateral spreading observed at new filled soil area


6. Dam behavior
15B

Fig 18 shows the location of dams over the seismic hazard zone of Thailand. One large dam (50 m high) and
several small dams are located within 20 km from the epicenter (Fig 19). All of them performed well since it has
been designed to resist the seismic force using pseudo static method. The previous work of [9] found that most
of the small and medium sizes dams own by Royal Irrigation Department are quite safe to seismic force (Fig 20).
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 73

Small longitudinal and transverse cracks were found but none of them leak (Fig 21). One large dam called Mea
Suew get serious concerns from the public. It’s a composite dam, consist of RCC spillway section at the center
and side by earth dam. So far, no serious damage was observed.

Figure 17 Landslide potential area

Figure 18 Dam locations plotted over the seismic hazard zone of Thailand
74 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

Figure 19 Dam location within 20 km radius

20

15
Dam height (m)

10

-5

-10
-85 -80 -75 -70 -65 -60 -55 -50 -45 -40 -35 -30 -25 -20 -15 -10 -5 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55

Distance (m)

40

35

30
Dam height (m)

25

20

15

10

-5
-100 -95 -90 -85 -80 -75 -70 -65 -60 -55 -50 -45 -40 -35 -30 -25 -20 -15 -10 -5 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60 65 70 75

Distance (m)

Figure 20 Seismic deformation analysis of medium and small dam, [9]


16B

Figure 21 Small longitudinal and transverse cracks


17B

7. Conclusion
18B

7.1 Most of the damage occurred to the structure that has not been designed to resist the earthquake
force. Enforcement of small building for adequate seismic design may need to be reconsidered.
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 75

7.2 Ground rupture, liquefaction and lateral spreading were observed but caused minor damage. However,
these phenomena bring serious attention to the preventive design to prevent the serious damage in the future
especially from liquefaction.
7.3 Dams performed quite well since the design standard is already concern about the seismic force.

Acknowledgements
19B

The authors would like to thank seismological Bureau department, Thai meteorological department for
supporting earthquake information. Special thanks to Department of public works, Royal irrigation department and
Engineering institute of Thailand.

References
20B

[1] Department of Mineral Resource. (2005). Seismic hazard zone in Thailand (in map). Bangkok, Thailand.
[2] Ornthammarath et al., (2010). “Probabilistic seismic hazard assessment for Thailand”. Bull Earthquake Eng. DOI10.1007/s10518-
010-9197-3.
[3] Thai Meteorological Department, Seismological Bureau, Bangkok Thailand.
[4] Sadigh, K., Chang, C.-Y., Egan, J.A., Makdisi, F., and behavior and Youngs, R.R., (1997). “Attenuation relationships for shallow
crustal earthquakes based on Califirnia strong motion data”: Seismological Research Letters., v. 68, p. 180-189.
[5] Department of Mineral Resource. (2005). Active faults in Thailand (in map). Bangkok, Thailand.
[6] Fenton, C.H., Charusiri, P., and Wood, S.H. (2003). “Recent paleoseismic investigations in northern and western Thailand”.
Annuals of Geophysics, v. 46, pp. 957–981.
[7] Department of Groundwater Resource. (2009). Bangkok, Thailand.
[8] Seed. H.B and Idriss. I.M. (1971). “Simplified Procedure for Evaluating Soil Liquefaction Potenial”, J. Soil Mechanics and
Foundations Div., ASCE, 97:SM9, 1249-1273.
[9] Soralump and Kumma (2010), “The Influence of Dam Components and Their Properties of Small and Medium Earth Dams in
Thailand on Their Stability during Earthquake” Department of Civil Engineering. Thesis, Kasetsart University, Thailand.
76 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 77

ผลจากคุณลักษณะของชั้นดินบริเวณที่ตั้งต่อการสั่นสะเทือนในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ
จากแผ่นดินไหววันที่ 5 พฤษภาคม 2557
Effects of Local Site Characteristics on Ground Shakings in the Affected Areas
after 5 May 2014 Earthquake

นคร ภู่วโรดม1 และ อมรเทพ จิรศักดิ์จารูญศรี2


1
รองศาสตราจารย์, ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2
นักศึกษาปริญญาเอก, ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Nakhorn Poovarodom1 and Amorntep Jirasakjamroonsri 2


1
Associate Professor, Department of Civil Engineering, Faculty of Engineering, Thammasat University
2
Graduate Student, Department of Civil Engineering, Faculty of Engineering, Thammasat University

บทคัดย่อ
แผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 ที่จังหวัดเชียงรายสร้างความเสียหายต่ออาคารจานวนมากกว่า 10,000 หลังที่ส่วนใหญ่เป็น
อาคารขนาดเล็กและไม่ได้รับการออกแบบตามหลักวิศวกรรม โดยความเสียหายส่วนใหญ่เกิดในพื้นที่ใกล้กับจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว
นอกจากนั้นแล้วอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กของโรงเรียนหลายแห่งได้รับความเสียหายอย่างรุนแรง โดยมีรายงานของความเสียหายของ
อาคารจานวนมากในบางพื้นที่ที่อยู่ห่างออกไปในระยะ 25 กิโลเมตร บริเวณที่ได้รับผลกระทบมีลักษณะเป็นพื้นที่ราบสลับเชิงเขา
ผลกระทบจากชั้นดินบริเวณที่ตั้งจึงเป็นปัจจัยสาคัญต่อคุณลักษณะของการสั่นสะเทือนเนื่องจากแผ่นดินไหวที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่
อย่างไรก็ดีข้อมูลด้านนี้ยังไม่มีการศึกษาไว้ งานวิจัยนี้ทาการศึกษาผลดังกล่าวด้วยการสารวจคุณสมบัติของชั้นดินด้วยการตรวจวัดคลื่น
ขนาดเล็กที่ผิวดินและการวิเคราะห์ผลตอบสนองของพื้น โดยทาการสารวจหาค่าคาบอิทธิพลหลักด้วยวิธี H/V spectral ratio และ
ความเร็วคลื่นเฉือนด้วยวิธี Spatial Autocorrelation เป็นจานวน 10 ตาแหน่ง โดยผลพบว่าค่าคาบอิทธิพลหลักมีค่าอยู่ในช่วง 0.2
ถึง 0.7 วินาที และความเร็วคลื่นเฉือนเฉลี่ยจากผิวถึงระดับความลึก 30 เมตร มีค่าประมาณ 220 ถึง 400 เมตรต่อวินาที ส่วนผลจาก
การวิเคราะห์แผ่นดินไหวที่ตาแหน่งต่าง ๆ พบว่าค่าความเร่งตอบสนองเชิงสเปกตรัมสาหรับบริเวณภายในรัศมี 10 กิโลเมตร มีค่าสูง
กว่า 1.0g ผลการประเมินการขยายขนาดคลื่นแผ่นดินไหวได้ใช้พิจารณาร่วมกับลักษณะการกระจายตัวของความเสียหายของอาคารใน
แต่ละพื้นที่ ซึ่งผลได้แสดงว่าความเสียหายต่อโครงสร้างในพื้นที่ที่เป็นบริเวณดินอ่อนกว่าและอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวไกล
กว่า อาจมีความรุนแรงมากกว่าพื้นที่ที่ตั้งอยู่บนดินแข็งที่ตั้งอยู่ในระยะที่ใกล้กว่า
คาสาคัญ : ผลกระทบบริเวณทีต่ ั้ง, คลื่นขนาดเล็กบนผิวดิน, การวิเคราะห์ผลตอบสนองของพื้นดิน, การกระจายตัวของอาคารที่
เสียหาย
Abstract
The May 5, 2014 Chiangrai Earthquake caused damages to more than 10,000 buildings, most of them were small
and non-engineering designed houses, localized in the affected area. In addition, a number of reinforced concrete
school buildings suffered heavily damages. It was preliminary reported that intense damages were observed in
some areas within 25 kilometers distance. The affected areas consist of mixed terrains of flat plains and hills.
Local site effects of the area could play an important roles in ground shaking characteristics of each site but such
information had not been studied. This research investigates the seismic site effects by microtremor surveys for
site characteristics and ground response analysis. Predominant periods and shear wave velocity of a sites were
obtained by H/V spectral ratio and Spatial Autocorrelation techniques. Observations were conducted for 10 sites.
The predominant periods ranged from 0.2 to 0.7 seconds and the average shear wave velocities from surface to
30 m depth were about 220 to 400 m/s. Site response analysis yielded spectral acceleration higher than 1.0g in
the area within 10 kilometers from the epicenter. Amplification characteristics and their correlation with damage
distributions were discussed. It was evident that damages of structures founded on relatively soft soil and located
away from the epicenter were more severe than some areas situated on stiff soil and located in closer distance.
KEYWORDS: Site effects, Microtremor, Site response analysis, Damage distribution of buildings
บทความนี้จะส่งเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารวิศวกรรมสาร ฉบับวิจัยและพัฒนาต่อไป
78 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

1. บทนา
ระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหวที่ทาให้เกิดความเสียหายต่ออาคารและสิ่งปลูกสร้างที่บริเวณหนึ่ง ๆ ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก 2
ประการคือ (1) ระดับความรุนแรงของการสั่นสะเทือนของพื้นดิน ณ บริเวณที่ตั้งนั้น โดยในส่วนนี้หลักสาคัญหนึ่งคือ คุณลักษณะของ
ชั้นดินบริเวณที่ตั้ง (Local site characteristics หรือ Local site effects) ซึ่งค่าที่จาเป็นต่อการศึกษาได้แก่ ค่าคาบธรรมชาติ หรือ
คาบอิ ท ธิ พ ลหลั ก (Natural Period or Predominant Period) และ ค่ า ความเร็ ว คลื่ น เฉื อ น (Shear wave velocity) ของชั้ น ดิ น
ร่วมกับลักษณะทางภูมิประเทศและธรณีเทคนิคอื่น ๆ ของบริเวณนั้น ๆ ทั้งนี้เนื่องจากเมื่อเกิดแผ่นดินไหวขึ้น ชั้นดินอาจสามารถขยาย
ขนาดคลื่นและเพิ่มระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหวเมื่อเทียบกับคลื่นที่เริ่มแพร่ออกจากชั้นหิน และ (2) คุณลักษณะของอาคารด้าน
การตอบสนองต่อแรงแผ่นดินไหว หรือคุณสมบัติเชิงพลศาสตร์ ของอาคาร ตามหลักของพลศาสตร์โครงสร้างที่อาคารอาจตอบสนอง
รุนแรงหากอาคารนั้นมีจังหวะการสั่นตามธรรมชาติของตัวเอง (หรือคาบธรรมชาติ) ใกล้กับคาบการสั่นของคลื่นแผ่นดินไหว รวมทั้ง
อาคารอาจเกิดรูปแบบการตอบสนองด้วยลักษณะเฉพาะ เช่นการบิดตัว หรือการที่เกิดแรงในบางชิ้นส่ว นขึ้นสูงมาก หากมีลักษณะการ
กระจายของมวลและความแข็งแกร่งของอาคารที่ไม่สม่าเสมอตลอดโครงสร้างอาคาร ด้วยปัจจัยหลัก 2 ประการดังกล่าวนี้ แผ่นดินไหว
สามารถทาให้เกิดผลกระทบที่รุนแรงที่บริเวณหนึ่ง ๆ และกับกลุ่มอาคารหนึ่ง ๆ ได้
เหตุ ก ารณ์แ ผ่นดิ นไหววั น ที่ 5 พฤษภาคม 2557 ที่ จั งหวั ด เชี ยงรายก่ อ ให้ เกิ ดความเสีย หายกับ อาคารโดยรอบจุ ดศูน ย์กลาง
แผ่นดินไหวเป็นวงกว้าง โดยมีรายงานความเสียหายซึ่งสารวจโดยศูนย์ประสานงานเพื่อตรวจสอบอาคารเนื่องจากภัยพิบัติแผ่นดินไหว
จังหวัดเชียงราย (ศปอ.) กรมโยธาธิการและผังเมือง [1] ที่แสดงว่า มีอาคารที่เสี ยหายจานวนมากในบริเวณใกล้กับจุดศูนย์กลาง
แผ่นดินไหวภายในรัศมีประมาณ 5 ถึง 10 กิโลเมตร โดยเฉพาะตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว ที่มีอาคารบ้านเรือนขนาดเล็กจานวนมาก
รวมทั้งอาคารโรงเรียนคอนกรีตเสริมเหล็กเสียหายอย่างรุนแรง นอกจากนั้น ที่ระยะทางห่างออกไปประมาณ 25 กิโลเมตร ได้เกิดความ
เสียหายต่ออาคารโรงเรียนคอนกรีตเสริมเหล็ก 4 ชั้นที่บริเวณตาบลเมืองพาน อาเภอพาน โดยความเสียหายที่เกิดขึ้นอย่างรุนแรงที่
ระยะทางไกล และเกิดกับอาคารขนาดใหญ่เช่นนี้ ปัจจัยของชั้นดินบริเวณที่ตั้งที่ทาให้เกิดการปรับเปลี่ยนลักษณะของคลื่นแผ่นดินไหว
รวมถึงคุณสมบัติของอาคาร อาจเป็นสาเหตุหลักให้เกิดความเสียหายที่รุนแรงเช่นนี้ได้ อย่างไรก็ตามข้อมูลดังกล่าวยังไม่ได้มีการ
ทาการศึกษาไว้ในพื้นที่ที่ประสบเหตุแผ่นดินไหว งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทาการสารวจคุณลักษณะของชั้นดินบริเวณที่ตั้ง แล้วใช้
สร้างแบบจาลองวิเคราะห์เพื่อประเมินการสั่นสะเทือนที่พื้นที่ต่าง ๆ และอภิปรายควบคู่กับผลสารวจความเสียหายที่กระจายตัวอยู่
โดยรอบจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว วิธีที่ใช้สารวจคุณลักษณะของชั้นดินบริเวณที่ตั้งคือการตรวจวัดคลื่นขนาดเล็กบนพื้นดิน เนื่องจาก
เป็นการดาเนินการสารวจที่ผิวดินและไม่ต้องเจาะหลุมสารวจ จึงทาให้ดาเนินการได้อย่างรวดเร็วและประหยัด อีกทั้งสามารถสารวจได้
ในระดับความลึกที่มากได้อีกด้วย การวิเคราะห์เพื่อประเมินการสั่นสะเทือนของพื้นดินใช้การคานวณแบบเชิงเส้นเทียบเท่า โดย
ทาการศึกษาในพื้นที่ชุมชนหลักที่ได้รับผลกระทบ

2. วิธีการศึกษา
2.1 วิธีการตรวจวัดคลื่นขนาดเล็กบนพื้นดิน
คลื่นขนาดเล็กบนพื้นดิน (Microtremor) เกิดจากการสั่นสะเทือนขนาดต่าที่มาจากธรรมชาติ เช่น การขยับตัวขององค์ประกอบ
ใต้ดิน คลื่นในทะเล ลมพัด และจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ วิธีการตรวจวัดคลื่นขนาดเล็กบนพื้นดินใช้สาหรับการสารวจคุณลักษณะ
ของชั้นดินด้านล่างได้ ซึ่งมีประโยชน์สาหรับการประเมินผลกระทบบริเวณที่ตั้ง เทคนิคที่ใช้ในการศึกษานี้มี 2 วิธีคือ คือ วิธีการตรวจวัด
คลื่นขนาดเล็กบนพื้นดิน 1 จุด และวิเคราะห์ด้วยวิธี Horizontal to Vertical Spectral Ratio (H/V) (Nakamura 1989 [2]) เพื่อ
ประมาณค่าคาบอิทธิพลหลักของชั้นดิน โดยการตรวจวัดองค์ประกอบของคลื่นแนวราบและแนวดิ่งที่ตาแหน่งหนึ่ง ๆ ค่าคาบอิทธิพล
หลักประเมินได้จากอัตราส่วนระหว่าง Fourier Spectra ของคลื่นในแนวราบ ต่อ Fourier Spectra ของคลื่นในแนวดิ่ง หรือ H/V
Spectral Ratio ดังสมการที่ 1

H / V (T ) 
FX (T )  FY (T ) (1)
FZ (T )

โดยที่ F (T ) , F (T ) คือ Fourier Amplitude Spectra ของคลื่นในแนวราบจานวน 2 ทิศทางที่ตั้งฉากกัน และ F (T ) คือ


X Y Z

Fourier Amplitude Spectra ของคลื่นในแนวดิ่ง ซึ่งค่าคาบที่ตาแหน่งยอดแหลมของกราฟ H/V Spectral Ratio เป็นค่าคาบอิทธิพล


หลักของชั้นดิน
วิธีที่สองคือ การตรวจวัดคลื่นขนาดเล็กบนพื้นดินแบบโครงข่าย (Array) โดยใช้เทคนิค Spatial Autocorrelation หรือ SPAC
(Aki 1957 [3], Okada 2003 [4]) สาหรับการสารวจคุณลักษณะของความเร็วเฟส (Phase Velocity) ซึ่งวิธีนี้ใช้สาหรับการตรวจวัด
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 79

องค์ประกอบของคลื่น ในแนวดิ่งหลายตาแหน่ งพร้อมกัน ในรู ปแบบของโครงข่าย เพื่อให้ได้ข้อมูลการแพร่กระจายของคลื่ น เลย์


(Rayleigh Wave) ในแต่ ล ะทิ ศทางการเคลื่อ นผ่า นของคลื่นที่ เกิ ดแบบสุ่ ม จากนั้ น ค านวณความสอดคล้องของสเปกตรัมสาหรับ
เครื่องมือตรวจวัดคู่หนึ่งๆ โดยที่ทราบระยะทางระหว่างเครื่องมือตรวจวัด และนามาคานวณคุณลักษณะของความเร็วเฟส จากนั้นทา
การหาค่ า เฉลี่ ย ส าหรั บ คู่ ข องเครื่ อ งมื อ ตรวจวั ด ที่ มี ร ะยะเท่ า กั น แต่ มี ว างในทิ ศ ต่ า งกั น เพื่ อ ให้ ไ ด้ ค่ า Spatial Autocorrelation
Coefficient  (; r ) ดังสมการที่ 2

 r  (2)
 (; r )  J 0  
 C ( ) 

โดยที่ r คือ ระยะทางระหว่างเครื่องมือตรวจวัด,  คือ ความถี่ของคลื่นตรวจวัดได้, J คือ เบสเซลฟังก์ชันประเภทแรกลาดับที่


0

ศูนย์ และ C คือ ความเร็วเฟสสาหรับคลื่นเลย์ประจาโหมดพื้นฐาน จากคุณสมบัติ Dispersive ของคลื่นที่การแพร่กระจายพลังงาน


ของคลื่นมีความเร็วหนึ่งค่าสาหรับแต่ละความถี่ ความเร็วเฟส Ci สามารถคานวณได้ดังสมการที่ 3

 2fi 
Ci   
 (3)
 Xi 

โดยที่ fi คือความถี่ใด ๆ (i) จาก SPAC Coefficient และค่า X i คือ ตาแหน่งในแกนราบของฟังก์ชันเบสเซลประเภทแรก


ลาดับที่ศูนย์ ที่มีค่าในแกนดิ่งเท่ากับค่า SPAC Coefficient
แผนผังแสดงลาดับการวิเคราะห์แสดงตามรูปที่ 1 โดยเริ่มจาก (a) ทาการคานวณค่า Spatial Autocorrelation Coefficient
สาหรับระยะห่างระหว่างหัววัดหนึ่ง ๆ ซึ่งในรู ปนี้คือ 15 เมตร โดยที่เส้นประแสดงค่าที่ได้จากแต่ละทิศทาง และเส้นทึบแสดงค่าเฉลี่ย
(b) ทาการคานวณค่าสาหรับระยะห่างอื่น ๆ ในรูปพบว่า สาหรับระยะห่างหัววัดน้อย ๆ SPAC coefficient มีค่าใกล้เคียงกับ 1 หรือ
คลื่นที่วัดได้จากหัววัดทั้ง 2 มีความสัมพันธ์กันมาก และคุณสมบัตินี้ลดลงเมื่อระยะห่างเพิ่มขึ้น แต่รูปร่างของ SPAC coefficient มี
รูปแบบเฉพาะและสอดคล้องกับฟังก์ชันเบสเซล (c) คานวณความเร็วเฟสโดยการเปรียบเทียบ SPAC coefficient กับฟังก์ชันเบสเซล
ตามสมการที่ (3) เพื่อสร้างเป็น Dispersion curve สาหรับข้อมูลของแต่ละระยะห่าง และ (d) ทาการเลือก Dispersion curve จาก
ข้อมูลทั้งหมด และนาไปใช้ในการคานวณย้อนกลับ (Yokoi 2005 [8]) เพื่อคานวณเป็นค่าความเร็วคลื่นเฉือนของชั้นดิน ผลลัพธ์ที่ได้
จากการคานวณย้อนกลับที่ให้ความสอดคล้องกับผลการสารวจแสดงไว้เป็นเส้นสีแดง
80 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

รูปที่ 1 ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล Array Microtremor (a) SPAC Coefficients สาหรับระยะห่างระหว่างหัววัด 15 เมตร (b) SPAC
Coefficients สาหรับทุกค่าระยะห่าง (c) Dispersion Curves จากทุกระยะห่าง และ (d) Dispersion Curves จากการตรวจวัดและ
จากการคานวณย้อนกลับ

2.2 การเก็บข้อมูลภาคสนาม
เครื่องมือที่ใช้สาหรับการเก็บข้อมูลภาคสนามประกอบด้วยส่วนของหัววัดความสั่นสะเทือนขนาดต่ามากในรูปของความเร็ว
(Velocity sensor) ที่มีคุณสมบัติสามารถตรวจวัดในช่วงความถี่ 0.1 ถึง 70 Hz ต่อเชื่อมกับอุปกรณ์รับและแปลงสัญญาณเพื่อเก็บ
ข้อมูลในรูปดิจิตัลที่มีคุณสมบัติของ A/D Converter เท่ากับ 32 บิท ชุดเครื่องมือที่ใช้มีจานวน 3 ชุด โดยที่แต่ละชุดวัดพร้อมกันด้วย
การปรับเวลาให้ตรงกันด้วยนาฬิกาจาก GPS ที่มีความละเอียด 1/100 วินาที ในทุกตาแหน่งที่ตรวจวัดมีการตรวจสอบช่วงความถี่ที่
สามารถใช้งานได้ โดยพิจารณาจากความเข้ากันของสัญญาณความแตกต่างเฟสที่ตรวจวัดจากเครื่องมือแต่ละชุด ซึ่งพบว่า เนื่องจาก
พื้นที่เป็นสภาพดินแข็ง และมีสัญญาณคลื่นที่ผิวดินในระดับต่ามาก ช่วงความถี่ที่ใช้ได้จึงมีค่าสูงกว่า 1 Hz ขึ้นไป (แตกต่างจากบริเวณ
ดินอ่อน เช่น กทม. ที่ความถี่ที่ใช้งานได้ประมาณ 0.3 Hz ขึ้นไป)
รูปแบบที่ใช้ในการเก็บข้อมูลภาคสนามคือวางหัววัดเป็นโครงข่ายแบบสามเหลีย่ มด้านเท่า ซึ่งมีหัววัดจานวน 3 ชุดวางที่มุมของรูป
สามเหลี่ยมและไม่มีหัววัดที่จุดศูนย์กลาง ตัวอย่างของเครื่องมือที่ใช้และการเก็บข้อมูลภาคสนามแสดงดังรูปที่ 2 ขนาดของโครงข่ายมี
ขนาดตั้งแต่ 5 เมตร ถึง 50 เมตร ในการคานวณความเร็วคลื่นเฉือน ระดับความลึกมากที่สุดที่ประเมินได้จากการวิเคราะห์ย้อนกลับได้
กาหนดให้มีค่าไม่เกินกว่าความยาวคลื่นที่วัดได้สูงสุดหารสอง โดยในการศึกษานี้ ความเร็วคลื่นเฉือนตามความลึกประเมินสาหรับค่าที่
ระดับความลึกประมาณ 100 เมตรจากผิวดิน
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 81

รูปที่ 2 เครื่องมือสาหรับการวัดคลื่นขนาดเล็กที่ผิวดินและการเก็บข้อมูลภาคสนาม

2.3 การวิเคราะห์ผลตอบสนองของชั้นดินด้วยวิธีเชิงเส้นเทียบเท่า ด้วยแบบจาลอง 1 มิติ


การวิเคราะห์ผลตอบสนองของชั้นดินใช้เพื่อประเมินขนาดและลักษณะของแผ่นดินไหวที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากสภาพของชั้นดิน
บริเวณที่ตั้ง ขั้นตอนหลักคือการจาลองสภาพของชั้นดินให้มีความเป็นเนื้อเดีย วกันและเรียงตัวเป็น ชั้นที่ไม่มีข อบเขตทางข้า ง มี
คุณสมบัติ viscoelastic และมีการแพร่ในแนวดิ่งจากชั้นล่างสู่ผิวพื้นดินของคลื่นเฉือน ซึ่งวิธีวิเคราะห์ที่รวมพฤติกรรมไร้เชิงเส้ นของ
โมดูลัสเฉือนและความหน่วงของชั้นดินด้วยคือการใช้คุณสมบัติแบบเชิงเส้นเทียบเท่าและการคานวณซ้าเพื่อให้ได้ค่าโมดูลัสเฉือนและ
ความหน่วงที่สอดคล้องกับค่าความเครียดเฉือนประสิทธิผลในแต่ละชั้นดิน ซึ่งงานวิจัยนี้ใช้หลักการวิเคราะห์ผลตอบสนองแบบเชิงเส้น
เทียบเท่า ด้วยแบบจาลองชั้นดิน 1 มิติ โดยโปรแกรม SHAKE 91 (Schnabel et. al., 1972 [5])
พื้นที่ชุมชนของจังหวัดเชียงรายส่วนใหญ่ตั้งอยู่บนที่ราบแอ่งตะกอนขนาดเล็กด้านตะวันออกที่กระจายอยู่ระหว่างแนวเทือกเขา
โดยมีแม่น้าหลักที่ไหลผ่านพื้นที่ราบที่สาคัญคือแม่น้าแม่กกในทางเหนือและแม่น้าแม่ลาวในทางใต้ของจังหวัด ข้อมูลทางธรณีเทคนิคที่มี
ของพื้นที่ราบใกล้แม่น้าแม่ลาวพบว่าจาแนกเป็นชั้นทรายละเอียด (SM) มีความลึก 3-4 เมตร ชั้นถัดลงมาเป็นชั้นดินเหนียว (CL), Silty
gravel (GM-GP) และชั้นดินเหนียวละเอียดถึงชั้นทราย (SC) จากข้อมูลที่มีความลึกถึงระดับ 15 เมตร และไม่มีข้อมูลสาหรับชั้นดินที่
ลึกกว่าระดับดังกล่าว สาหรับการจาลองชั้นดินเพื่อการวิเคราะห์ผลตอบสนองได้ใช้ค่าคุณสมบัติ ไร้เชิงเส้นของชั้นดินคือ ชั้นแรก ความ
หนา 1-2 เมตร ใช้คุณสมบัติชั้นดินที่มีค่า PI=0 (Vucetic, M. and Dobry.,1991) [6] จากนั้นใช้คุณสมบัติของทรายประเภท Upper
sand (Seed, H.B., and Idriss, I.M.,1970) [7] และชั้นหินใช้ค่าของ Schnabel (1973) [8] และในการวิเคราะห์ Transfer function
ได้ทาการวิเคราะห์แบบเชิงเส้น โดยใช้ค่าอัตราส่วนความหน่วงเป็น 5% สาหรับชั้นทราย และ 2% สาหรับชั้นหิน

3. ผลการศึกษาและวิจารณ์ผล
3.1 ผลการสารวจคุณสมบัติของชั้นดินบริเวณที่ตั้ง
การสารวจภาคสนามเพื่อศึกษาคุณสมบัติของคาบอิทธิพลหลักและความเร็วคลื่นเฉือนของชั้นดินในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ ได้
สารวจจานวน 10 ตาแหน่ง ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ชุมชนที่ได้รับผลกระทบชัดเจน รวมถึงที่ อ.แม่จัน และ อ.แม่สาย ที่เป็นพื้นที่ราบลุ่ม
ขนาดใหญ่ แ ละมี สถานี ต รวจวั ด คลื่น แผ่น ดิน ไหวตั้งอยู่ รู ป ที่ 10 แสดงต าแหน่ งของจุ ดที่ ท าการสารวจบริเ วณรอบจุด ศู นย์ กลาง
แผ่นดินไหวแทนด้วยสัญลักษณ์ดอกจันและมีชื่อประจาตาแหน่งเป็นตัวอักษร 4 ตัว ซึ่งแสดงค่าค่าความเร็วคลื่นเฉือนเฉลี่ยจากผิวดินถึง
ความลึก 30 เมตร (Vs30) กากับไว้ นอกจากนั้นรูปที่ 10 ได้แสดงตาแหน่งของ Main shock และ After shock (ข้อมูลจากกรม
อุตุนิยมวิทยา) รวมถึงร้อยละความเสียหายของอาคารที่จะอธิบายในหัวข้อ 3.4 ต่อไป
82 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

ตารางที่ 1 แสดงค่าความเร็วคลื่นเฉือนเฉลี่ยจากผิวดินถึงความลึก 30 เมตร (Vs30) และค่าคาบอิทธิพลหลัก (Tp) จากการสารวจ


ซึ่งค่าที่ได้นี้นาไปใช้วิเคราะห์ผลตอบสนองของชั้นดินรวม 6 จุด (ยกเว้น LIQD และ SANY ที่ผลการวิเคราะห์ขาดความเชื่อมั่นว่าถูกต้อง
ดีพอ และ MJAN และ MSAI ที่เป็นบริเวณที่ไม่มีรายงานความเสียหายกับอาคาร) และตารางที่ 1 แสดงค่าความเร่งตอบสนองเชิง
สเปกตรัม และค่ากาลังขยายสูงสุด ไว้สาหรับหัวข้อที่ 3.2 และ 3.3 ต่อไป
โดยที่ค่า Vs30 มีค่าอยู่ในช่วง 220 ถึง 400 เมตรต่อวินาที เมื่อแบ่งกลุ่มผลเพื่อการอธิบายออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีลักษณะ
ของชั้นดินเป็นชั้นดินอ่อนกว่า ที่มีค่า Vs30 ต่ากว่า 300 เมตรต่อวินาที และกลุ่มที่เป็นดินแข็งกว่า ที่มีค่า Vs30 สูงกว่า 300 เมตรต่อ
วินาที ส่วนค่าคาบอิทธิพลหลักมีค่าอยู่ในช่วง 0.2 ถึง 0.45 วินาที ยกเว้นที่ตาแหน่ง MJAN ซึ่งเป็นตาแหน่งที่ตั้งอยู่บนชั้นดินตะกอน
หนาและใกล้กับบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่น

ตารางที่ 1 ตารางสรุปผลการสารวจค่าความเร็วคลื่นเฉือนเฉลี่ย 30 เมตร ค่าคาบอิทธิพลหลัก และผลการวิเคราะห์ค่าความเร่ง


ตอบสนองเชิงสเปกตรัม และค่ากาลังขยายสูงสุด
ชื่อ ตาแหน่ง Vs30 (m/s) Tp H/V (s) SAMax (g) AmplificationMax Tp Trans. Fn.
MLAO รร. แม่ลาววิทยาคม 348 0.32 1.13 2.17 0.35
MADA อบต. ดงมะดะ 384 N.A. 1.34 1.94 0.27
LIQD บ.ดงมะดะ 352 0.21 N.A. N.A. N.A.
SANY รร. บ้านห้วยส้านยาว 393 N.A. N.A. N.A. N.A.
LANN มทร. ล้านนา 400 0.27 0.87 2.22 0.22
SAIK รร. บ้านทรายขาว 280 0.32 0.92 2.28 0.33
PANS รร. พานพิทยาคม 247 0.21, 0.73 0.31 1.58 0.3, 0.73
SIAM อ.เมือง 221 0.45 0.58 2.32 0.44
MJAN อ.แม่จัน 217 0.71 N.A. N.A. 0.50
MSAI อ.แม่สาย 296 0.43 N.A. N.A. 0.42

เมื่อพิจารณาความเร็วเฟสที่ขึ้นอยู่กับความถี่ของแต่ละบริเวณแสดงดังรูปที่ 3 จากผลการวิเคราะห์พบว่า ความยาวคลื่นที่ยาว


ที่สุด มีค่ามากกว่า 200 เมตรสาหรับทุกบริเวณ ดังนั้น ในการคานวณย้อนกลับเพื่อหาความลึกของชั้นดินในแต่ละบริเวณสามารถ
ประเมินความลึกได้ถึง 100 เมตร หรือมากกว่า

(a) (b)
รูปที่ 3 Dispersion Curve สาหรับบริเวณทีส่ ารวจ; (a) บริเวณดินอ่อน, และ (b) บริเวณดินแข็ง

ความเร็วคลื่นเฉือนตามความลึกที่คานวณได้จากการคานวณย้อนกลับแสดงดังรูปที่ 4 โดยทั่วไปความเร็วคลื่นเฉือนมีค่าเพิ่มขึ้นใน
ชั้นดินที่ลึกขึ้น และที่ระดับความลึกประมาณ 20-30 เมตร ค่าความเร็วคลื่นเฉือนเพิ่มขึ้นอย่างฉับพลัน เป็นค่าประมาณ 1000 เมตรต่อ
วินาทีหรือมากกว่า ซึ่งถือว่าเป็นความลึกของชั้นหินเสมือนของตาแหน่งนั้น ยกเว้นที่ตาแหน่ง PANS, MJAN และ SIAM ซึ่งมีลักษณะ
ของ Vs30 ที่ต่ากว่าและระดับของชั้นหินเสมือนที่มีความลึกมากกว่า อันคาดว่าตั้งอยู่ในบริเวณแอ่งตะกอนที่ลึกกว่า รูปที่ 4(a) แสดง
ความเร็วคลื่นเฉือนตามความลึกสาหรับบริเวณดินอ่อน รูปที่ 4(b) แสดงความเร็วคลื่นเฉือนตามความลึกสาหรับบริเวณดินแข็ง โดย
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 83

สั งเกตได้ ว่ า ความเร็ ว คลื่น เฉื อ นตามความลึก อาจมีลั ก ษณะที่ แ ตกต่ างกั น อย่ า งมากถึ งแม้ ค่า เฉลี่ย Vs30 มี ค่ า ใกล้ เ คี ย งกั น ก็ตาม
ตัวอย่างเช่นบริเวณ PANS, SIAM และ SAIK เป็นต้น
Shear Wave Velocity,m/s Shear Wave Velocity,m/s
0 500 1000 1500 2000 0 1000 2000 3000
0 0

10
(a) 5
(b)
20 10

30 15

40 20
Depth,m

Depth,m
50 25

60 30
SAIK LANN
70 35
PANS MADA
80 MJAN 40 MLAO

MSAI LIQD
90 45
SIAM SANY
100 50

รูปที่ 4 ความเร็วคลื่นเฉือนตามความลึก; (a) บริเวณดินอ่อน, และ (b) บริเวณดินแข็ง

3.2 ผลการวิเคราะห์ Transfer function


Transfer function คืออัตราส่วนของค่าผลตอบสนองต่อค่าการสั่นไหวที่ป้อนเข้าไปที่คาบการสั่นต่าง ๆ ซึ่งใช้สาหรับอธิบาย
ลักษณะการตอบสนองของระบบที่ถูกกระตุ้น โดยสาหรับชั้นดินที่ศึกษา สามารถใช้อธิบายลักษณะการขยายค่าของคลื่นแผ่นดินไหวคือ
ขนาดของการขยายค่าและคาบการสั่นที่คลื่นถูกขยาย ความเร็วคลื่นเฉือนตามความลึกที่ได้จากการสารวจของแต่ละบริเวณ ได้นามาใช้
สร้างแบบจาลองชั้นดินเพื่อประเมิน Transfer Function ของการแพร่กระจายของคลื่นในแนวดิ่งโดยโปรแกรม SHAKE (Schnabel
1972 [7]) และผลการวิเคราะห์แสดงดังรูปที่ 5a สาหรับชั้นดินอ่อน และ 5b สาหรับชั้นดินแข็ง แสดงถึงการสั่นสะเทือนจะถูกขยาย
ชัดเจนที่หลายคาบการสั่น สาหรับคาบการสั่นหลัก Tp จากยอดแหลมของ Transfer Function ของแต่ละบริเวณแสดงไว้ในตารางที่ 1
ซึ่ง Tp จากการวิเคราะห์มีค่าใกล้เคียงกับค่าที่ตรวจวัดโดยวิธี H/V
สาหรับชั้นดินอ่อน คาบโหมดพื้นฐานมีค่ายาวที่สุดประมาณ 0.73 วินาทีที่บริเวณ PANS, 0.5 วินาทีที่บริเวณ MJAN, 0.44 วินาที
ที่บริเวณ SIAM, 0.42 วินาทีที่บริเวณ MSAI และ 0.33 วินาทีที่บริเวณ SIAK และบริเวณที่อยู่ในพื้นที่ดินแข็งมีค่าคาบสั้นกว่า โดยที่ค่า
คาบที่สั้นที่สุดมีค่าประมาณ 0.22 วินาทีที่บริเวณ LANN, ประมาณ 0.27 วินาทีที่บริเวณ SANY, LIQD และ MADA และ 0.35 วินาทีที่
บริเวณ MLAO นอกจากนี้ค่าอัตราการขยายกาลังของแต่ละบริเวณสามารถทราบได้จาก Transfer Function ซึ่งบริเวณที่มีอัตราการ
ขยายกาลังที่มาก เป็นผลมาจากความแตกต่างกันมากของค่า Vs ระหว่างชั้นหินเสมือนและชั้นดิน ตัวอย่างเช่น บริเวณ LIQD, SANY
และ SAIK
สาหรับบริเวณที่มีค่าคาบยาว เช่น 0.73 วินาทีที่บริเวณ PANS (บริเวณดินอ่อน) และ 0.35 วินาทีที่บริเวณMLAO (บริเวณดิน
แข็ง) ปัญหาการสั่นพ้อง (Resonant) ของอาคารที่มีค่าคาบธรรมชาติใกล้เคียงกับค่าดังกล่าวจึงอาจเป็นปัญหาที่เกิดการสั่นสะเทือน
อย่างรุนแรงกับอาคารนั้นได้
84 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

6.00 8.00
SAIK
(a) SAIK
7.00
(b) LANN

5.00 MJAN PANS SANY MADA

SIAM MJAN 6.00 MLAO


MSAI LIQD
Amplification

Amplification
4.00 MSAI LIQD
5.00 MLAO
SIAM SANY
3.00
PANS 4.00
3.00
2.00
2.00
1.00
1.00
MADA LANN
0.00 0.00
0.10 1.00 0.10 1.00
Period,second Period,second

รูปที่ 5 Transfer Function; (a) บริเวณดินอ่อน, และ (b) บริเวณดินแข็ง

3.3 การประเมินค่าความเร่งตอบสนองเชิงสเปกตรัมที่ชั้นผิวดิน
การสั่นสะเทือนที่พื้นดินที่เป็นผลจากแผ่นดินไหววันที่ 5 พฤษภาคม 2557 สาหรับพื้นที่ต่าง ๆ เป็นข้อมูลที่สาคัญแต่ยังขาดอยู่
เนื่องจากไม่มีสถานีบันทึกคลื่นแผ่นดินไหวที่ตาแหน่งที่ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวไว้ การศึกษาในส่วนนี้เป็นความพยายามที่จะ
ประเมินลักษณะของแผ่นดินไหวที่แต่ละบริเวณที่ได้ทาการสารวจคุณสมบัติของชั้นดิน โดยจาลองชั้นดินด้วยค่าความเร็วคลื่นเฉือนตาม
ความลึกจนถึงระดับชั้นหินเสมือนของแต่ละบริเวณแล้วทาการคานวณการสั่นสะเทือนที่พื้นดินเนื่องจากการแพร่ขึ้นของคลื่นที่ป้อนที่
ชั้นหินเสมือนด้านล่าง ซึ่งคลื่นที่ใช้ป้อนนี้ได้จากคลื่นตั้งต้นที่ตรวจวัดได้จากสถานีอ่างเก็บน้าแม่ปีม จังหวัดพะเยา ที่มีระยะห่ างจาก
แหล่งกาเนิดแผ่นดินไหววันที่ 5 พฤษภาคม 2557 ประมาณ 48 กิโลเมตร แล้วทาการแปลงเป็นคลื่นที่ชั้นหินที่บริเวณต่าง ๆ ด้วย
ความสัมพันธ์ระหว่างค่าสูงสุดของความเร่งกับระยะห่างจากแหล่งกาเนิดโดย Boore & Atkinson (2008) โดยกาหนดค่าความเร็วคลื่น
เฉือน Vs30 = 520 เมตรต่อวินาที ประเภทการเคลื่อนตัวของรอยเลื่อนแบบ Strike-Slip และขนาดของแผ่นดินไหวเท่ากับ 6.10 จาก
คลื่นที่สถานีอ่างเก็บน้าแม่ปีมที่มีค่าสูงสุดของความเร่งเท่ากับ 0.067g บริเวณที่ทาการปรับขนาดคลื่นคือที่ระยะทางจากศูนย์กลาง 5
กิโลเมตร (ใช้สาหรับบริเวณ MADA และ MLAO) 10 กิโลเมตร (สาหรับ LANN และ SAIK) และ 25 กิโลเมตร (สาหรับ SIAM และ
PANS) ได้ค่าความเร่งสูงสุดที่ชั้นหินเท่ากับ 0.228g, 0.158g และ 0.090g ตามลาดับ อย่างไรก็ตามการปรับเฉพาะขนาดของคลื่น
เท่านั้นเป็นเพียงสมมุตฐานที่สามารถทาได้ โดยยังขาดความถูกต้องขององค์ประกอบความถี่ในคลื่นซึ่งไม่สามารถปรับได้ รูปที่ 6 แสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางกับค่าความเร่งสูงสุดจากความสัมพันธ์การลดทอนของคลื่นที่ใช้
1

0.228
0.158
0.090
0.1
Median PGA (g)

0.01

Boore&Atkinson (2008)
0.001
0.50 5.00 50.00
DistanceRub DistanceJB (km)

รูปที่ 6 การลดทอนของค่าความเร่งที่ชั้นหินสูงสุดตามระยะทางสาหรับบริเวณที่ศึกษา

จากคลื่นแผ่นดินไหวบนพื้นที่วิเคราะห์ได้จากวิธีเชิงเส้นเทียบเท่าแบบ 1 มิติ นามาใช้คานวณค่าความเร่งตอบสนองเชิงสเปกตรัม


(SA) สาหรับอัตราส่วนความหน่วง 5% สาหรับคลื่นใน 2 แนวคือ E และ N และเปรียบเทียบกับค่า SA ตามมาตรฐาน มยผ.1302
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 85

สาหรับ อ.แม่ลาว และ อ.พาน ของดินประเภท D ได้ผลดังรูปที่ 7 สาหรับบริเวณ MADA และ MLAO รูปที่ 8 สาหรับบริเวณ LANN
และ SAIK และรูปที่ 9 สาหรับบริเวณ SIAM และ PANS

(a) (b)

รูปที่ 7 SA สาหรับบริเวณ MADA และ MLAO; (a) คลื่นในแนว E และ (b) คลื่นในแนว N

(a) (b)

รูปที่ 8 SA สาหรับบริเวณ LANN และ SAIK; (a) คลื่นในแนว E และ (b) คลื่นในแนว N

(a) (b)

รูปที่ 9 SA สาหรับบริเวณ PANS และ SIAM; (a) คลื่นในแนว E และ (b) คลื่นในแนว N

จากผลการวิเคราะห์ SA พบว่า สาหรับบริเวณ MLAO และ MADA ซึ่งเป็นพื้นที่ที่อยู่ห่างจากศูนย์กลางแผ่นดินไหวประมาณ 5


กิโลเมตร มีค่า SA สูงสุดประมาณ 1.2g ที่คาบประมาณ 0.4 วินาทีและมีอัตราการขยายกาลังของคลื่นสูงสุดประมาณ 2 เท่า ส่วน
บริเวณห่างออกไปที่ LANN และ SAIK มีค่า SA มีค่าสูงสุดประมาณ 1.0gที่คาบประมาณ 0.4 วินาที และอัตราการขยายกาลังของคลื่น
ประมาณ 2 เท่า โดย SA ของ SAIK มีค่าสูงกว่าเนื่องจากลักษณะของดินที่มีค่า Vs ต่ากว่า สาหรับบริเวณ SIAM และ PANS มีค่า SA มี
86 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

ค่าสูงสุด 0.6 และ 0.4g ตามลาดับ และอัตราการขยายกาลังของคลื่นอยู่ในช่วง 1.5-2 เท่า ค่า SA สรุปในตารางที่ 1 โดยค่า SA ที่
วิเคราะห์สาหรับพื้นที่ในรัศมี 10 กิโลเมตรมีค่าสูงกว่าค่าตามมาตรฐาน มยผ. 1302 อย่างมีนัยสาคัญ

3.4 ลักษณะการกระจายตัวของอาคารที่เสียหาย
จากการสารวจลักษณะความเสียหายของอาคารพบว่า อาคารส่วนใหญ่ที่เสียหายเป็นบ้านขนาดเล็กที่ไม่ได้ออกแบบและก่อสร้าง
ตามหลักวิศวกรรมอย่างเหมาะสม แต่มีบางส่วนเป็นอาคารขนาดใหญ่ เช่น โรงเรียนและสานักงานทางราชการ ที่เสียหายรุนแรงเช่นกัน
ความเสียหายที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เป็นผลมาจากวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง หรือกระบวนการก่อสร้างมีคุณภาพต่า นอกจากนี้ รูปแบบของ
อาคารที่ไม่เหมาะสม เช่น อาคารที่มีมวลมาก มีลักษณะชั้นอ่อน (Soft Story) เสาสั้น (Captive Column) และความไม่สม่าเสมอเชิง
การบิด (Torsional Irregularity) ปัจจัยเหล่านี้เป็นสาเหตุหลักที่ทาให้อาคารเกิดความเสียหาย อาคารโรงเรียนที่สร้างแบบคอนกรีต
เสริมเหล็กขนาด 2 ถึง 4 ชั้น หลายแห่งได้รับความเสียหายอย่างหนัก เนื่องจากอาคารเหล่านี้ถูกก่อสร้างก่อนที่จะมีกฎกระทรวงสาหรับ
การออกแบบอาคารต้านทานแผ่นดินไหวปี พ.ศ. 2540
จากรายงานของ ศปอ. ความเสียหายส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นกับอาคารอยู่ในพื้นที่ 45 ตาบลใน 7 อาเภอ ซึ่งอยู่ในรัศมีประมาณ 30
กิโลเมตรจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว จากเหตุการณ์ครั้งนี้ ศปอ. ได้ทาการสารวจและแบ่งประเภทความเสียหายของโครงสร้าง
ออกเป็น 3 ระดับคือ 1) สามารถใช้งานได้โดยปลอดภัย 2) เสียหายบางส่วนรอซ่อมแซม สามารถใช้งานได้ในบริเวณพื้นที่ที่กาหนด 3)
เสียหายรุนแรงและเป็นอันตราย ไม่สามารถใช้งานอาคารได้ ผลการสารวจพบว่า อาคารจานวนมากกว่า 2,500 หลัง จากอาคารทั้งหมด
ที่มีการแจ้งว่าได้รับความเสียหายประมาณ 10,000 หลัง จัดอยู่ในประเภทความเสียหายระดับ 2 ขึ้นไป
รูปที่ 10 แสดงการกระจายตัวของความเสียหายในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ รวมถึงตาแหน่งของจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวและ
Aftershock ที่มีขนาดใหญ่กว่า 5.0 ซึ่งระดับความเสียหายในแต่ละตาบลในรูปของร้อยละของอาคารที่เสี ยหายระดับ 2 ขึ้นไปต่อ
จานวนอาคารทั้งหมดในตาบลนั้นแสดงเป็นวงกลมที่มีขนาดต่างกันตามค่าร้อยละ และตัวเลขกากับในแต่ละตาบลคือค่าร้อยละและ
จานวนอาคารทั้งหมดในตาบลนั้น สาหรับตาแหน่งที่ทาการสารวจ Microtremor แสดงโดยด้วยสัญลักษณ์ดอกจันร่วมกับค่า Vs30
จากแผนที่ดังกล่าวมีข้อสรุปสาคัญดังนี้
- พื้นที่ตาบลที่อยู่ในรัศมี 5 กิโลเมตรจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวได้รับความเสียหายมากที่สุด โดยมีตาแหน่งที่สารวจ
Microtremor ได้แก่ MLAO, LIQD, MADA และ SANY ซึ่งมีสภาพชั้นดินเป็นดินแข็งมีค่า Vs30 อยู่ในช่วง 350 ถึง 390
เมตรต่อวินาที การสั่นไหวขนาดรุนแรงจะมีค่ามากขึ้นในช่วงคาบการสั่นประมาณ 0.25 วินาที ในพื้นที่ LIQD, MADA และ
SANY ซึ่งอาจเป็นสาเหตุหลักที่ทาให้บ้านเรือนขนาดเล็กในพื้นที่นี้ได้รับความเสียหายจานวนมาก สาหรับอาคารโรงเรียน 3
ชั้น ที่ได้รับความเสียหายอย่างรุนแรงในพื้นที่บริเวณ MLAO อาจมีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการสั่นพ้องของอาคารนี้ใกล้เคียง
กับคาบการสั่นหลักในระหว่างเกิดแผ่นดินไหว นอกจากนี้ความเร่งตอบสนองเชิงสเปกตรัมที่ผิวดิน (SA) ในพื้นที่นี้มีค่าสูง
ส่งผลให้อาคารบ้านเรือนในบริเวณนี้ได้รับความเสียหายมากกว่าพื้นที่อื่นๆ
- ร้อยละของการกระจายความเสียหายของอาคารมีค่าลดลงสาหรับพื้นที่ที่ห่างจากศูนย์กลางแผ่นดินไหว แต่อย่างไรก็ตาม
บริเวณ SAIK มีร้อยละความเสียหายที่ค่อนข้างสูงเมื่อพิจารณาที่ระยะทาง และเมื่อเปรียบเทียบคุณลักษณะของชั้นดินกับ
บริเวณ LANN พบว่าบริเวณ SAIK มีค่า Vs สาหรับดินชั้นตื้น ๆ มีค่าต่าและมีความแตกต่างของค่า Vs ในแต่ละชั้นสูงกว่า
ส่งผลให้ Transfer Function และ SA มีค่าสูงอย่างชัดเจน ส่วนบริเวณ LANN ชั้นดินมีความแข็งมากกว่า ทาให้อาคาร
บริ เ วณบริ เ วณ LANN ได้ รั บ ผลกระทบน้ อ ยกว่ า ซึ่ งปริ ม าณอาคารที่ เ สี ยหายในสองบริ เ วณนี้ ส อดคล้อ งกั บ การศึ กษา
ผลกระทบของชั้นดินบริเวณที่ตั้ง
- บริเวณ PANS ห่างจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวลงมาทางใต้ประมาณ 25 กิโลเมตร ลักษณะของบริเวณนี้เป็นชั้นดินที่หนา
และมีค่า Vs ต่า และจาก SA ที่มีค่าสูงที่บริเวณคาบการสั่นประมาณ 0.2 และ 0.4 วินาที ที่บริเวณนี้มีอาคารเรียน 4 ชั้น ที่
มีมิติ กว้าง 20 เมตร ยาว 80 เมตร และ สูง 16 เมตร ได้รับความเสียหายอย่างรุนแรงและต้องทาการก่อสร้างใหม่ จากการ
ตรวจวัดคาบธรรมชาติของอาคารหลังจากเกิดความเสียหายรุนแรงที่เสาและผนังชั้นล่างพบว่า ค่าคาบธรรมชาติเท่ากับ
0.364, 0.757 และ 0.206 วินาที สาหรับการสั่นในแนวขนานกับด้านยาว แนวตั้งฉากกับด้านยาว และแนวบิด ตามลาดับ
และหากประเมินว่าความเสียหายจากแผ่นดินไหวทาให้คาบธรรมชาติของอาคารเพิ่มขึ้นจากเดิมเป็น 1.5 เท่า ดังนั้นคาบ
ธรรมชาติของอาคารก่อนเกิดความเสียหายควรมีค่าประมาณ 0.243, 0.505 และ 0.137 วินาที ซึ่งการสั่นหลักในทั้ง 2
ทิศทาง มีค่าคาบการสั่นที่ใกล้เคียงกับค่าที่มีค่า SA สูง และอาจเป็นสาเหตุที่ทาให้อาคารนี้เสียหายรุนแรงถึงแม้ตั้งอยู่ห่าง
จากศูนย์กลางแผ่นดินไหวมาก
- เขตอาเภอเมืองเชียงรายใกล้กับตาแหน่งบริเวณ SIAM และมีความเสียหายของบ้านเรือนจานวนไม่มาก แต่เนื่ องจาก
คุณสมบัติของชั้นดินค่อนข้างอ่อน ทาให้อาคารโรงเรียนบางแห่งได้รับความเสียหายเล็กน้อย โดยมีการแตกร้าวในส่วนที่ไม่ใช่
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 87

โครงสร้างหลัก อย่างไรก็ตามค่า SA ที่ได้อยู่ในระดับที่มากกว่าบริเวณ PANS ซึ่งจาเป็นต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมสาหรับคลื่น


ที่เหมาะสมที่ใช้ในการป้อนที่ชั้นหินและคุณสมบัติของเชิงพลศาสตร์ของอาคาร

รูปที่ 10 แผนที่แสดงการกระจายตัวของอาคารที่ได้รับความเสียหาย ตาแหน่งการสารวจและค่า Vs30


และตาแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหวและ Aftershock

4. สรุปผลการศึกษา
บทความนี้นาเสนอผลการสารวจภาคสนามของคุณลักษณะของชั้นดินบริเวณที่ตั้งและการวิเคราะห์ผลตอบสนองของพื้นดิน
สาหรับบริเวณพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 จังหวัดเชียงราย ผลการสารวจภาคสนามที่ได้คือ
ความเร็วคลื่นเฉือนและค่าคาบอิทธิพลหลัก ของชั้นดิน แล้วทาการสร้างแบบจาลองของชั้นดินเพื่อการประเมินผลจากแผ่นดินไหวใน
พื้นที่ตาแหน่งต่าง ๆ และนาเสนอผลประกอบกับการกระจายตัวของอาคารที่เสียหายในแต่ละตาบล ข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการศึกษามี
ดังนี้
- พื้นที่ที่ศึกษามีลักษณะทางธรณีเทคนิคที่แตกต่างกันได้มากแม้อยู่ ในบริเวณใกล้เคียงกัน โดยมีค่า Vs30 อยู่ในช่วงประมาณ
220 ถึ ง 400 เมตรต่อ วิ นาที และมี ค่าคาบอิท ธิ พลหลักอยู่ใ นช่ ว ง 0.2 ถึ ง 0.7 วิ น าที พื้ น ที่ ที่ เ ป็ น ดิน แข็ งคือ บริเวณใกล้
ศูนย์กลางแผ่นดินไหว เช่น ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว ส่วนบริเวณพื้นที่ที่ราบและอยู่บนชั้นดินอ่อนกว่าได้แก่ ตาบลเมือง
พาน อาเภอพาน เขตชุมชนในอาเภอเมือง และอาเภอแม่จัน
- ความหนาของชั้นดินก่อนถึงชั้นหินเสมือนที่ประเมินได้ในอาเภอแม่ลาวมีค่าประมาณ 20 ถึง 30 เมตร แต่พบว่าชั้นดินมี
ความหนามากกว่าในพื้นที่อาเภอพาน อาเภอเมือง และอาเภอแม่จัน
- ความเร่งตอบสนองเชิงสเปกตรัมที่ผิวดิน (SA) สาหรับพื้นที่ที่อยู่ภายในรัศมีประมาณ 10 กิโลเมตรจากศูนย์กลางแผ่นดินไหว
มีค่ามากกว่า 1.0g มีค่าคาบอิทธิพลหลักอยู่ในช่วง 0.25 ถึง 0.35 วินาที ซึ่งค่า SA ที่ประเมินได้ มีค่าสูงกว่าค่าที่กาหนด
สาหรับใช้ออกแบบตามมาตรฐาน มยผ. 1302 ในพื้นที่นี้อย่างมาก และเกิดความเสียหายต่ออาคารจานวนมาก
88 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

- ในตาแหน่งสารวจที่อยู่ห่างจากบริเวณศูนย์กลางแผ่นดินไหวประมาณ 15 กิโลเมตร พบว่าเกิดความเสียหายต่ออาคาร


จานวนมากสาหรับพื้นที่ที่มีความเร็วคลื่นเฉือนต่า แต่สาหรับบริเวณที่มีความเร็วคลื่นเฉือนสูงกว่าและอยู่ ในระยะห่าง
ใกล้เคียงกันพบว่ามีความเสียหายเกิดขึ้นต่ออาคารน้อยกว่า
- ที่ตาบลเมืองพาน อาเภอพาน ซึ่งอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางประมาณ 25 กิโลเมตร และมีสภาพเป็นชั้นดินหนาและมี Vs
ค่อนข้างต่า แผ่นดินไหวที่ประเมินได้มีค่าประมาณ 0.4g และมีค่าต่ากว่าค่าตาม มยผ. 1302 แต่ได้สร้างความเสียหายรุนแรง
ต่ออาคารโรงเรียนสูง 4 ชั้น ซึ่งอาจมีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการที่อาคารมีมวลมากและมีคาบธรรมชาติใกล้เคียงกับคาบการ
สั่นของแผ่นดินไหว
- มีหลายพื้นที่ชุมชนในจังหวัดเชียงรายที่แสดงถึงลักษณะของชั้นดินที่มีค่า Vs ค่อนข้างต่า และมีโอกาสที่จะสามารถขยาย
ระดับความรุนแรงของแผ่นดิ นไหวได้ อาคารและสิ่งปลูกสร้างในบริเ วณนี้จึ งมี ความเสี่ย งจากแผ่นดิ นไหวค่อ นข้ า งสู ง
โดยเฉพาะอาคารขนาดใหญ่ที่อาจมีคาบธรรมชาติอยู่ในช่วงที่มีค่า SA สูงแม้เป็นแผ่นดินไหวที่ไกลจากศูนย์กลาง

กิตติกรรมประกาศ
งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากสานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) งานวิจัยเลขที่ RDG5630018 และขอขอบคุณ
อาจารย์รัฐพล เกติยศ ม.เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย ที่ให้ความช่วยเหลือข้อมูลพื้นที่ทาการสารวจ

เอกสารอ้างอิง
[1] ศูนย์ประสานงานเพื่อตรวจสอบอาคารเนื่องจากภัยพิบัติแผ่นดินไหวจังหวัดเชียงราย (ศปอ.) กรมโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเชียงราย ราย งาน
สรุปผลการตรวจสอบอาคารที่เสียหาย รายงานเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2557
[2] Nakamura Y. (1989), “A Method for Dynamic Characteristics Estimation of Subsurface using Microtremor on the Ground Surface”,
Q. Rep. Railw. Tech. Res. Inst. 30, No. 1, 25–33.
[3] Aki K. (1957) “Space and Time Spectra of Stationary Stochastic Waves, with Special Reference to Microtremors”, Bulletin of the
Earthquake Research Institute, No. 22: 415–456.
[4] Okada H. (2003) The Microtremor Survey Method (translated by Koya Suto), Geophysical Monograph Series, No.12, Society of
Exploration Geophysicists.
[5] Schnabel, P.B., Lysmer, J. and Seed, H.B. (1972) SHAKE: A Computer Program for Earthquake Response Analysis of Horizontally
Layered Sites. Report No. UCB/EERC-72/12, Earthquale Engineering Research Center, University of California, Berkeley.
[6] Vucetic, M. and R. Dobry., (1991) “Effect of plasticity on cyclic response” Journal of Geotechnical Engineering. ASCE. Vol. 117.
No.1: 89-107
[7] Seed, H.B., and Idriss, I.M., (1970) Soil moduli and damping factors for dynamic response analyses. Rep. No. EERC-70/10.,
Earthquake Engineering Research Center, Univ. of California at Berkeley
[8] Schnabel, P.B., (1973) Effects of local geology and distance from source on earthquake ground motions. Ph.D. thesis, University
of California, Berkeley
[9] Yokoi T. (2005) “Combination of Down Hill Simplex Algorithm with Very Fast Simulated Annealing Method-an Effective Cooling
Schedule for Inversion of Surface Wave's Dispersion Curve”, Proc. of the Fall Meeting of Seismological Society of Japan. B049.
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 89

ความเร่งพื้นดินสูงสุด ความเร็วพื้นดินสูงสุด ระยะเวลาการสั่นไหว และช่วงค่าความถี่จากการสั่นไหวของ


แผ่นดินไหวหลัก ขนาด 6.3 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย และแผ่นดินไหวตาม ขนาด 5-6 และขนาด 4-5
PEAK GROUND ACCELERATION, PEAK GROUND VELOCITY, DURATION OF MOTION, FREQUENCY
CONTENT OF MAIN SHOCK M6.3 AT PHAN DISTRICT, CHIANG RAI PROVINCE AND
AFTERSHOCKS M5-6 AND M4-5

วัฒนา คาคม
นักธรณีวิทยาชานาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการวิศวกรรมธรณี ส่วนวิศวกรรมธรณี สานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
กรมชลประทาน

Watana Khamkom
Senior Professional Geologist, Chief of Technical Engineering Geology Group, Engineering Geology Division,
Office of Engineering Topographical and Geotechnical Survey, the Royal Irrigation Department

บทคัดย่อ
การศึกษาความเร่งพื้นดินสูงสุด ความเร็วพื้นดินสูงสุด ระยะเวลาการสั่นไหว และช่วงค่าความถี่จากการสั่นไหวของแผ่น ดินไหวหลัก
ขนาด 6.3 และแผ่นดินไหวตาม ขนาด 5-6 และขนาด 4-5 มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายลักษณะการสั่นไหวของพื้นดินที่รุนแรง และเพื่อ
ประเมินผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อนแม่สรวย จากค่าพารามิเตอร์ของการสั่นไหวที่มากกว่าหนึ่งพารามิเตอร์ เนื่องจากการใช้
ค่าความเร่งพื้นดินสูงสุดเพียงอย่างเดียวไม่สามารถที่จะอธิบายได้อย่างชัดเจน โดยค่าความเร่งพื้นดินสูงสุด ณ บริเวณที่ตั้งเขื่อนแม่สรวย
ของแผ่นดินไหวหลัก ขนาด 6.3 เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 มีค่าเท่ากับ 0.33 g ในแนวตะวันออก-ตะวันตก ซึ่งเป็นค่าที่มากที่สุด
ตั้งแต่มีการตรวจวัดแรงกระทาของแผ่นดินไหวได้ด้วยเครื่องมือในประเทศไทย แต่เขื่อนแม่สรวยได้รับการออกแบบเพื่อต้านทานแรง
แผ่นดินไหว ด้วยวิธี pseudo static ค่าสัมประสิทธิ์ของการสั่นสะเทือน เท่ากับ 0.10 จึงทาให้เกิดคาถามและความวิตกกังวลในเรื่อง
ความมั่นคง และปลอดภัยของตัวเขื่อนแม่สรวย การอธิบายลักษณะการสั่นไหวของพื้นดินที่รุนแรงเพื่อให้เกิดความเข้าใจและชัดเจน จึง
จาเป็นต้องใช้ค่าพารามิเตอร์ของการสั่นไหวอย่างน้อย 2 พารามิเตอร์
คาสาคัญ: พารามิเตอร์การสั่นไหวของพื้นดิน ความเร่งพื้นดินสูงสุด ความเร็วพื้นดินสูงสุด ระยะเวลาการสั่นไหว ช่วงค่าความถี่ของการ
สั่นไหว สเปคตรัมตอบสนอง ผลกระทบในท้องถิ่น

ABSTRACT
The study of peak ground acceleration, peak ground velocity, duration of motion, and frequency content of main
shock with M6.3 and aftershocks with M5-6 and M4-5 has the purpose to describe the characteristics of strong
ground motion and to evaluate the seismic hazard of the Mae Suai dam by using more than one ground motion
parameters since using of only the peak ground acceleration is unable to describe clearly. The peak ground
acceleration at the Mae Suai dam site of main shock with M6.3 on May 5, 2014 is 0.33 g in the East-West
component which is the highest value from the instrumental data that have been recorded in Thailand. However
the Mae Suai dam has been designed to withstand earthquake force by the pseudo static method with seismic
coefficient of 0.10 that raises the questions of concern about stability and safety of the Mae Suai dam. In order
to describe the characteristics of strong ground motion thoroughly and clearly, the necessity to use at least two
ground motion parameters is applied.
KEYWORDS: ground motion parameters, peak ground acceleration, peak ground velocity, duration of motion,
frequency content, response spectrum, local site effect
90 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

1. บทนา
ตามที่ได้เกิดแผ่นดินไหว ขนาด 6.3 เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 เวลา 18:08:42 น. ความรุนแรงของแผ่นดินไหวส่งผลกระทบ
ต่อผู้คนและทาความเสียหายให้กับโครงสร้างอาคารเป็นบริเวณกว้าง โดยเขื่อนแม่สรวย จังหวัดเชียงราย เป็นเขื่อนหนึ่งที่ได้รับการคาด
ว่าจะได้รับผลกระทบที่รุนแรงจากการสั่นไหว เนื่องจากอยู่ใกล้ศูนย์กลางแผ่นดินไหว ประมาณ 15 กิโลเมตร จากการตรวจสอบสภาพ
เขื่อนภายหลังการเกิดแผ่นดินไหวทางกายภาพด้วยสายตา [1] ของเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ไม่พบว่ามีความเสียหายที่รุนแรงจากการสั่น
ไหวของแผ่นดินไหว แต่เมื่อตรวจสอบข้อมูลที่ได้ จากเครื่องมือตรวจวัดพฤติกรรมเขื่อน พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงค่าของข้อมูลในช่วงที่
เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวหลัก และแผ่นดินไหวตาม หลายครั้ง [2] โดยค่าความเร่งพื้นดินสูงสุด ที่บันทึกได้จากเครื่องมือวัดค่าความเร่ง
(accelerograph) ที่ติดตั้งอยู่ที่สถานี MSAC บริเวณฐานยันฝั่งขวาของเขื่อนแม่สรวย มีค่าเท่ากับ 0.33 g (ในแนวตะวันออก-ตะวันตก)
ซึ่ งถื อ ว่ า เป็ น ค่ าที่ ม ากที่ สุด ตั้ งแต่ มี ก ารตรวจวัด แรงกระท าของแผ่น ดิน ไหวได้ ใ นประเทศไทย เขื่ อ นแม่ ส รวยและเขื่ อ นของกรม
ชลประทานส่ ว นใหญ่ ไ ด้ รั บ การออกแบบเพื่ อ ต้ า นทานแรงแผ่ น ดิ น ไหว ด้ ว ยวิ ธี pseudo static ก าหนดค่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ ข องการ
สั่นสะเทือน เท่ากับ 0.10 ดังนั้นสัดส่วนค่าสัมประสิทธิ์ของการสั่นสะเทือนที่ใช้ในการออกแบบต่อค่าความเร่งพื้นดินสูงสุดที่ตรวจวัดได้
จากแรงกระทาของแผ่นดินไหวในครั้งนี้ จึงมีค่า ประมาณ 1:3 เท่า ทาให้เกิดคาถามและความวิตกกังวลในเรื่ องความมั่นคงและ
ปลอดภัยของเขื่อนแม่สรวย ทั้งจากผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องของกรมชลประทาน ตลอดจนประชาชนที่อยู่บริเวณท้ายน้าของ
เขื่อนแม่สรวย เขื่อนแม่สรวยได้รับการสารวจ และออกแบบโดยบริษัท COYNE ET BELLIER Bureau d’Ingenieurs Conseils และ
บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จากัด เป็นเขื่อนคอนกรีตบดอัดผสมกับเขื่อนดิน เขื่อนสูง 59 เมตร สภาพ
ธรณีวิทยาฐานรากบริเวณที่ตั้งเขื่อนเป็นหินยุคไซลูเลียน-ดีโวเนียน (รูปที่ 1) ดาเนินการก่อสร้างโดย กิจการร่วมค้า SC ประกอบด้วย
บริษัท สี่แสงการโยธา (1979) จากัด ร่วมกับ China National Water Resources and Hydropower Engineering Corporationมี
ที่ปรึกษาควบคุมงานก่อสร้าง ประกอบด้วย บริษัท COYNE ET BELLIER Bureau d’Ingenieurs Conseils และ บริษัท ทีม คอนซัลติง้
เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ แมเนจเมนท์ จากัด ในลักษณะอานวยการก่อสร้างเต็มรูปแบบ (Full Supervision) ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อปีพ.ศ.
2546 การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการสั่นไหวของพื้นดินของแผ่นดินไหวหลัก ขนาด 6.3 และแผ่นดินไหวตามขนาด 5-
6 และขนาด 4-5 จากค่าพารามิเตอร์ของการสั่นไหว ประกอบด้วย ความเร่งพื้นดินสูงสุด ความเร็วพื้นดินสูงสุด ระยะเวลาการสั่นไหว
และช่วงค่าความถี่จากการสั่นไหวที่รุนแรง เพื่อประเมินผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อนแม่สรวย

2. การสั่นไหวที่รุนแรงของพื้นดิน
การศึกษาแรงกระทาของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อนแม่สรวยหรือโครงสร้างต่ างๆ มีค่าพารามิเตอร์ของการสั่นไหวที่สาคัญสาหรับ
งานทางด้านวิศวกรรมแผ่นดินไหวที่ต้องนามาพิจารณาประกอบกัน 3 ประการ คือ (1) ขนาดของแรงที่กระทา (ความเร่งพื้นดินสูงสุด,
ความเร็วพื้นดินสูงสุด, การเคลื่อนที่พื้นดินสูงสุด) (2) ช่วงค่าความถี่ของการสั่นไหวที่รุนแรง (3) ระยะเวลาของการสั่นไหวที่รุนแรง[3,4]
ซึ่งในการอธิบายลักษณะการสั่นไหวที่รุนแรงของพื้นดินให้ชัดเจนจะต้อ งใช้อย่า งน้อย 2 พารามิเตอร์ ในการศึกษานี้ได้ใช้ข้อมู ล
แผ่นดินไหวที่บันทึกได้จากเครื่องมือตรวจวัดค่าความเร่งพื้นดินที่สถานี MSAC ยี่ห้อ Kinemetrics รุ่น Basalt, FBA-2g ซึ่งเป็นสถานี
ตรวจวัดแผ่นดินไหวของกรมชลประทาน ที่ได้ดาเนินการติดตั้งเครื่องมือและตรวจวัดค่าความเร่งพื้นดินตั้งแต่เดือนธันวาคม 2555
ในช่วงที่เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว เฉพาะเดือนพฤษภาคม 2557 สามารถตรวจวัดค่าความเร่งพื้นดินได้มากกว่า 1,000 ครั้ง แต่พบว่ามี
ปัญหาเครื่องมือตรวจวัดดับ 2 ครั้ง คือ ช่วงวันที่ 5-7 พฤษภาคม 2557 และวันที่ 13 มิถุนายน-26 กรกฎาคม 2557 ทาให้ข้อมูล
บางส่วนไม่สมบูรณ์ และไม่มีข้อมูลในช่วงนี้ ส่วนข้อมูลจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว อ้างอิงข้อมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยา และกรมอุทก
ศาสตร์ กองทัพเรือ ในการวิเคราะห์ค่าความเร่งพื้นดินสูงสุด ความเร็วพื้นดินสูงสุด และระยะเวลาของการสั่นไหว ใช้โปรแกรม
Kinemetrics Strong Motion Analyst โดยระยะเวลาของการสั่ น ไหวที่ รุ น แรง ได้ เ ลื อ กใช้ ค่ า bracketed duration [5,6] ซึ่ ง ได้
อธิบายถึงช่วงระหว่างเวลาเริ่มต้นและเวลาสุดท้ายที่มีค่าเกินค่าความเร่งเกณฑ์ที่กาหนด (โดยทั่วไป เท่ากับ 0.05g) เนื่องจากใช้งานได้
ง่ายที่สุด และขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของค่าความเร่งที่บันทึกได้โดยตรง ส่วนการวิเคราะห์ช่วงค่าความถี่ของการสั่นไหว ได้ใช้โปรแกรมKMI
Power Spectral Density โดยทั้ง 2 โปรแกรม เป็นของ บริษัท Kinemetrics ประเทศสหรัฐอเมริกาผลการวิเคราะห์ค่าพารามิเตอร์
จากการสั่นไหวของแผ่นดินไหวหลัก ขนาด 6.3 พบว่าค่าความเร่งพื้นดินสูงสุด มีค่ามากที่สุดในแนวตะวันออก-ตะวันตก เท่ากับ
0.329356 g (รูปที่ 2) แต่เป็นค่า ณ เวลา 11:08:51.820 UTC ค่าความเร็วพื้นดินสูงสุด เท่ากับ 24เซนติเมตร/วินาที (รูปที่ 3) ณ เวลา
11:08:51.8 UTC ระยะเวลาของการสั่นไหวที่รุนแรงที่มีค่าเกิน 0.05 g เท่ากับ 7 วินาที (รูปที่ 4)ช่วงค่าความถี่จากการสั่นไหวที่รุนแรง
พบว่ า มี ค่ า มากที่ สุ ด ที่ ค วามถี่ 2.5 เฮิ ร ตซ์ (รู ป ที่ 5) ในกรณี ข องแผ่ น ดิ น ไหวตาม ขนาด 5-6 และขนาด 4-5 (ตารางที่ 1) พบว่ า
แผ่นดินไหวที่จะมีผลกระทบต่อเขื่อนแม่สรวย คือ แผ่นดินไหวที่มีขนาดตั้ งแต่ 4 ตามมาตราริกเตอร์ ขึ้นไป และต้องมีจุดศูนย์กลางอยู่
ห่างจากที่ตั้งเขื่อนแม่สรวยไม่เกิน 10 กิโลเมตร
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 91

รูปที่ 1 สภาพธรณีวิทยาบริเวณทีต่ ั้งเขื่อนแม่สรวย และเขื่อนของกรมชลประทาน ศูนย์กลางแผ่นดินไหว ขนาด 6.3


วันที่ 5 พฤษภาคม 2557 กรมอุตนุ ิยมวิทยา และ USGS และรอยเลื่อนมีพลัง กรมทรัพยากรธรณี

รูปที่ 2 ความเร่งพื้นดินสูงสุด เท่ากับ 0.329356g ที่เวลา 11:08:51.820 UTC (18:08:51.820 น.) ในแนวตะวันออก-ตะวันตก (C3)
92 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

รูปที่ 3 ความเร็วพื้นดินสูงสุด เท่ากับ 24 เซนติเมตร/วินาที ที่เวลา 11:08:51.8 UTC (ในแนวตะวันออก-ตะวันตก)

รูปที่ 4 ระยะเวลาการสั่นไหวที่รุนแรง เท่ากับ 7 วินาที (ในแนวตะวันออก-ตะวันตก)


การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 93

รูปที่ 5 ค่าความถี่ของการสั่นไหวที่รุนแรงที่สุด เท่ากับ 2.5 เฮิรตซ์ (ในแนวตะวันออก-ตะวันตก)

รูปที่ 6 สเปคตรัมความเร่งตอบสนองในแนวตะวันออก-ตะวันตก (damping ratio 0,2,5,10 และ 20%)


94 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

ตารางที่ 1 ค่าความเร่งพื้นดินสูงสุด ของแผ่นดินไหวหลัก ขนาด 6.3 และแผ่นดินไหวตาม ขนาด 5-6 และขนาด 4-5
PGA (g) ที่
สถานี MSAC
ที่ วันที่ เวลา ขนาด ละตจิ ูด ลองจิจูด ความลึก บริเวณ Component เวลา (UTC)
(เขื่อนแม่สรวย)
5/5/2014 18:08:42 น. Vertical -0.215158 11:08:50.740
1 6.3 19.68 99.69 7 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S 0.271973 11:08:51.600
5/5/2014 11:08:42 UTC
E-W 0.329356 11:08:51.820
5/5/2014 18:12:37 น. Vertical -0.132732 11:12:37.100
2 5 19.68 99.43 อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย N-S -0.150293 11:12:37.185
5/5/2014 11:12:37 UTC
E-W -0.172878 11:12:37.325
Vertical -0.042319 11:13:36.850
3 5/5/2014 18:13:36 น. N-S -0.034268 11:13:36.440
E-W -0.039301 11:13:36.640
5/5/2014 18:14:32 น. Vertical -0.031970 11:14:34.050
4 4.8 19.64 99.65 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S -0.033858 11:14:34.030
5/5/2014 11:14:32 UTC
E-W -0.069984 11:14:34.035
Vertical 0.047155 11:15:42.170
5 5/5/2014 18:15:40 น. N-S -0.038218 11:15:42.015
E-W 0.054985 11:15:42.175
5/5/2014 18:19:37 น. Vertical 0.020066 11:19:41.825
6 5.1 19.71 99.71 5 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S 0.024459 11:19:41.780
5/5/2014 11:19:37 UTC
E-W 0.029538 11:19:42.275
Vertical -0.039684 11:20:20.225
7 5/5/2014 18:20:20 น. N-S 0.039146 11:20:20.180
E-W 0.057750 11:20:20.295
5/5/2014 18:22:18 น. Vertical -0.021581 11:22:22.545
8 4.6 19.73 99.65 6 อาเภอแมลาว จงหวดเชยงราย N-S 0.022630 11:22:22.775
5/5/2014 11:22:18 UTC
E-W 0.024013 11:22:22.370
5/5/2014 19:06:19 น. Vertical 0.035268 12:06:25.615
9 5.1 19.70 99.62 5 อาเภอแมสรวย จงหวดเชยงราย N-S -0.026977 12:06:26.035
5/5/2014 12:06:19 UTC
E-W -0.059189 12:06:25.545
5/5/2014 19:20:57 น. Vertical 0.024966 12:20:20.950
10 5.2 19.86 99.68 - อาเภอเมือง จังหวดเชียงราย N-S 0.035148 12:20:20.925
5/5/2014 12:20:57 UTC
E-W -0.046885 12:20:20.770
5/5/2014 19:20:59 น. Vertical -0.027308 12:21:05.355
11 5.1 19.78 99.74 - อาเภอแมลาว จงหวดเชยงราย N-S 0.027586 12:21:05.170
5/5/2014 12:20:59 UTC
E-W 0.032721 12:21:05.265
5/5/2014 19:25:05 น. Vertical -0.009630 12:25:09.505
12 4.4 19.72 99.6 6 อาเภอแมสรวย จงหวดเชยงราย N-S 0.013675 12:25:09.095
5/5/2014 12:25:05 UTC
E-W -0.015384 12:25:09.480
5/5/2014 19:40:09 น. Vertical 0.004459 12:40:17.115
13 4 19.86 99.7 5 อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย N-S 0.003834 12:40:17.090
5/5/2014 12:40:09 UTC
E-W 0.007086 12:40:16.900
5/5/2014 19:49:23 น. Vertical 0.025386 12:49:26.430
14 4.2 19.72 99.71 8 อาเภอแมลาว จงหวดเชียงราย N-S -0.018200 12:49:28.815
5/5/2014 12:49:23 UTC
E-W 0.018100 12:49:26.665
5/5/2014 20:04:45 น. Vertical 0.015621 13:04:49.775
15 4.5 19.67 99.74 7 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S -0.013582 13:04:49.660
5/5/2014 13:04:45 UTC
E-W -0.019103 13:04:49.720
5/5/2014 20:18:02 น. Vertical 0.009553 13:18:08.880
16 4.3 19.7 99.73 7 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S -0.011311 13:18:08.525
5/5/2014 13:18:02 UTC
E-W -0.010990 13:18:08.795
หมายเหตุ: * เครื่องดับ
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 95

ตารางที่ 1 ค่าความเร่งพื้นดินสูงสุด ของแผ่นดินไหวหลัก ขนาด 6.3 และแผ่นดินไหวตาม ขนาด 5-6 และขนาด 4-5 (ต่อ)
PGA (g) ที่
สถานี MSAC
ที่ วันที่ เวลา ขนาด ละตจิ ูด ลองจิจูด ความลึก บริเวณ Component เวลา (UTC)
(เขื่อนแม่สรวย)

5/5/2014 20:34:29 น. Vertical -0.020795 13:34:33.650


17 4.7 19.69 99.65 6 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S -0.023411 13:34:33.450
5/5/2014 13:34:29 UTC
E-W 0.021037 13:34:33.645
5/5/2014 21:26:52 น. Vertical 0.009300 14:26:53.825
18 4.4 19.67 99.65 7 อาเภอพาน จงหวัดเชียงราย N-S -0.006469 14:26:55.830
5/5/2014 14:26:52 UTC
E-W 0.009746 14:27:48.210
5/5/2014 21:51:02 น. Vertical 0.003857 14:51:08.015
19 4 19.83 99.59 6 อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย N-S -0.005495 14:51:08.205
5/5/2014 14:51:02 UTC
E-W -0.003424 14:51:08.305
Vertical
5/5/2014 22:34:20 น.
20* 4 19.7 99.63 6 อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย N-S
5/5/2014 15:34:20 UTC
E-W

Vertical
5/5/2014 23:03:06 น.
21* 4 19.67 99.72 - อาเภอพาน จงหวัดเชียงราย N-S
5/5/2014 16:03:06 UTC
E-W

Vertical
5/5/2014 23:07:25 น.
22* 4.5 19.6 99.62 - อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย N-S
5/5/2014 16:07:25 UTC
E-W

Vertical
5/5/2014 23:20:17 น.
23* 4.5 19.69 99.69 5 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S
5/5/2014 16:20:17 UTC
E-W

Vertical
6/5/2014 0:12:51 น.
24* 4 19.68 99.57 6 อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย N-S
5/5/2014 17:12:51 UTC
E-W

Vertical
6/5/2014 0:35:28 น.
25* 4.8 19.72 99.71 4 อาเภอแม่ลาว จงั หวัดเชียงราย N-S
5/5/2014 17:35:28 UTC
E-W

Vertical
6/5/2014 0:38:12 น.
26* 4.1 19.78 99.62 2 อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย N-S
5/5/2014 17:38:12 UTC
E-W

Vertical
6/5/2014 0:58:30 น.
27* 4.1 19.66 99.64 14 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S
5/5/2014 17:58:30 UTC
E-W

Vertical
6/5/2014 1:02:33 น.
28* 4.1 19.64 99.73 - อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S
5/5/2014 18:02:33 UTC
E-W

Vertical
6/5/2014 2:12:04 น.
29* 4.7 19.82 99.71 6 อาเภอแม่ลาว จงั หวัดเชียงราย N-S
5/5/2014 19:12:04 UTC
E-W

Vertical
6/5/2014 3:05:25 น.
30* 4.4 19.61 99.62 10 อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย N-S
5/5/2014 20:05:25 UTC
E-W

Vertical
6/5/2014 4:17:05 น.
31* 5.1 19.65 99.66 23 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S
5/5/2014 21:17:05 UTC
E-W

Vertical
6/5/2014 5:10:56 น.
32* 4.1 19.68 99.66 7 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S
5/5/2014 22:10:56 UTC
E-W
หมายเหตุ: * เครื่องดับ
96 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

ตารางที่ 1 ค่าความเร่งพื้นดินสูงสุด ของแผ่นดินไหวหลัก ขนาด 6.3 และแผ่นดินไหวตาม ขนาด 5-6 และขนาด 4-5 (ต่อ)
PGA (g) ที่
ที่ วันที่ เวลา สถานี MSAC
ขนาด ละตจิ ูด ลองจิจูด ความลึก บริเวณ Component เวลา (UTC)
(เขื่อนแม่สรวย)

Vertical
6/5/2014 6:04:55 น.
33* 5.2 19.70 99.62 7 อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย N-S
5/5/2014 23:04:55 UTC
E-W
Vertical
6/5/2014 7:50:16 น.
34* 5.9 19.73 99.69 20 อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย N-S
6/5/2014 00:50:16 UTC
E-W
Vertical
6/5/2014 7:58:19 น.
35* 5.6 19.70 99.53 2 อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย N-S
6/5/2014 00:58:19 UTC
E-W
Vertical
6/5/2014 11:45:14 น.
36* 4.3 19.66 99.65 - อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S
6/5/2014 04:45:14 UTC
E-W
Vertical
6/5/2014 16:20:35 น.
37* 4.2 19.77 99.64 - อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย N-S
6/5/2014 09:20:35 UTC
E-W
Vertical
6/5/2014 19:42:12 น.
38* 4.7 19.63 99.62 4 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S
6/5/2014 12:42:12 UTC
E-W
Vertical
6/5/2014 20:47:01 น.
39* 4.7 19.75 99.7 6 อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย N-S
6/5/2014 13:47:01 UTC
E-W
Vertical
6/5/2014 21:50:12 น.
40* 4.9 19.74 99.59 1 อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย N-S
6/5/2014 14:50:12 UTC
E-W
Vertical
6/5/2014 22:57:32 น.
41* 4.6 19.67 99.67 9 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S
6/5/2014 15:57:32 UTC
E-W
Vertical
7/5/2014 1:29:39 น.
42* 4.2 19.73 99.62 12 อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย N-S
6/5/2014 18:29:39 UTC
E-W
Vertical
7/5/2014 3:52:26 น.
43* 4.8 19.7 99.59 7 อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย N-S
6/5/2014 20:52:26 UTC
E-W
Vertical 0.008975 18:37:38.815
8/5/2014 1:37:35 น.
44 4 19.64 99.62 7 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S 0.006552 18:37:39.110
7/5/2014 18:37:35 UTC
E-W 0.011565 18:37:38.680
Vertical 0.03504 20:43:42.420
9/5/2014 3:43:38 น.
45 4.7 19.69 99.63 2 อาเภอแม่สรวย จงหวัดเชียงราย N-S 0.030308 20:43:42.325
8/5/2014 20:43:38 UTC
E-W 0.065275 20:43:42.435
Vertical 0.007223 02:48:29.170
9/5/2014 9:48:24 น.
46 4.1 19.64 99.74 5 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S -0.008155 02:48:29.405
9/5/2014 02:48:24 UTC
E-W -0.009507 02:48:28.980
Vertical 0.065254 07:12:32.130
9/5/2014 14:12:31 น.
47 4.7 19.62 99.57 7 อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย N-S -0.113121 07:12:32.290
9/5/2014 07:12:31 UTC
E-W -0.112382 07:12:32.300
Vertical -0.013294 05:56:47.485
10/5/2014 12:56:47 น.
48 4 19.65 99.58 2 อาเภอแม่สรวย จงหวัดเชียงราย N-S 0.018143 05:56:48.485
10/5/2014 05:56:47 UTC
E-W -0.023815 05:56:48.460
หมายเหตุ: * เครื่องดับ
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 97

ตารางที่ 1 ค่าความเร่งพื้นดินสูงสุด ของแผ่นดินไหวหลัก ขนาด 6.3 และแผ่นดินไหวตาม ขนาด 5-6 และขนาด 4-5 (ต่อ)
PGA (g) ที่
ที่ วันที่ เวลา สถานี MSAC
ขนาด ละตจิ ูด ลองจิจูด ความลึก บริเวณ Component เวลา (UTC)
(เขื่อนแม่สรวย)
12/5/2014 9:47:27 น. Vertical 0.000663 02:27:31.910
49 4 19.6 99.71 5 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S 0.000479 02:27:33.060
12/5/2014 02:47:27 UTC
E-W 0.000797 02:27:32.795
12/5/2014 18:05:29 น. Vertical 0.025988 11:05:36.350
50 5 19.80 99.72 8 อาเภอแม่ลาว จงหวัดเชียงราย N-S 0.016686 11:05:37.225
12/5/2014 11:05:29 UTC
E-W 0.043418 11:05:36.226
15/5/2014 0:23:57 น. Vertical -0.015910 17:24:00.220
51 4.4 19.57 99.67 9 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S -0.015525 17:24:00.380
14/5/2014 17:23:57 UTC
E-W 0.019685 17:24:00.620
16/5/2014 11:31:34 น. Vertical -0.017894 04:31:34.510
52 4.8 19.66 99.63 1 อาเภอพาน จงหวัดเชียงราย N-S -0.015344 04:31:34.835
16/5/2014 04:31:34 UTC
E-W 0.016873 04:31:36.296
21/5/2014 17:19:49 น. Vertical -0.002002 10:19:56.255
53 4.1 19.64 99.7 7 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S 0.002418 10:19:55.865
21/5/2014 10:19:49 UTC
E-W -0.002191 10:19:56.270
27/5/2014 19:22:16 น. Vertical -0.034109 12:22:23.110
54 4.6 19.89 99.72 4 อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย N-S -0.024143 12:22:23.160
27/5/2014 12:22:16 UTC
E-W -0.030852 12:22:22.705
Vertical
26/6/2014 14:29:35 น.
55* 4.5 19.71 99.67 อาเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย N-S
26/6/2014 7:29:35 UTC
E-W
Vertical
15/7/2014 20:30:53 น.
56* 4.3 19.7 99.7 อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย N-S
15/7/2014 13:30:53 UTC
E-W
16/8/2014 14:03:18 น. Vertical -0.066798 07:03:20.335
57 3.8 19.69 19.6 อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย N-S 0.027879 07:03:20.415
16/8/2014 07:03:18 UTC
E-W 0.140529 07:03:20.375
16/8/2014 15:25:25 น. Vertical 0.059734 08:25:26.100
58 4.1 19.68 99.61 อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย N-S -0.053289 08:25:26.140
16/8/2014 08:25:25 UTC
E-W -0.128819 08:25:26.040
25/8/2014 05:32:45 น. Vertical 0.147961 22:32:47.340
59 4.8 19.71 99.55 อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย N-S 0.216523 22:32:47.340
24/8/2014 22:32:45 UTC
E-W -0.212339 22:32:47.865
หมายเหตุ: * เครื่องดับ

3. สรุป
จากการศึกษาค่าพารามิเตอร์ของการสั่นไหวที่รุนแรงของแผ่นดินไหวหลักขนาด 6.3 พบว่าค่าความเร่งพื้นดินสูงสุด มีค่ามากที่สุด
ในแนวตะวันออก-ตะวันตก เท่ากับ 0.329356 g แต่เป็นค่า ณ เวลา 11:08:51.820 UTC เท่านั้น ค่าความเร็วพื้นดินสูงสุด เท่ากับ 24
เซนติเมตร/วินาที ณ เวลา 11:08:51.8 UTC เช่นเดียวกัน ระยะเวลาของการสั่นไหวที่รุนแรงที่มีค่าเกิน 0.05 g เท่ากับ 7 วินาที ช่วง
ค่าความถี่จากการสั่นไหวที่รุนแรง มีค่ามากที่สุดที่ความถี่ 2.5 เฮิรตซ์ และจากการศึกษาค่าพารามิเตอร์ของการสั่นไหวที่รุนแรงของ
แผ่นดินไหวตาม ขนาด 5-6 และขนาด 4-5 สามารถสรุปได้ว่าแผ่นดินไหวที่จะมีผลกระทบต่อเขื่อนแม่สรวย เมื่อพิจารณาจากค่า
ความเร่งพื้นดินสูงสุดที่มากกว่า 0.05 g ระยะเวลาของการสั่นไหว และช่วงค่าความถี่จากการสั่นไหวที่รุนแรง คือ แผ่นดินไหวที่มีขนาด
ตั้งแต่ 4 ตามมาตราริกเตอร์ ขึ้นไป และต้องมีจุดศูนย์กลางอยู่ห่างจากที่ตั้งเขื่อนแม่สรวยไม่เกิน 10 กิโลเมตร เนื่องจากว่ามีการ
เปลี่ยนแปลงค่าของข้อมูลที่ได้จากเครื่องมือตรวจวัดพฤติกรรมเขื่อน จากการตรวจสอบเขื่อนแม่สรวยภายหลังการเกิดแผ่นดินไหวทาง
กายภาพด้วยสายตา ไม่พบว่าเขื่อนได้รับความเสียหายที่รุนแรงจากแผ่นดินไหว ซึ่งอาจมีความเป็นไปได้ว่าเนื่องจากเขื่อนแม่สรวยได้รับ
การออกแบบเพื่อต้านทานแรงกระทาของแผ่นดินไหว ด้วยวิธี pseudo static ค่าสัมประสิทธิ์ของการสั่นสะเทือน เท่ากับ 0.10 และ
เขื่อนแม่สรวยตั้งอยู่บนสภาพธรณีวิทยาฐานรากที่เป็นหินยุคไซลูเลียน-ดีโวเนียน ซึ่งในทางธรณีวิทยาจัดเป็นพื้นที่ที่ค่อนข้างเสถียรมาก
98 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

ระยะเวลาการสั่นไหวของพื้นดินที่รุนแรง ค่อนข้างสั้นกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับบริเวณที่เป็นที่ตั้งของชุมชนที่อยู่ทางด้านท้ายน้าของเขื่อน
แม่สรวยและชุมชนที่ตั้งอยู่ตามที่ราบลุ่มน้าแม่ลาว ซึ่งส่วนใหญ่เป็นตะกอนดินยุคปัจจุบันที่ยังไม่แข็งตัว ทาให้บริเวณที่เป็นที่ตั้ งของ
ชุมชนได้รับความเสียหายมากทั้งจากแผ่นดินไหวหลัก และแผ่นดินไหวตาม เนื่องจากถูกสั่นไหวอย่างต่อเนื่องและยาวนานกว่า ประการ
สุดท้ายที่สาคัญ คือ ค่าความถี่ธรรมชาติในการสั่นไหวของเขื่อนแม่สรวยอาจจะไม่สอดคล้องกับค่าความถี่จากการสั่นไหวที่รุนแรงของ
แผ่นดินไหว ซึ่งต้องมีการศึกษาอย่างละเอียดอีกครั้งหนึ่ง แต่เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในเรื่องความปลอดภัย เพื่อคืนความสุขให้กับราษฎร
หรือชุมชนที่อยู่บริเวณท้ายเขื่อนแม่สรวย และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อนแม่
สรวยให้ดียิ่งขึ้น จึงได้เสนอให้มีการติดตั้งเครื่องมือตรวจวัดความเร่งพื้นดินเพิ่มเติม บริเวณตีนเขื่อนแม่สรวย อีก 2 ชุด คือ บนฐานราก
ที่เป็นหิน 1 ชุด และฐานรากที่เป็นดิน 1 ชุด เนื่องจากค่าความเร่งพื้นดินที่ตรวจวัดได้จาก สถานี MSAC อาจเป็นค่าที่มีการขยายไปจาก
ความเป็นจริง ประมาณ 1-3 เท่า อันเป็นผลเนื่องมาจากสภาพภูมิประเทศบริเวณที่ตั้งเครื่องมือตรวจวัด ซึ่งตั้งอยู่บนสันเขื่อนแม่สรวยที่
สูงประมาณ 59 เมตร

กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณกลุ่มงานศิลากลศาสตร์และธรณีวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ส่วนวิศวกรรมธรณี สานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
กรมชลประทาน กรมอุตุนิยมวิทยา และกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ ที่สนับสนุนข้อมูลในการวิเคราะห์

เอกสารอ้างอิง
[1] ICOLD Bulletin 62. Inspection of dams following earthquake-guidelines. Committee on Seismic Aspects of Dam Design, Paris,1988
and 2007 Revision.
[2] กรมชลประทาน, รายงานสรุปผลการตรวจสอบเสถียรภาพเขื่อนแม่สรวย อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย และเขื่อนต่างๆ จากผลกระทบของ
แผ่นดินไหว เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557, 2557
[3] Kramer, S. L. Geotechnical Earthquake Engineering. Prentice Hall, New Jersey, 1996, pp. 54-105.
[4] ICOLD Bulletin 72. Selecting seismic parameters for large dams. Committee on Seismic Aspects of Dam Design, Paris, 1989 and
2010 Revision.
[5] Bolt, B. A. Duration of strong motion. Proceeding of the 4 th World Conference on Earthquake Engineering, Santiago, Chile,
1969,pp.1304-1315.
[6] Federal Emergency Management Agency. Federal Guidelines for Dam Safety: Earthquake Analyses and Design of Dams, FEMA
65, May 2005.
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 99

บทเรียนจากความเสียหายที่เกิดกับอาคารขนาดเล็กและขนาดกลาง
ในเหตุการณ์แผ่นดินไหวแม่ลาว จังหวัดเชียงราย

รศ. ดร.สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์1


ศ. ดร.เป็นหนึ่ง วานิชชัย2
1
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
2
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

บทคัดย่อ
เหตุการณ์แผ่นดินไหวแม่ลาว จังหวัดเชียงราย ขนาด 6.3 ตามมาตราริกเตอร์ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 ทาให้เกิดความเสียหายต่อ
อาคารจานวนมากโดยเฉพาะอาคารขนาดเล็กและขนาดกลางอาทิเช่น บ้านพักอาศัย ตึกแถว โรงเรียน ผลการสารวจความเสียหาย
ภายหลังเหตุการณ์แผ่นดินไหว ชี้ว่าอาคารเหล่านี้มักมีจุดอ่อนในโครงสร้างหลายรูปแบบ มีรูปทรงทางสถาปัตยกรรมหรือลักษณะทาง
โครงสร้างที่ไม่เหมาะสมต่อการต้านทานแผ่นดินไหว และยังมีการเสริมเหล็กโดยไม่มีการคานึงถึงแรงจากแผ่นดินไหว ทาให้อาคารขาด
กาลังและความเหนียว นอกจากนี้อาคารเหล่านี้มักมีผนังอิฐก่อซึ่งในบางกรณีสามารถช่วยเพิ่มความแข็งแรงของอาคารทาให้ต้านทาน
แรงแผ่นดินไหวได้ดีขึ้น แต่ในบางกรณีกลับส่งผลเสียทาให้อาคารเกิดความเสียหาย บทความนี้เป็นการสรุปผลการสารวจความเสียหาย
ของโครงสร้างจานวนหนึ่งจากการลงพื้นที่เกิดเหตุในบริเวณใกล้เคียงกับจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว บทเรียนจากความเสียหายเหล่านี้จะ
เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงวิธีการออกแบบและก่อสร้างอาคารในบริเวณที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวในประเทศไทย
คาสาคัญ : ความเสียหายของโครงสร้างอาคาร, แผ่นดินไหวแม่ลาว, แผ่นดินไหว, จังหวัดเชียงราย, ความไม่สม่าเสมอของรูปทรง
โครงสร้าง, ผนังอิฐก่อ

ABSTRACT
A magnitude 6.3 earthquake in Mae Lao, Chiang Rai Province, on May 5th 2014 caused widespread damage to
building structures particularly the small- and medium-sized buildings such as residential houses, commercial
shop houses, and schools. The observed damage indicated that those structures generally had irregularities that
adversely affected the response under earthquake loadings. In addition, these structures lack seismic detailing
leading to low ductility. Brick infill walls were used in these buildings. In some cases, the infill walls provided
additional strength to resist the ground shaking. However, in certain cases, the infill walls were the cause of
structural damage. This paper summarizes observed damage of building structures around the epicenter and
nearby areas. The observed damage provide useful lessons for future design and construction of buildings in
seismically active areas in Thailand.
KEYWORDS: Structural Damage, Earthquake, Mae Lao Earthquake, Chiang Rai Earthquake, Irregularities, Infill Walls

1. บทนา
เหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 6.3 ตามมาตราริกเตอร์ ที่จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 ได้ส่งผลกระทบกับผู้คน
และอาคารเป็นจานวนมาก จากการประเมินด้วยโปรแกรมคานวณของศูนย์เตือนภัยพิบัตินานาชาติ (RIMES) หลังจากเกิดแผ่นดินไหว
(รูปที่ 1) พบว่าในบริเวณจุดศูนย์กลางมีระดับความรุนแรงในรูปแบบ Modified Mercalli Intensity (MMI) ที่ระดับ VII ถึง VIII และมี
ความเร่งผิวดินโดยประมาณ 0.2g ถึง 0.3g เหตุการณ์แผ่นดินไหวส่งผลกระทบคลอบคลุมหลายๆ อาเภอในบริเวณรอบจุดศูนย์กลาง
โดยเฉพาะในบริเวณเขตอาเภอแม่ลาว แม่สรวย พาน และบางส่วนของบริเวณอาเภอเมือง จากการลงพืน้ ที่เพื่อสารวจความเสียหายใน
บริเวณรอบๆ จุดศูนย์กลาง พบว่าอาคารหลายๆหลัง เกิดความเสียหายขึ้นในระดับรุนแรงโดยความเสียหายที่พบจะเกิดในอาคารขนาด
เล็กและขนาดกลาง อาทิเช่น บ้านพักอาศัย ตึกแถว และ โรงเรียน ในปัจจุบันกฎหมาย [1] กาหนดให้อาคารที่มีความสูงมากกว่า 15
เมตรและอาคารสาธารณะ ต้องมีการออกแบบต้านทานแผ่นดินไหว อาคารส่วนมากที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว แม่
ลาว มีความสูงไม่ถึงเกณฑ์ที่กาหนดไว้ หรือเป็นอาคารเก่าที่ก่อสร้างก่อนที่จะมีกฎหมายบังคับในเรื่องของแผ่นดินไหว นอกจากนั้น
อาคารขนาดเล็กอาคารเหล่านี้ ส่วนมากจะมีการก่อสร้างที่อาจจะไม่ได้อยู่ภายใต้การควบคุมงานของวิศวกรเช่นเดียวกับอาคารขนาด
ใหญ่
บทความนี้จะส่งเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารวิศวกรรมสาร ฉบับวิจัยและพัฒนาต่อไป
100 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

บทความนี้เป็นการสรุปผลการสารวจความเสียหายต่อโครงสร้างอาคารที่ได้พบจากการสารวจ อาคารที่เกิดความเสียหายขึ้นมี
ลักษณะเหมือนอาคารที่มีการใช้งานอยู่ทั่วไปในประเทศไทย ข้อสังเกตที่ได้จากการศึกษาลักษณะความเสียหายในโครงสร้างอาคารจาก
เหตุการณ์แผ่นดินไหวที่จังหวัดเชียงรายจึงเป็นบทเรียนที่สาคัญ สาหรับเป็นแนวทางการออกแบบก่อสร้างอาคารหรือเสริมกาลังอาคาร
ในบริเวณที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวในประเทศไทย

MMI
VIII

VII
VII

รูปที่ 1 แผนที่แสดงความรุนแรงของการสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว (ShakeCast Map) โดยการคานวณด้วยโปรแกรมของ


ศูนย์เตือนภัยพิบัตินานาชาติ (RIMES)

2. ลักษณะอาคารขนาดเล็กและขนาดกลางในบริเวณจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว
ลักษณะอาคารขนาดเล็กและขนาดกลางที่มีการก่อสร้างในพื้นที่บริเวณศูนย์กลางแผ่นดินไหวและพื้นที่อื่นๆ ของประเทศไทย
เป็นอาคารที่ถูกออกแบบไว้รับเฉพาะน้าหนักตัวอาคารและน้าหนักบรรทุกจากการใช้งานปกติเท่านั้นโดยไม่มีการคานึงถึงแรงจาก
แผ่นดินไหว ดังนั้นอาคารเหล่านี้จึงมั กจะมีกาลังต้านทานแรงด้านข้างที่น้อย นอกจากนั้นในกรณีที่เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
อาคารเหล่านี้มักจะมีโครงสร้างหรือลักษณะการเสริมเหล็กที่ไม่เอื้อกับการต้านทานแรงด้านข้าง ลักษณะโครงสร้างและการเสริมเหล็กที่
นิยมใช้กับอาคารเหล่านี้มีลักษณะดังแสดงในรูปที่ 2 คือ
1. เสามีขนาดเล็กเนื่องจากจานวนชั้นและพื้นที่ใช้สอยน้อยทาให้น้าหนักที่ส่งถ่ายลงมายังเสามีค่าไม่สูงมาก และเสาโดยมาก
จะมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับคาน
2. เสาและคานมีการใช้เหล็กปลอกในปริมาณน้อยและมีระยะห่างค่อนข้างมากเมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานการเสริมเหล็ก
สาหรับอาคารที่ต้องต้านทานแรงแผ่นดินไหว [2]
3. มีการต่อทาบเหล็กเสริมที่บริเวณโคนเสา เพื่อสะดวกกับการก่อสร้าง
4. จุดต่อคานกับเสาไม่แข็งแรงและไม่มีการเสริมเหล็กปลอกภายในจุดต่อ
5. มีการหยุดการก่อสร้างและมีรอยต่อ (Construction Joints) ที่ตาแหน่งด้านบนหรือด้านล่างของจุดต่อคาน-เสา
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 101

รูปที่ 2 ลักษณะการก่อสร้างอาคารขนาดเล็กและขนาดกลางที่ไม่ได้ออกแบบให้ต้านทานแรงแผ่นดินไหว

ถึงแม้ว่าอาคารขนาดเล็กและขนาดกลางเหล่านี้ จะมีลักษณะการก่อสร้างและเสริมเหล็กที่ไม่เอื้อกับการต้านทานแรงด้านข้างและ
ไม่ได้ออกแบบให้ต้านทานแรงจากแผ่นดินไหวโดยตรง แต่อาคารเหล่านี้อาจจะมีกาลังเสริมจากปัจจัยต่างๆ เช่นมีการใช้ผนังก่ออิฐซึ่งมี
ความแข็งแรงในตัว หรือวัสดุต่างๆ อาจจะมีกาลังสูงกว่าที่ระบุหรือที่ต้องการใช้ ทาให้อาคารมีกาลังในการต้านทานแรงด้านข้างได้ระดับ
หนึ่ง หากกาลังนี้สูงเพียงพอ คือสูงกว่าแรงเฉื่อย (Inertia Force) ที่เกิดจากการสั่นสะเทือน อาคารก็จะไม่เสียหายมาก ในส่วนอาคารที่
ได้รับความเสียหายรุนแรงที่พบเห็นจากการสารวจ เกือบทั้งหมดมักจะต้องมีปัจจัยอื่นมาประกอบ อาทิเช่น มีรูปทรงทางสถาปัตยกรรม
หรือโครงสร้างที่ไม่เหมาะสม หรือมีวัสดุและลักษณะการก่อสร้างที่ไม่ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม ทาให้เกิดมีจุดอ่อนขึ้น ในเส้นทางการ
ถ่ายแรง (Load Path) ของระบบโครงสร้าง
ลักษณะอาคารที่พบความเสียหายจากการสารวจสามารถจาแนกตามลักษณะกลุ่มอาคารได้ คือ อาคารโรงเรียน อาคารบ้านพัก
อาศัย อาคารสาธารณะ และอาคารพาณิชย์ รูปที่ 3 แสดงตาแหน่งอาคารที่ทาการสารวจ เปรียบเทียบกับตาแหน่งจุดศูนย์กลางของ
แผ่นดินไหว ความเสียหายที่สารวจพบสามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้
102 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

รูปที่ 3 แสดงตาแหน่งอาคารที่ทาการสารวจ และตาแหน่งศูนย์กลางของแผ่นดินไหว

3. ความเสียหายทางโครงสร้าง
3.1 อาคารโรงเรียน
อาคารโรงเรียนเป็นกลุ่มอาคารที่ได้รับความเสียหายค่อนข้างมาก ทั้งนี้เนื่องจากเป็นอาคารที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่เมื่อเทียบกับ
อาคารในบริเวณที่ได้รับผลกระทบ นอกจากนี้ยังมีลักษณะต่างๆ ที่ทาให้อาคารมีความเสี่ยงสูงจากแผ่นดินไหว อาทิเช่น มีลักษณะชั้น
ล่างเปิดโล่งสาหรับทากิจกรรม ทาให้ชั้นล่างของอาคารมีความอ่อนแอกว่าชั้นอื่นๆ มีแนวโน้มที่จะเกิดการพังทลายแบบชั้นอ่อน (Soft
Story) คานมีขนาดใหญ่เทียบกับขนาดของเสาเนื่องจากลักษณะการใช้งานอาคารที่ต้องการให้ช่วงเสากว้าง ทาให้คานต้องรับแรงดัดที่
ค่อนข้างมาก อาคารจึงมีแนวโน้มที่จะเกิ ดการพังทลายแบบเสาอ่อน-คานแข็ง (Weak Column Strong Beam) กลุ่มตัวอย่างอาคาร
โรงเรียนที่ทาการสารวจมีทั้งสิ้น 5 โรงเรียน ตั้งอยู่ในตาแหน่งที่มีระยะทางจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวแตกต่างกันไปดังนี้
อาคารโรงเรียนธนาคารวัดเหมืองง่าพิเศษวิทยา เป็นอาคารที่มีความสูงสามชั้น ตั้งอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวประมาณ
20 กิโลเมตร ลักษณะรูปแปลนอาคารเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า ฝั่งริมด้านหนึ่งของอาคารใช้เป็นช่องบันได และมีการก่ออิฐโดยรอบ ตัวอาคาร
มีชั้นล่างเปิดโล่งและยกสูงกว่าชั้นอื่นๆเพื่อเป็นพื้นที่กิจกรรม ชั้นบนของอาคารมีการก่อผนังกั้นเป็นห้องเรียน ลักษณะความเสียหายที่
พบเกิดขึ้นที่ชั้นล่างบริเวณโคนเสา โดยพบว่าเสาเกิดการแตกร้าวขึ้นจานวนหลายต้น ลักษณะความเสียหายจะเริม่ เห็นได้จากเสาบริเวณ
ริมด้านหนึ่งของอาคารและค่อยๆ เสียหายรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ไปยังอีกด้านหนึ่งของอาคาร (รูปที่ 4) ความเสียหายในลักษณะนี้เกิด
จากการที่อาคารมีการบิดตัวไปมาระหว่างการเกิดแผ่นดินไหว การบิดตัวนี้เกิดจากการที่อาคารมีผนังอิฐก่ออยู่ที่บริเวณริมด้านหนึ่ง
บริเวณรอบช่องบันได ผนังก่ออิฐนี้ทาให้อาคารมีส ติฟเนสที่สูงกว่าที่ปลายอีกด้านหนึ่งของอาคาร อาคารฝั่งที่มีสติฟเนสสูงกว่าจึงมีการ
เคลื่อนตัวน้อยกว่าฝั่งที่ไม่มีผนังอิฐก่อ อาคารจึงเกิดการโยกตัวในลักษณะการบิดตัวไปมา นอกจากนี้การที่อาคารมีชั้นล่างที่เปิดโล่งและ
มีชั้นบนที่ค่อนข้างแข็งแรงจากการใช้ผนังอิฐกั้นเป็นห้องๆ ทาให้มีการเสียรูปไปเกิดขึ้นมาก (Deformation Concentration) ที่ชั้นล่าง
ของอาคาร และเนื่องจากชั้นล่างเป็นชั้นที่เปิดโล่งทาให้ชั้นล่างอ่อนแอกว่าชั้นอื่นๆ และยังเป็นชั้นที่ถูกแรงกระทาจากแผ่นดินไหวสูง สุด
จึ งท าให้ เสาเกิ ดการวิบั ติขึ้ น ลั ก ษณะการแตกร้า วของเสาที่พ บในเสาบริเวณที่ใ กล้ริ มอาคารด้านที่มีผนั ง จะเกิ ด การแตกร้าวใน
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 103

แนวตั้งฉากกับแนวแกนของเสา ซึ่งเป็นลักษณะการแตกร้าวที่เกิดจากแรงดัด (Flexural Crack) ส่วนเสาในบริเวณด้านที่ไกลจากด้านที่


มีผนัง ลักษณะการแตกร้าวเกิดขึ้นไปตามแนวเหล็กเสริม (ตามแนวแกนของเสา) ซึ่งรอยแตกร้าวลักษณะนี้ น่าจะมีสาเหตุมาจากการ
วิบัติที่บริเวณการต่อทาบของเหล็กเสริม (Lap Splice Failure) ที่มีช่วงความยาวการต่อทาบที่น้อยเกิดไปประกอบกับการใช้เหล็ก
ปลอกที่ไม่เพียงพอ เมื่อเหล็กเสริมรับแรงดึงจึงดันให้คอนกรีตเกิดการแตกร้าว จากลักษณะความเสียหายจะเห็ นว่าคานนั้นแทบจะไม่มี
ความเสียหายเกิดขึ้น ทั้งนี้เป็นผลจากการที่คานมีกาลังในการรับแรงดัดสูงกว่าเสาอย่างมีนัยสาคัญ ลักษณะการเสียรูปจึงมีลักษณะเป็น
แบบ เสาอ่ อ น คานแข็ ง (Weak Column – Strong Beam) ซึ่ ง เป็ น รู ป แบบที่ ไ ม่ พึ ง ประสงค์ ส าหรั บ อาคารที่ ต้ อ งต้ า นทานแรง
แผ่นดินไหว
จากความเสียหายที่พบ จะเห็นได้ว่า การจัดวางรูปร่างรูปทรงให้มีความสมมาตร อาทิเช่น มีการใช้ช่องบันไดหรือโครงสร้างที่มี
สติฟเนสสูงเท่าๆ กันในทั้งสองฝั่งของอาคาร และหลีกเลี่ยงการที่ไม่ให้มีชั้นใดชั้นหนึ่งของอาคารอ่อนแอกว่าชั้นอื่นๆ จะทาให้ลดโอกาส
การเกิดการวิบัติขึ้นกับอาคารจากการบิดตัวและจากการเกิด Soft Story ได้

รูปที่ 4 อาคารโรงเรียนเสียหายจากการบิดตัวของอาคาร รูปแสดงความเสียหายเรียงจากฝั่งซ้ายของอาคารมายังฝั่งขวาของอาคาร


อาคารโรงเรียนพานพิทยาคม (รูปที่ 5) เป็นอาคารที่มีความสูงสี่ชั้น ตั้งอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางประมาณ 20 กิโลเมตร ตัวอาคาร
มีลักษณะคล้ายกับโรงเรียนทั่วๆ ไป คือชั้นล่างมีลักษณะเปิดโล่งและยกสูงเพื่อเป็นพื้นที่กิจกรรม ส่วนชั้นบนมีการก่อผนังกั้นเป็นห้อ ง
ต่อมาในภายหลังทางโรงเรียนได้มีการก่อผนังในชั้นล่างของอาคารเพื่อปิดเป็นพื้นที่ใช้งาน ลักษณะรูปแปลนอาคารเป็นสี่เหลีย่ มผืนผ้า มี
โถงบันไดอยู่ที่ฝั่งซ้ายและขวาที่ระยะประมาณ 1 ใน 3 ของความกว้างของอาคาร ทาให้อาคารหลังนี้มีลักษณะค่อนข้างสมมาตร
ลักษณะความเสียหายที่พบประกอบด้วย ผนังก่ออิฐแตกร้าว และมีการวิบัติของเสาเกิดขึ้นที่ชั้นล่างของอาคาร (รูปที่ 6) ตาแหน่งที่เกิด
การวิบัติขึ้นอยู่ที่บริเวณช่วงประมาณหนึ่งในสามของความสูงเสาเหนือผนังก่ออิฐ เสาที่วิบัติมีจานวนมากกว่า 10 ต้นจากจานวนเสา
ทั้งหมดประมาณ 20-30 ต้น ลักษณะการวิบัติเกิดจากแรงเฉือนและมีรอยร้าวในแนวทแยงเป็นรูปกากบาท ดังรูปที่ 6 ลักษณะความ
เสียหายลักษณะนี้เป็นลักษณะที่อันตรายมากเนื่องจากเสาจะสูญเสียกาลังรับน้าหนักในแนวดิ่ง การที่มีเสาเสียหายในลักษณะนี้มากกว่า
10 ต้น หมายถึงว่าสภาพอาคารอยู่ในภาวะที่มีกาลังรับแรงในแนวดิ่งจากน้าหนักตัวอาคารต่าลงเป็นอันมาก และเสถียรภาพอาคาร
ได้รับผลกระทบ
จากการตรวจสอบแบบก่อสร้างพบว่าเสาที่ใช้มีขนาดกว้าง 0.3เมตร และลึก 0.45 เมตร (รูปที่ 7) ลักษณะรอยร้าวที่พบเกิดขึ้นใน
ทิศทางด้านแคบของเสาเป็นหลัก รอยแตกร้าวในแนวทแยงเป็นรูปกากบาทที่พบมีสาเหตุมาจากการวิบัติด้วยแรงเฉือน ซึ่งอาจจะเกิด
จากการที่ผนังอิฐก่อไปยึดรั้งการเคลื่อนตัวของเสา ทาให้เสามีความยาวลดลงจึงเหนี่ยวนาให้เกิดแรงเฉือนที่สูงขึ้น ลักษณะการยึดรั้ง
และแรงเฉือนที่มากขึ้นนี้เกิดขึ้นในทิศทางด้านแคบของเสาซึ่งมีกาลังต้านทานแรงเฉือนที่น้อยอยู่แล้ว และเมื่อพิจารณาการเสริมเหล็ก
ปลอกในเสา จะพบว่าระยะห่างของเหล็กปลอกนั้นอยู่ที่ 25 ซม ซึ่งห่างมากกว่าค่า d/2 สาหรับทิศทางด้านสั้นของเสา ในส่วนทางด้าน
ลึกของเสานั้นจะพบว่าเสาสามารถเคลื่อนตัวได้อย่างอิสระมากกว่าเนื่องจากไม่มีการยึดรั้งของผนัง นอกจากนั้นในทางด้านลึกของเสา
ระยะห่างของเหล็กปลอกตามขวาง จะมีค่ามากกว่า d/2 เพียงเล็กน้อย ดังนั้นกาลังรับเฉือนในทิศทางนี้จึงมีค่าสูงกว่าในทิศทางด้าน
แคบอย่างมาก ในการคานวณออกแบบของวิศวกรทั่วไปนั้น จะไม่ได้มีการพิจารณาถึงพฤติกรรมของผนังอิฐก่อ โดยจะถือว่าเป็นส่วน
ของงานสถาปัตยกรรม อย่างไรก็ตามผลจากการศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างผนังอิฐก่อกับโครงอาคาร [3,4] พบว่าผนังอิฐก่อมีกาลังรับ
แรงและสติฟเนสที่สูงค่อนข้างมาก ซึ่งในหลายๆ กรณีอาจจะเป็นผลดีกับอาคาร แต่ในบางกรณีก็อาจส่งผลทาให้เกิดรูปแบบการวิบัติที่
ไม่พึงประสงค์ได้ โดยเฉพาะเมื่อผนังไปรั้งองค์อาคารบางส่วนทาให้องค์อาคารเหล่านั้นไม่สามารถเสียรูปแบบอิสระได้ ผนังอาจจะทาให้
104 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

เกิดแรงภายในเสาที่มากขึ้นและนาไปสู่การวิบัติได้ หากยังมีการใช้ผนังก่ออิฐแบบที่พบในอาคารโรงเรียนพานพิทยาคม จะต้องมีการ


เสริมเหล็กให้มีกาลังรับแรงเฉือนมากขึ้นและมีการใส่เหล็กปลอกเป็นพิเศษที่บริเวณโคนเสา ปลายเสา และบริเวณเหนือผนังอิฐก่อ

รูปที่ 5 สภาพภายนอกอาคารโรงเรียนพานพิทยาคม

รูปที่ 6 ความเสียหายในอาคารโรงเรียนพานพิทยาคม
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 105

รูปที่ 7 หน้าตัดเสาอาคารโรงเรียนพานพิทยาคม

โรงเรียนแม่ลาววิทยาคม ประกอบด้วยกลุ่มอาคารที่มีความสูง 2-3 ชั้น ตั้งอยู่ใกล้จุดศูนย์กลาง โดยตั้งอยู่ห่างประมาณ 10


กิโลเมตร จากการสารวจพบความเสียหายในหลายอาคาร โดยเฉพาะอาคารที่มีความสูง 2 และ 3 ชั้น ความเสียหายที่พบมีหลาย
รูปแบบ แต่ที่เห็นเด่นชัดประกอบด้วยการแตกร้าวของผนังอิฐก่อ การแตกร้าวในเสาโดยเฉพาะที่บริเวณจุดต่อของคานและเสา ลักษณะ
การแตกร้าวในบริเวณจุดต่อที่พบแบ่งออกเป็นสองลักษณะคือ การแตกเป็นแนวทแยงอันเนื่องมาจากแรงเฉือนในจุดต่อ (Joint Shear)
ดังรูปที่ 8 อีกลักษณะคือการเกิดการเลื่อนไถลจากแรงเฉือน (Shear Sliding) เนื่องจากมีรอยต่อของการก่อสร้าง (Construction
Joint) ดังรูปที่ 9 จากรูปจะสังเกตได้ว่ารอยต่อมีลกั ษณะเกือบจะเรียบเป็นแนวตรง ทั้งนี้เนื่องจากอาจจะมีการหยุดการก่อสร้างหลังจาก
ที่เทเสาแล้วเสร็จเป็นระยะเวลานาน เมื่อทาการก่อสร้างต่อไม่ได้มีการเตรียมผิวรอยต่อให้มีความขรุขระ (Roughened Surface) เมื่อ
ต้องรับแรงเฉือนอันเนื่องจากแรงแผ่นดินไหวทาให้รอยต่อเกิดการเลื่อนไถลขึ้น
ลักษณะความเสียหายที่อาจทาให้เกิดอันตรายได้อีกรูปแบบหนึ่งที่พบในอาคารของโรงเรียนแม่ลาววิทยาคม คือการหลุดล่วงลง
ของผนังอิฐที่ขอบอาคาร (Parapet) เนื่องจากมีแรงด้านข้างมากระทา โดยเฉพาะผนังส่วนที่ก่อปิดโครงถักบริเวณหลังคาด้านสกัดของ
อาคาร (รูปที่ 10) ผนังก่ออิฐลักษณะนี้เกิดความเสียหายได้ง่ายเนื่องจากความเร่งที่ตาแหน่งด้านบนของอาคาร อาจจะมีค่ามากเป็น 2-3
เท่าของความเร่งที่ผิวดิน ทาให้เกิดแรง Inertia Force กระทากับผนังจนล้มคว่าลงมาดังรูป โดยส่วนมากงานผนังเหล่านี้จะถือว่าเป็น
ส่วนหนึ่งของงานสถาปัตยกรรม จึงมักจะไม่ได้ให้ความสาคัญเกี่ยวกับความสามารถในด้านการต้านทานแรง แต่เนื่องจากผนังเหล่านี้ตก
ลงจากที่สูงซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ ดังนั้นจึงควรมีการให้รายละเอียดและการยึดรั้งให้ดีขึ้น อาทิเช่นมีการใช้เสาและคานเอ็นโดยมี
การฝากเสริมเหล็กเข้าไปที่โครงสร้างหลักของอาคาร
106 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

รูปที่ 8 ความเสียหายบริเวณจุดต่อและเสาจากแรงเฉือนของอาคารเรียน โรงเรียนแม่ลาววิทยาคม

รูปที่ 9 ความเสียหายบริเวณจุดต่อและเสาจากการเคลื่อนตัวที่รอยต่อการก่อสร้างของอาคารเรียน โรงเรียนแม่ลาววิทยาคม


การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 107

รูปที่ 10 ความเสียหายภายนอกโรงเรียนแม่ลาววิทยาคม ผนังก่ออิฐที่อยู่บนด้านสกัดของหลังคาหลุดล่วง

นอกจากอาคารในบริเวณใกล้กับจุดศูนย์กลาง อาคารโรงเรียนในบริเวณที่ห่างจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว เช่นในบริเวณอาเภอ


เมืองเชียงราย ซึ่งห่างจากจุดศูนย์กลางถึงประมาณ 30 กิโลเมตร มีการสารวจพบความเสียหายในอาคารโรงเรียนบางแห่ง เช่น อาคาร
โรงเรียนเทศบาล 4 และ โรงเรียนเทศบาล 1 ลักษณะความเสียหายที่พบ (รูปที่ 11) จะเกิดในบริเวณแนวโครงอาคารที่มีผนังอิฐก่อ
ทั้งนี้สาเหตุเนื่องมาจากผนังอิฐก่อมีความแข็งแรงมากทาให้แนวโครงอาคารที่มีผนังมีสติฟเนสสู งกว่าบริเวณอื่น จึงทาให้เกิดแรงภายใน
สูงขึ้นในบริเวณเหล่านั้น จากการศึกษาพฤติกรรมอาคารที่มีผนังอิฐก่อในห้องปฏิบัติการ [4] พบว่าผนังอิฐก่อลักษณะที่นิยมใช้ใน
ประเทศ สามารถทาให้โครงอาคารมีสติฟเนสสูงมากขึ้นกว่า 3 เท่าตัวเมื่อเทียบกับโครงอาคารที่ไม่มีผนัง ดังนั้นในการเคลื่อนตัวที่เท่าๆ
กัน แนวโครงอาคารที่มีผนังอิฐก่อ อาจจะมีแรงกระทาสูงกว่าในโครงอาคารที่ไม่มีผนังหลายเท่าตัวก็เป็นได้ สิ่งที่หน้าสังเกตคือ อาคาร
เหล่านี้ตั้งอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางพอสมควร แต่ถึงกระนั้นก็ยังมีความเสียหายเกิดขึ้นถึงแม้ว่าจะไม่รุนแรงมาก แต่ ก็แสดงให้เห็นว่า
ลักษณะโครงอาคารโรงเรียนเหล่านี้มีความเปราะบางมาก หากเกิดแผ่นดินไหวขึ้นใกล้เคียงกับบริเวณตัวเมืองที่มีจานวนโรงเรียนเป็นอัน
มาก อาจจะทาให้เกิดความสูญเสียอย่างสูง ดังนั้นจึงควรมีการเตรียมการเสริมกาลังหรือปรับปรุงโครงอาคารโรงเรียนในบริเวณเขตเสี่ยง
ภัยต่อแผ่นดินไหว
108 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

รูปที่ 11 ความเสียหายโครงสร้าง โรงเรียนในเขตอาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

3.2 อาคารบ้านพักอาศัย
กลุ่มอาคารบ้านพักอาศัย เป็นกลุ่มอาคารอีกประเภทที่ได้รับความเสียหายจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว ในบริเวณเขตอาเภอที่ได้รับ
ผลกระทบ มีการสร้างบ้านที่มีลักษณะรูปทรงหลายแบบ รูปแบบหรือลักษณะทางกายภาพของบ้านพักอาศัยในปัจจุบันเป็นผลจากการ
ผสมผสานทางวัฒนธรรมไทยกับแนวคิดและวัสดุการก่อสร้างบ้านแบบตะวันตก ลักษณะการก่อสร้างบ้านตามวัฒนธรรมไทยที่ยัง
ได้รับความนิยม คือ มีการยกใต้ถุนสูง ใช้หลังคาจั่ว และมีพื้นที่โถงกว้างหรืออาจแบ่งเป็นส่วนหน้า และหลังบ้าน วัสดุการก่อสร้างที่นิยม
คือ คอนกรีต ร่วมกับการใช้ไม้ หรือโครงหลังคาเหล็ก
อาคารบ้านพักอาศัยหลังแรก (รูปที่ 12) เป็นอาคาร คสล สูงสามชั้น ที่กาลังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง อาคารตั้งอยู่ในบริเวณ
ศูนย์กลางแผ่นดินไหวที่ บ้านห้วยส้านยาว อาเภอแม่ลาว อาคารเกิดความเสียหายรุนแรงโดยเสาชั้นล่างหักจนอาคารถล่ม อาคารหลังนี้
มีลักษณะหลายประการที่ทาให้อาคารมีความอ่อนแอ เช่น อาคารมีใต้ถุนยกสูงมีลักษณะเป็นชั้นอ่อนแอ (Soft Story) เสามีขนาดเล็ก
เมื่อเทียบกับขนาดและน้าหนักของอาคาร เหล็กยืนในเสามีปริมาณที่ค่อนข้างน้อยและไม่มีความต่อเนื่องไปยังเสาในชั้นถัดไป เนื่องจาก
อาคารก่อสร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กจึงทาให้อาคารหลังนี้มีน้าหนักค่อนข้างมาก ส่งผลให้แรงจากแผ่นดินไหวสูงตามน้าหนักอาคาร
เสาจึงไม่สามารถต้านทานแรงที่เกิดขึ้นจากแผ่นดินไหวได้ นอกจากนี้ตัวอาคารตั้งอยู่บริเวณที่เป็นเนิน ทาให้เสามีความยาวที่ไล่ลาดับ
จากมากไปน้อย ในกรณีที่เสามีความสูงแตกต่างกันเช่นนี้ จะทาให้การกระจายแรงจากแผ่นดินไหวไปยังเสาแต่ละต้นไม่เท่ากันเนื่องจาก
สติฟเนสที่แตกต่างกัน แรงที่ต่างกันนั้นจะทาให้เสาต้นที่มีสติฟเนสสูงที่สุดต้องรับภาระมากกว่าเสาต้นอื่นๆ เมื่อเสาต้นใดต้นหนึ่งเกิด
การวิบัติก็จะส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมโดยรวมและทาให้การวิบัติรุนแรงมากขึ้น
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 109

รูปที่ 12 อาคารบ้านพักอาศัยที่ถล่มจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว

อาคารพักอาศัยที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับอาคารสามชั้นข้างต้น มีลักษณะเป็นบ้านไม้ที่ตั้งอยู่บนเสาคอนกรีต (รูปที่ 13) โดยที่


เสาคอนกรีตจะหยุดที่พื้นชั้นที่สอง จากการสังเกตภายนอกไม่พบความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อโครงสร้าง สาเหตุสาคัญน่าจะมาจากการที่
อาคารมีน้าหนักเบา ทาให้แรงแผ่นดินไหวมีค่าน้อย และเนื่องจากอาคารไม้สามารถโยกตัวและเสียรูปได้ดีว่าอาคารคอนกรีต อาคาร
หลังนี้และอาคารไม้ที่พบโดยทั่วไปจึงได้รับความเสียหายที่ค่อนข้างน้อย

รูปที่ 13 อาคารไม้ที่พบเห็นได้ทั่วไปในบริเวณศูนย์กลางแผ่นดินไหว

อาคารพักอาศัยหลังทีส่ าม ตั้งอยู่ที่ บ้านท่ามะโอ อาเภอแม่ลาว ในบริเวณศูนย์กลางแผ่นดินไหว อาคารได้รับความเสียหายรุนแรง


จนอาคารพังถล่มลง (รูปที่ 14) ลักษณะอาคารเป็นอาคารสองชั้น พื้น คานและเสา เป็นคอนกรีตเสริมเหล็กและมีหลังคาเป็นไม้
ลักษณะการวิบัติที่เกิดขึ้นเป็นแบบชั้นอ่อนเช่นเดียวกับอาคารพักอาศัยหลังแรก ความเสียหายที่พบแสดงว่ากาลังรับแรงเฉือนของจุดต่อ
และกาลังรับแรงดัดของเสามีไม่เพียงพอที่จะต้านทานแรงที่เกิดขึ้น เมื่อเกิดการวิบัติในจุดใดจุดหนึ่งจึงส่งผลให้อาคารพังถล่มลงมา
110 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

รูปที่ 14 อาคารพักอาศัย เกิดการวิบัติแบบชั้นอ่อน

อาคารบ้านพักอาศัยหลังที่สี่ เป็นอาคาร คสล ชั้นเดียว ที่ตัวบ้านยกสูงขึ้นจากพื้น ประมาณ 0.5 เมตร มีลักษณะรูปทรงอาคาร


เป็นรูป L ลักษณะความเสียหายที่พบมีลักษณะของชั้นอ่อนร่วมกับการบิดตัวของอาคาร จากการสารวจพบการวิบัติของเสาตอม่อรอบ
ตัวอาคาร โดยที่ความเสียหายจะเกิดมากโดยเฉพาะเสาตอม่อที่อยู่ริมอาคาร (รูปที่ 15) ส่วนเสาตอม่อที่อยู่ด้านใน จากการตรวจสอบ
พบความเสียหายน้อยมาก ลักษณะความเสียหายเช่นนี้สอดคล้องกับการที่อาคารเกิดการบิดตัว เนื่องจากอาคารมีรูปร่างรูปทรงที่ไม่
สมมาตร ทาให้เสาริมนอกของอาคารมีการเสียรูปสูง ประกอบกับลักษณะอาคารที่ใช้ใต้ถุนมีลักษณะเป็นชั้นที่อ่อนแอ และเสามีลักษณะ
เป็นเสาสั้นจึงทาให้เกิดแรงเฉือนที่สูง ในกรณีที่การเสริมเหล็กปลอกเพื่อรับแรงเฉือนไม่เพียงพอก็จะเกิดการวิบัติขึ้น

รูปที่ 15 ความเสียหายที่พบในเสาตอม่อริมอาคาร และ เสาตอม่อภายในอาคาร

3.3 อาคารสาธารณะ
กลุ่มอาคารสาธารณะที่สารวจ ประกอบด้วยวัด โรงพยาบาล และอาคารชุมชนต่างๆ อาคารสาธารณะเป็นกลุ่มอาคารอีกกลุ่มหนึง่
ที่ได้รับความเสียหายจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว เนื่องจากเป็นอาคารที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่เมื่อเทียบกับอาคารในบริเวณเดียวกัน จาก
การสารวจพบความเสียหายหลายๆ รูปแบบ ประกอบด้วย
โรงพยาบาลแม่ลาว เป็น อาคาร คสล ความสูง 2 ชั้น ตั้งอยู่ห่างจากศูนย์กลางแผ่นดินไหวประมาณ 12 กิโลเมตร ประกอบด้วย
อาคารสองส่วน คือ ส่วนอาคารเดิมและส่วนอาคารที่ก่อสร้างเพิ่มเติมในภายหลัง อาคารทั้งสองส่วนแยกจากกันด้วยรอยต่อโครงสร้าง
กว้างประมาณ 2 ซม ความเสียหายหลักที่พบจะเกิดขึ้นที่บริเวณรอยต่อดังกล่าว (รูปที่ 16) โดยมีลักษณะที่เกิดจากการกระแทก
(Pounding) ของอาคารขณะที่อาคารทั้งสองฝั่งสั่นไหว ในภาพรวมความเสียหายทางโครงสร้างถือว่าไม่รุนแรง อย่างไรก็ตามหาก
พิจารณาว่าอาคารที่มีความสูงประมาณ 3.5 เมตร และมีรอยต่อระหว่างอาคารที่กว้างเท่ากับ 2 ซม จะสามารถรองรับการเคลื่อนตัว
สัมพัทธ์ในแต่ละอาคารได้เพียงประมาณร้อยละ 0.3 ของความสูงเท่านั้น ซึ่งถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับค่าการเสียรูปของอาคารตามที่
มาตรฐานการออกแบบสมัยใหม่คาดหวังไว้คือที่ประมาณร้อยละ 1.5 ถึง ร้อยละ 2 ของความสูง ดังนั้นหากเกิดแผ่นดินไหวที่รุนแรงใน
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 111

ระดับออกแบบ การเกิดการกระแทกกันของอาคารอาจจะรุนแรง ส่งผลทาให้เกิดความเสียหายได้ในจุดที่สาคัญอื่นๆ ได้จากแรง


กระแทกที่เกิดขึ้น

รูปที่ 16 โรงพยาบาลแม่ลาวและความเสียหายจากการกระแทกกันของอาคาร

วัดดงมะเฟือง อาเภอแม่ลาว ตั้งอยู่ห่างจากศูนย์กลางแผ่นดินไหวประมาณ 10 กิโลเมตร ประกอบด้วยอาคารอุโบสถซึ่งเป็น


อาคารที่ค่อนข้างเก่าและอาคารศาลาซึ่งน่าจะก่อสร้างในเวลาต่อมา ความเสียหายที่พบมีทั้งส่วนที่เป็นโครงสร้างและส่วนของงาน
สถาปัตยกรรม (รูปที่ 17 และ 18) ในส่วนของอุโบสถ พบความเสียหายในส่วนของโครงสร้าง ผนัง และ หลังคา รวมถึงองค์พระ
ประธาน ความเสียหายในส่วนโครงสร้างพบรอยร้าวในบางบริเวณในจุดที่โครงสร้างอ่อนแอ ในส่วนของงานสถาปัตยกรรม มีกระเบื้อง
และผนังเกิดการหลุดกระเด็นเนื่องจากแผ่นดินไหว การที่กระเบื้องหลังคาหลุดปลิวออกจากหลังคาเกิดจากความเร่งที่หลังคาซึ่งอาจจะ
มีค่าสูง การหลุดล่ว งของกระเบื้องหลังคาเช่นนี้อาจทาให้เกิดอันตรายกับผู้ที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับอาคารได้ ในปัจจุบันการให้
รายละเอียดเกี่ยวการยึดชิ้นส่วนงานสถาปัตยกรรมต่างๆ ยังมีการให้ความสาคัญค่อนข้างน้อยสาหรับการก่อสร้างอาคารที่อยู่ในบริเวณ
ที่มีอาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว จุดนี้เป็นจุดที่ไม่อาจมองข้ามเนื่องจากความเสียหายเช่นนี้อาจจะก่อให้เกิดการบาดเจ็บและเป็น
อันตราย
ในส่วนศาลาในบริเวณวัด พบความเสียหายในส่วนของโครงสร้างหลักคือเสารอบอาคารศาลา ลักษณะความเสียหายเกิดจากการ
ที่ผนังอิฐก่อรอบอาคารในชั้นล่าง มีการก่ออิฐเพียงครึ่งหนึ่งของเสาอาคาร ทาให้เสารอบอาคารมีลักษณะเป็นเสาสั้นที่มีสติฟเนสสูง ทา
ให้เกิดแรงเฉือนที่สูง เมื่อเสามีกาลังรับแรงเฉือนไม่เพียงพอจึงเกิดการวิบัติขึ้น
ความเสียหายในลักษณะเดียวกับเสาของอาคารศาลาวัดดงมะเฟือง เกิดขึ้นกับอาคารห้องสมุดประชาชนบริเวณเกาะลอย ถนน
สิงหไคล อ.เมือง จ.เชียงราย ซึ่งอยู่ห่างจากศูนย์กลางแผ่นดินไหวประมาณ 30 กิโลเมตร อาคารหลังนี้เป็นอาคารเก่า มีลักษณะ
โครงสร้างเป็นอาคาร คศส สูงสองชั้นก่อสร้างตั้งแต่ปี พ.ศ.2508 ลักษณะการก่อสร้างอาคารหลังนี้มีการใช้ช่องกระจกความสูงประมาณ
30 ซม อยู่ด้านบนของผนังอิฐก่อ จากการสารวจพบรอยร้าวขนาดเล็กบริเวณเสาที่อยู่เหนือผนังอิฐก่อ และเกิดความเสียหายอย่าง
รุนแรงที่บริเวณเสามุมของอาคาร (รูปที่ 19) ลักษณะความเสียหายนี้เกิดจากการที่เสารอบอาคารบริเวณเหนือผนังอิฐก่อ มีลักษณะเป็น
เสาสั้นที่มีสติฟเนสสูง เป็นที่น่าสังเกตว่าอาคารหลังนี้ ตั้งอยู่ในเขตอาเภอเมืองซึ่งอยู่ค่อนข้างห่างจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว แต่
กระนั้นก็ยังได้รับความเสียหาย แสดงให้เห็นว่าลักษณะการก่อสร้างเช่นนี้มีความอ่อนไหวมากต่อแรงแผ่นดินไหว
112 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

รูปที่ 17 อุโบสถวัดดงมะเฟือง อาเภอแม่ลาว

รูปที่ 18 ความเสียหายในลักษณะเสาสั้น อาคารศาลาวัดดงมะเฟือง อาเภอแม่ลาว

รูปที่ 19 อาคารห้องสมุดประชาชน อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย


การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 113

3.4 อาคารพาณิชย์และตึกแถว
อาคารตึกแถวเป็นอาคารที่สามารถพบเห็นได้ทั่วในบริเวณที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว จากการศึกษารวมรวม
ข้อมูลลักษณะทั่วไปของอาคารตึกแถวในประเทศไทย พบว่าอาคารตึกแถวส่วนมาก [5] มีลักษณะเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กสูง
ทั่วไปประมาณ 3-4 ชั้น มีจานวนคูหาทั่วไปประมาณ 5 คูหา ลักษณะการก่อสร้างที่พบได้ทั่วไปคือ แต่ละคูหาจะมีผนังก่ออิฐมอญ
โดยรอบตลอดทุกชั้นอาคาร ยกเว้นด้านหน้าและหลังอาคารที่มีช่องเปิดสาหรับประตูและหน้าต่าง
จากการสารวจพบว่าอาคารตึกแถวบริเวณอาเภอพาน จังหวัดเชียงราย พบความเสียหายที่เกิดขึ้นในเสาบริเวณชั้นล่างของอาคาร
(รูปที่ 20) ลักษณะความเสียหายที่พบ เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างผนังอิฐก่อและโครงสร้างของอาคาร จากการศึกษาในห้องปฏิบัติการ
ของโครงอาคารที่มีผนังอิฐก่อ [4] พบพฤติกรรมความเสียหายที่คล้ายคลึงกับที่พบในอาคารตึกแถวหลังนี้กล่าวคือ ภายใต้แรงกระทา
ด้านข้าง ผนังจะเกิดรูปแบบการรับแรงเป็นแบบค้ายัน (Compression Strut) โดยที่ Compression Strut จะมีลักษณะวิ่งจากมุมหนึ่ง
ไปยังอีกมุมหนึ่ง ซึ่งเมื่อการเสียรูปมีค่ามากขึ้นแรงดันจากกาแพงอาจจะดันให้เสาเกิดความเสียได้
ผนังอิฐก่อซึ่งเป็นส่วนที่วิศวกรไม่ได้ตั้งใจออกแบบไว้รับแรง แต่มีส่วนช่วยในการต้านทานแผ่นดินไหวเป็นอย่างมาก ปฏิสัมพันธ์
ระหว่างผนังอิฐก่อและโครงอาคารอาจส่งผลให้โครงอาคารมีกาลังสูงขึ้นในทางหนึ่ง แต่เป็นเฉพาะในช่วงการเคลื่อนขนาดต่าๆ เท่านั้น
ทันทีที่ผนังรับแรงเกินกาลังของผนัง ผนังก็จะแตกออกอย่างฉับพลันและอาจเกิดความเสียหายขึ้นกับโครงสร้างตามมา นอกจากนี้
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างโครงอาคารกับผนังนั้น อาจทาให้เกิดรูปแบบความเสียหายที่ยากที่จะคาดเดาหรือประเมินได้ ดังนั้นผนังอิฐก่อ จึงมี
ทั้งข้อดีและข้อเสีย ข้อดีคือสามารถช่วยต้านทานแรงสาหรับแผ่นดินไหวที่ไม่รุนแรงมาก แต่ข้อเสียคือ การประเมินกาลังและการ
ประเมินพฤติกรรมอาคารที่มีผนังอิฐก่อเป็นเรื่องที่ยาก โดยเฉพาะปฏิสัมพันธ์ระหว่างโครงอาคารกับผนังอิฐก่อ ยังเป็นเรื่องที่ยากที่จะ
นามาพิจารณาสาหรับการออกแบบทั่วๆ ไป

รูปที่ 20 ลักษณะการวิบัติของอาคารตึกแถว อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย

4. สรุป
อาคารขนาดเล็กและขนาดกลางเป็นอาคารที่มีอยู่เป็นจานวนมากในบริเวณที่อาจจะได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว อาคาร
เหล่านี้มีลักษณะหลายอย่างที่ทาให้อาคารมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดความเสียหายจากแผ่นดินไหว เหตุการณ์แผ่นดินไหวแม่ลาว จังหวัด
เชียงราย แสดงให้เห็นว่าอาคารเหล่านี้มักมีจุดอ่อนในโครงสร้างหลายรูปแบบ ในอาคารที่ได้รับความเสียหายรุนแรงที่พบเห็นจากการ
สารวจ เกือบทั้งหมดจะต้องมีปัจจัยเช่น มีรูปทรงทางสถาปัตยกรรมหรือโครงสร้างที่ไม่เหมาะสม หรือมีวัสดุและลักษณะการก่อสร้างที่
ไม่ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม ทาให้เกิดมีจุดอ่อนขึ้นในเส้นทางการถ่ายแรง (Load Path) ของระบบโครงสร้าง นอกจากนี้ยังพบว่าส่วน
ของงานสถาปัตยกรรม เช่น ผนังอิฐก่อ สามารถส่งผลกระทบต่อโครงสร้างทั้งในแง่ดีและไม่ดี ในการออกแบบก่อสร้างอาคารในบริเวณ
ที่อาจได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว จึงจาเป็นที่จะต้องพิจารณาองค์ประกอบในข้างต้น เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดรูปแบบความเสียหาย
ที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้

กิตติกรรมประกาศ
การสารวจในครั้งนี้ได้รับการสนับสนุนจาก สภาวิศวกร และ กรมโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเชียงราย ผู้เขียนขอขอบพระคุณ
มา ณ ที่นี้
114 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

เอกสารอ้างอิง
[1] กฎกระทรวง “กาหนดการรับน้าหนัก ความต้านทาน ความคงทนของอาคาร และพื้นดินที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว
พศ 2550” ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 124, 2550
[2] มยผ 1301-54 “มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพื่อต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว (ปรับปรุงครั้งที่ 1)” กรมโยธาธิการและผังเมือง,
2554
[3] เจนศักดิ์ คชนิล “การทดสอบโครงอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กภายใต้แรงสลับทิศ ” วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรม
โยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 2552
[4] เกริกฤทธิ พรหมดวง “การทดสอบโครงอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีผนังอิฐก่อภายใต้แรงสลับทิศ” วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต
สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 2554
[5] นฤเทพ เพียงสุวรรณ, อภิชาติ รักษา, สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ “การประเมินระดับความต้านทานแผ่นดินไหวของอาคารตึกแถวในประเทศไทย” การ
ประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 19 จ. ขอนแก่น, 2557
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 115

LESSONS FROM THE Mw 6.1 MAE LAO EARTHQUAKE IN THAILAND ON MAY 5, 2014 AND
IMPLICATIONS FOR FUTURE DESIGN

Anat Ruangrassamee a*, Tirawat Boonyatee a, Chatpan Chintanapakdee a, Kruawun Jankaew b, Nuttawut
Thanasisathit c, Tayakorn Chandrangsu d and Panitan Lukkunaprasit a
a
Department of Civil Engineering, Faculty of Engineering, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand
b
Department of Geology, Faculty of Science, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand
c
Department of Civil Engineering, Faculty of Engineering, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok,
Bangkok, Thailand
d
Department of Public Works and Town & Country Planning, Ministry of Interior, Bangkok, Thailand

Abstract
An earthquake with a moment magnitude of 6.1 struck the northern part of Thailand on the 5th of May 2014 at
11:08:43 UTC. The epicenter was located near Mae Lao, and Phan districts in Chiang Rai province. The earthquake
caused unprecedented damage to structures in the recorded Thai history. After the earthquakes, the authors
conducted reconnaissance survey to investigate the damage to buildings, bridges, power systems, and earth
structures with the main focus on building structures. Preliminary analyses were conducted to estimate seismic
demands in some structures. Lessons learned and implications for future design are addressed, which should be
valuable for countries of similar seismicity and socio-economic settings.

1. Introduction
On May 5, 2014 at 11:08:43 UTC a strong earthquake struck Chiang Rai province, northern Thailand. It was
reported to have a local magnitude ML of 6.3 with the epicenter at Latitude 19.748 N, Longitude 99.692 E by the
Seismological Bureau, Thai Meteorological Department (TMD) with the depth of 7 km, while the USGS reported Mw
6.1 at Latitude 19.656 N, Longitude 99.670 E at a depth of 6 km
(http://comcat.cr.usgs.gov/earthquakes/eventpage/usb000qack#summary). It is the biggest instrumentally recorded
earthquake ever in Thailand. Shaking from the main shock was felt by people in many provinces including Chiang
Rai, Lampang, Lamphun, Chiang Mai, Nan, Phayao, Nong Khai, Loei and in high-rise buildings in Bangkok. Most severe
damage to structures was witnessed in Mae Lao and Phan districts. Less damage occurred in nearby districts
including Mae Suai, and Muang of the Chiang Rai Province. The location of the epicenter was about 6 km southeast
of Mae Lao district. Fig. 1 illustrates the reported epicenters and nearby amphoes (districts).
The earthquake caused an unprecedented devastation. A total of 10,369 private buildings were reported to
suffer various degrees of damage, with 475 unsafe for occupancy, 2180 potentially repairable, and 7,714 safe for
occupancy (DPT, 2014). Temples and public buildings experienced poorer performance –the corresponding figures
being 119, 196 and 179 for the three categories, respectively. In this event, one person was killed by a collapsed
masonry panel.
While numerous reports exist for high seismicity regions, there is relatively few information for events around
Mw 6, especially in a region where most buildings have not been designed for earthquake resistance like Thailand.
This paper presents damage to buildings, bridges, and other structures mainly in Mae Lao and Phan districts, most
of which are of non-seismic design. Performance of non-engineered buildings is also covered. Locations of
structures presented in this paper are shown in Fig. 2. Preliminary analyses were conducted on two structures to
understand seismic demands causing typical damage to the structures. Lessons learned and implications for future
design are addressed, which should be valuable for countries of similar seismicity and socio-economic settings.
บทความนี้จะส่งเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารวิศวกรรมสาร ฉบับวิจัยและพัฒนาต่อไป
116 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

Fig. 1. Epicenters and surrounding areas.


การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 117

Fig. 2. Locations of surveyed structures. (Details are in Table 1)

Table 1 Locations of observed sites.


ID Figure No. Structure type Latitude Longitude
01 6 Residential buildings 19°45'45.41"N 99°41'24.35"E
02 7 Residential buildings 19°45'46.03"N 99°41'23.23"E
03 8 Residential buildings 19°45'9.29"N 99°41'30.60"E
04 9 Residential buildings - -
05 10 Residential buildings 19°44'50.59"N 99°43'27.03"E
06 11 Residential buildings 19°44'46.56"N 99°38'38.62"E
07 12 School buildings 19°34'11.71"N 99°47'26.01"E
08 13 School buildings 19°32'43.41"N 99°44'36.12"E
09 14 School buildings 19°34'5.42"N 99°44'39.00"E
10 15 School buildings 19°32'6.00"N 99°44'31.90"E
11 16, 17 School buildings 19°44'44.96"N 99°42'20.29"E
12 18 Hospitals 19°45'55.81"N 99°44'17.89"E
13 19, 20, 22 Bridges 19°55'9.97"N 99°49'58.80"E
14 23, 24 Residential buildings 19°41'19.07"N 99°41'6.15"E
15 25 Slopes and river banks 19°44'37.73"N 99°39'52.30"E
16 26 Slopes and river banks 19°32'5.95"N 99°44'31.90"E
17 27 Embankments 19°42'53.83"N 99°41'7.30"E
18 28 Transformer
19 29 Power supply 19°45'10.66"N 99°43'50.07"E

2. Seismicity in the area and observed ground motions


Phan district and its vicinity had been seismically quiescent until an earthquake of M5.1 on the Richter scale
hit the district on 11 September 1994. The epicenter of the 1994 earthquake was at 19.586N, 99.526E
(http://earthquaketrack.com/quakes/1994-09-11-01-32-03-utc-5-2-33) located on Mae Suai Fault Segment of the
Phayao Fault Zone. The 1994 Phan earthquake caused minor to moderate damage to more than 50 buildings
118 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

including schools and hospitals. Structural damage included shear cracks in short columns as well as boundary
columns of RC infilled with unreinforced masonry panels and flexural cracks in soft story columns. However, no
building collapsed or was even on the verge of collapse.
There were no earthquakes with a magnitude greater than 4 in the area of Phayao Fault Zone between
September 11, 1994 and May 5, 2014 earthquakes. Phayao Fault Zone is 90 km long and is composed of 20 fault
segments namely; (1) Mae Tak (2) Doi Kun Mae Suk (3) Sai Ngern (4) Ban Rong (5) Pa Faek (6) Pang Daeng (7) Pa
Boon Nak (8) Phayao (9) Phan (10) Wang Nuea (11) Haui Mae Toom (12) Haui Ton Pueng (13) Wang Tong (14) Huai
Sai (15) Wiang Kalong (16) Wiang Pa Pao (17) Mae Korn (18) Mae Lao (19) Mae Suai (20) Mae Jaydee. The location
of the May 5, 2014 earthquake epicenter is just north of the Phan Fault Segment, an oblique slip + normal fault
with a Maximum Credible Earthquake (MCE), deduced from surface rupture length interpreted from the satellite
image, having Mw = 6.7. (DMR, 2009).
DMR (2009) published results from active fault trenching along Phayao Fault Zone in the area close to the
epicenter. There were 4 trenches in this area. Ban Pang Moong trench, in Mae Korn Fault Segment was reported to
be an oblique slip with reverse fault which had the last movement about 8,000 years ago with movement
(interpreted from offset stream) of about 0.156mm/yr. Ban Haui San Yao trench of Mae Lao Fault Segment was
concluded to be an oblique slip with normal fault with 2 movements about >5,300 years and 5,300 years ago. The
horizontal movement is reported to be 0.110mm/yr. Ban Pa Jorh trench on Phan Fault Segment is reported to be
an oblique slip with normal fault containing one fault movement about 5,200 years ago with a horizontal
movement of about 0.175mm/yr. Ban Pa Neng trench of the Wang Tong Segment is reported to be an oblique slip
with normal fault which showed 2 movements about 5,000 and 4,000 years ago. The reported horizontal
movement is 0.342mm/yr.
Seven TMD stations could detect strong motions of the main shock. Fig. 3 and Fig. 4 show the ground
acceleration and spectral acceleration, respectively at Maechan Station (epicentral distance about 50 km). The
ground condition in the area is classified as Class D according to ASCE7 (2010) from the shear wave velocity test in
the report by DMR, 2011.
Comparison of observed accelerations to attenuation models are shown in Fig. 5. Sadigh’s equation can
provide the value close to the observation for the longer distance. The maximum acceleration at 10 km from the
epicenter is predicted to be about 0.2 – 0.3 g from the attenuation relations.

0.05
0.04
0.03
Acceleration (g)

0.02
0.01
0
-0.01
-0.02
-0.03
-0.04
-0.05
0 5 10 15 20 25 30 35 40
Time (s)

Fig. 3. Strong motion acceleration at Maechan Station.


การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 119

0.18
0.16

Spectral acceleration (g)


0.14
0.12
0.1
0.08
0.06
0.04
0.02
0
0 0.5 1 1.5
Time (s)

Fig. 4. Acceleration response spectrum for Maechan Station (5% damping ratio).

Fig. 5. Attenuation of peak ground accelerations.

3. Building codes and local design and construction practice


Buildings designed as per different standards perform differently under the same action. Therefore, attempt
is made to identify if the building surveyed was designed for seismic action. The Ministerial Regulation No. 49 (1997)
under the Building Control Act (1979) concerning seismic resistance design of buildings has been promulgated just
only since 1997. It was based on the 1985 Uniform Building Code, with Zone II designated for 10 seismic prone
provinces in Thailand, including Chiang Rai. Public and essential buildings of any height are required by the
regulation to be seismic resistant against a peak ground acceleration of up to 0.15 g (g is the acceleration due to
gravity) on rock site. However, private buildings not taller than 15 m are not required to have any seismic resistance
120 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

design. Consequently, a large building stock contains inadequate seismic resistant structures. Therefore, unless
specifically noted, the buildings reported herein fall into this category.
Most of the residential houses are 2 stories high, featuring a soft story with small reinforced concrete (RC)
columns, and they constitute the largest population with moderate to severe damage. The typical column width
of columns (mostly square ones) is 150 mm and 200mm for two and three story buildings, respectively, with light
transverse reinforcement, typically 6 mm diameter round bars spaced approximately at 150 – 200 mm.
Unreinforced infill masonry (URM) panels, generally 100-mm thick (including 15-20 mm cement plastering on each
face), are extensively used as non-structural partitions, with a small number of dowel bars (if any) connecting the
panels and the boundary RC frames. Often the dowel bars are not provided. The ultimate compressive strength
of concrete in buildings is normally in the order of 18 MPa (or much less for non-engineered buildings). Reinforcing
bars usually have yield strengths of 240 MPa for plain bars and 300 MPa for deformed ones. Bricks, cement blocks
(for infill panels) and mortar are of extremely low quality since they are used as non-structural elements. Low-rise
residential/commercial RC buildings are generally constructed without involvement of engineers. Public buildings
are of higher quality than the residential and commercial buildings.

4. Observed performance of buildings


4.1 Residential buildings
A common feature of traditional Thai houses in rural areas is the elevated first floor above ground to avoid
blocking flow due to flooding. They are often supported by small non-ductile concrete columns at the ground
level with open space, creating a soft story system which is vulnerable to damage. Those non-engineered
residential buildings have been built on small non-ductile columns with cross section size of 150x150mm. Fig. 6
shows one such building with the first floor sitting on the pan-caked ground floor columns. This house was located
very close to a surface crack caused by the earthquake which can be seen in the foreground. Fig. 7 depicts a typical
house of a poor family, about 40 m from the building in Fig. 6. Some flexural cracks developed in the columns
which were of poor quality. The building was leaning to one side, and the owner put up shoring, out of common
sense, to prevent it from collapse. However, he used timber planks instead of timber posts (obviously because of
lack of resources due to poverty). Furthermore, some braces were wrongly placed against the flimsy timber walls
(see Fig. 7a).

a b

Fig. 6. A collapsed house in Mae Lao district, Chiang Rai province. The elevated first floor collapsed down to the
ground. (a) Damaged building; (b) the building from Google Street View.
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 121

a b

Fig. 7. Typical timber house near surface crack in Mae Lao district swayed due to permanent displacement. (a)
Shoring was attempted but not properly applied; (b) crack in low quality precast column.

In many cases, part of the open space is utilized for occupancy or for other purposes, usually with the utilized
space enclosed by URM partitions. Such an enclosed space is relatively rigid in comparison with the RC frames,
and can create torsional irregularity if placed away from the center of mass. An example is shown in Fig. 8a. The
newly-built one-story RC elevated house close to the epicenter (epicentral distance = approximately 1 km)
exhibited several types of damage. The 200mmx200mm columns at the ground level were severely damaged. The
masonry walls at the ground level attracted a large seismic force and were mostly destroyed (Fig. 8b). The beam-
column joints at corner columns witnessed joint distress (Fig. 8c). Severe shear failure with vertical bar buckling
occurred due to the well-known short column effects where the masonry panel did not fill all the way through
the column height (Fig. 8d).
Besides the traditional elevated house, many new single story houses are built with the first floor resting on
ground (Fig. 9). Columns are customarily made of precast concrete with a small cross section of 120mmx120mm,
usually not meeting proper standard even for gravity load requirement. These non-engineered columns have very
little reinforcement and are not suitable for seismic-prone area. Although the columns are not very strong, but the
steel roof and cement tiles are rather light-weight. This type of one-story house rarely collapses unless the steel
roof truss is not properly connected to the top of the columns. The masonry walls using hollow cement blocks
are popular because of its low cost. The prevailing damage on this type of house is partial out-of-plane collapse
of masonry walls due to lacking of anchorage between the wall and column (Fig. 9). This failure mode caused the
only one casualty in Thailand for this earthquake event as the earthquake occurred during day time. If it had
occurred during night time, many more fatalities might have resulted as the walls would have collapsed on to
sleeping inhabitants.
More well-to-do people built two- to three-story RC residential buildings, again mostly with small columns
and open space on the ground floor. Two of them have collapsed as shown in Fig. 10 and Fig. 11. The two story
building with an extended portion on top in Fig. 10a was about 3 km from the epicenter. Besides the soft story
structural irregularity, the building also had torsional irregularity due to the presence of URM partitions to one end
of the structure (left hand side in the Fig. 10a). The building was significantly damaged on the day of the main
shock, with clearly visible shear cracks and noticeable tilt to the taller part of the building. On the next day with
some strong aftershocks (in the order of Mw 5.0) the building collapsed, with several columns ripped off the beams
as depicted in Fig. 10b.
122 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

a b

c d

Fig. 8. (a) An elevated one-story reinforced concrete house in Dong-mada sub-district, Mae Lao district sustained;
(b) eccentrically placed URM infills and failure; (c) flexure failure of un-braced columns and damage in beam-
column corner joint; (d) shear failure in short columns.
a b

Fig. 9. (a) A one-story house in Dong-mada sub-district, Mae Lao district built on ground using precast concrete
columns and steel roof truss; (b) partial out-of-plane collapse of masonry wall due to lack of anchorage to the
columns.
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 123

a b

Fig. 10. (a) A three-story RC building in Mae Lao district with soft first story and torsional irregularity; (b) shear
failure of ground floor columns (courtesy of Police Lieutenant Colonel Anandech Yavichai)

a b

c d
4.00 3.00 4.00 3.00 2.00
3.00
3.00
2.00

2.80

1 2 3 4 5 6

Fig. 11. A three-story RC building with a soft first story under construction in Mae Lao district collapsed: (a)
Damaged building; (b) failure of columns; (c) the building from Google Street View; (d) 2-D structural model.
124 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

To ascertain the cause of collapse of the three- story RC building in Fig. 11a, a preliminary analysis was
conducted with one bay of the structure modeled as a 2-D moment frame as shown in Fig. 11d. The frame was
subjected to base excitation with a peak ground acceleration of 0.20g. The ground floor columns were 200mm x
200mm reinforced with 6-20 mm diameter longitudinal bars and 6 mm diameter ties spaced at 200 mm. The
beams were a rectangular cross section 200 mm wide and 400 mm deep. Adopting a dynamic response
modification factor of 3 as the building was non-ductile, the demand- to-capacity ratios of 3.85 and 1.03 were
obtained for flexural and shear response in the columns, respectively. This indicates that the columns were far
too weak to meet the seismic demand. In fact, a column size of 300mmx300mm with a longitudinal reinforcement
ratio no less than 1% and 6 mm diameter ties at 150 mm spacing in the critical zones near beam-column joints is
needed for the building to safely meet the seismic demand with limited ductility. Note that the rough analysis did
not consider any torsional effect which actually existed in the building and, obviously, would significantly increase
the seismic demand on the members.

4.2 School buildings


School buildings in Thailand typically have a long rectangular floor plan with single bay frames of 6 to 10 m
span in the transverse direction and multi-bay frames of 4 to 4.5 m spans in the longitudinal direction. Most schools
have 2 to 4 stories where the ground floor has a large open space, creating a first soft story system. Unfortunately,
many recently built school buildings (including the ones structures reported in this paper) have not been
constructed with proper seismic design even though the regulations call for design for a peak ground acceleration
of about 0.15g. Consequently, several buildings with a soft story system coupled with torsional irregularity suffered
significant damage, as is evident in Fig. 12 which shows a building in Wat Muang Nga kindergarten school in Phan
district that suffered moderate damage. The three-story RC building (labeled Building 2) has an open space on the
ground floor, except the two end bays to the north (left side of Fig. 12a) of the building which accommodate a
staircase and a rest room with URM partitions. Due to torsional deformation, the column farthest from the stairwell
was under the most seismic demand, resulting in crushing and splitting cracks at the bottom (see Fig. 12c).
Altogether, 14 columns were damaged to varying degrees, mainly in flexural mode.
It is interesting to note that two other RC buildings nearby, labeled as Buildings 1 and 3 in Fig. 12d and Fig.
12e, respectively, exhibited much better performance with minor non-structural damage in URM infills. All buildings
have about the same height and the same span lengths between columns in both orthogonal directions. The
structural designs of the main structural components are basically similar. Building 1, adjacent to Building 2 with
RC precast slabs connecting the two, has a stiff stairwell at the center on one side of the longitudinal direction. In
addition, several rooms with URM partitions exist on the ground floor. Building 3, opposite to the others, has well
distributed URM panels all around on the ground floor. Obviously, the contribution of well configured URM infills
in Buildings 1 and 3 greatly reduce the adverse effect of soft story and torsional irregularities.
The two RC school buildings in Fig. 13 and Fig. 14, located about 3 km apart in Phan district, were constructed
using the same structural design in general, i.e. same dimensions and member sizes and reinforcement. The
difference is that the first one- Ban Don Tan school essentially has an open space with one end frame filled with
a URM panel on the ground floor (Fig. 13b), whereas the other one - Tesaban 1 does not have such an infill (Fig.
14b). Instead, the open space is utilized for different functions using light aluminum framed partitions. The RC
frames with infills at the stairwell, placed near the opposite end, are practically the same. It should be noted that
the stairwell, which is relatively stiffer than the individual frames, is located way off the center of mass of the
structure, resulting in a severe torsional irregularity in the second building whereas the URM infill at the end bay
of the first building contributes significantly to reducing the torsional irregularity. Contrast in performance is evident.
The contribution of the URM infill panel mentioned leads to less seismic demand on the components in the first
building. Consequently, the RC frames and the URM infill panels of the stairwell remained much less damaged
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 125

than the second building in general (compare Fig. 13c with Fig. 14c). However, the two boundary columns of the
URM infill panel on ground floor were severely damaged by the strut force exerted by the large infill panel which
is 10m long (Fig. 13d). It is interesting to note that the two columns are not small at all, being 300 mm wide x 500
mm deep with 9 mm diameter tie bars at 250 mm spacing, and yet they failed in shear as a result of short column
effect following corner crushing. On the other hand, 8 columns in the second building suffered moderate to severe
damage, and one corner column (Fig. 14d) was stressed beyond Life Safety Performance Level.
Only one of the four major RC buildings at Phan Pittayakom school, the main school of the Phan district, has
been damaged due to this earthquake event. The reason is that the other buildings are shorter, three-story or less,
and the floors are made of timber planks instead of concrete slab, so the seismic force would be much less than
that in the damaged building which is four stories tall with RC slabs. The damaged building (Fig 15) essentially
exhibits a soft first story with short column effect due to the fact that the 3m - ground floor columns are practically
restrained by URM infill at the lower 1 m, and by the aluminum framing for fixed window panes at the top 1m.
Whereas the URM infilled RC framing of the two stairwells provided significant lateral force resistance in the
transverse directions by virtue of the orientation of the stiff components in that direction, the lateral force
resistance in the longitudinal direction had to rely solely on the RC columns. Consequently, almost all ground
floor columns, 300mmx450 mm in cross section with 6mm round bar ties spaced at 270mm, severely failed in
shear. Clearly they were stressed beyond Life Safety Performance Level. (Fig. 15b).
Two buildings at Mae Lao Witayakom School, the main school for Mae Lao district, were heavily damaged
(Fig. 16). These buildings do not have soft first story because the space at the ground level was used for offices
and classrooms with URM infills as partitions. Similar to the Phan Pittayakom school, columns partially restrained
by URM infills over part of the column height suffered shear failure caused by the short column effect. One beam-
column joint of an end RC frame with URM infill panel was so severely damaged in shear caused by the huge strut
force from the URM panel that the column was almost pulled out of the joint (Fig. 17a). Joint failure due to poorly
constructed cold joint was also observed at some beam-column joints (Fig. 17b).
126 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

a b

c d

Fig. 12. (a) A three-story RC school building (building 2) with a soft first story coupled with torsional irregularity at
Wat Muang Nga kindergarten school in Phan district, Chiang Rai province; (b) damage in soft story columns; (c)
corner column most severely damaged; (d) Building 1 with URM infilled RC frames at center of one side; (e)
Building 3 with well distributed URM panels.
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 127

a b

c d

Fig. 13. A four-story RC school building with a soft first story together with less torsional irregularity at Ban Don
Tan school in Phan district, Chiang Rai province.
128 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

a b

c d

Fig. 14. A four-story RC school building with a soft first story together with torsional irregularity at Tesaban 1
school in Phan district, Chiang Rai province.

a b

Fig. 15. A four-story RC school building at Phan Pittayakom school in Phan district, Chiang Rai province.
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 129

a b

Fig. 16. (a), (b) Two of the damaged three-story RC school buildings at Mae Lao Wittayakom school in Mae Lao
district, Chiang Rai province.

a b

Fig. 17. (a) Shear failure of beam-column joint induced by strut force from URM panel; (b) failure at poorly
constructed joint.

4.3 Hospitals
Two main hospitals in Phan and Mae Lao districts have remained operational after the earthquake incident,
although there were panics and the patients had to be evacuated right after the main shock. All buildings are low
rise, built without any seismic resistance provision except the newest building in Phan hospital which has been
constructed to replace the one severely damaged by the 1994 Phan earthquake. The buildings’ structural
components have not been damaged except for the separation joints between the corridors and the main
buildings. Since only small gaps of about 15 mm were generally provided, pounding between the corridors and
the connecting buildings occurred causing damage such as that shown in Fig. 18. However, the damage was only
moderate at worst and very much localized without affecting the integrity of the structures.
130 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

Fig. 18. Pounding damage at Mae Lao hospital.

5. Observed damage of bridges


5.1 Pounding
Pounding damage was found in several bridges in Chiang-Rai. Fig. 19 shows contact damage caused by
pounding between a bridge cross beam and a pedestrian stair. The relative displacement between the cross beam
in the bridge transverse direction and the stair was larger than a gap of 20 mm provided. Hence there was damage
to concrete surface. Fig. 20 shows the damage caused by pounding between adjacent spans of a bridge crossing
the Mae Lao river. The bridge has three 10-m-spans on the approach side and the inner spans has a span length
of 20 m as shown in Fig. 21. A finite element model of the 10-m-span and 20-m-span segments was developed to
determine the relative movement between the girders. The ground motion shown in Fig. 3 was scaled to have an
estimated maximum ground acceleration of 0.20 g. The relative movement of 35 mm is predicted from the analysis.
Since, the gap between girders is usually about 20-30 mm, pounding occurs between two adjacent girders. Since,
seat widths of about 200 to 300 mm are provided, unseating is not likely to occur considering the relative
displacement alone. But it is important to note that damage to columns or foundations can also lead to unseating
of superstructures.

Fig. 19. Pounding of a pier and a stair case.


การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 131

a b

Fig. 20. Pounding of bridge girders of a bridge crossing the Mae Lao river.

Fig. 21. Plan and elevation of the bridge crossing the Mae Lao river.

5.2 Shear dowels


The shear dowels are usually provided between a girder and a crossbeam to limit the movement of the
girder. The girder end treated as a longitudinally fixed support is provided with shear dowels anchored to diaphragm
beams. Since the force transferred from the girder is larger than the resistance of the shear dowel block, the
damage occurs as shown in Fig. 22. Hence, sufficient reinforcement and confinement shall be provided to the
shear dowel block.
132 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

Fig. 22. Damage to shear key block.

6. Geotechnical aspect
6.1 Liquefaction
Liquefaction was widely witnessed in the most hard-hit districts. However, no severe damage to buildings was
caused by liquefaction. Liquefaction was observed along the Rong Than canal, a branch of the Mae Lao river in
Phan district. Typical soils in this area are of a light grey, silty fine to coarse grain, loose to medium dense sand at
depths of 2 – 8 m below the ground surface. The water table in this area is at around 1 m below the ground
surface. Based on four boring logs in nearby areas, the uncorrected SPT values of the sand layers ranges from 4 to
31 blows/ft. The content of fine particles (F200) ranges between 8% to 30%. Under a maximum ground acceleration
of 0.20 – 0.25 g, the excess pore water ratio of 0.1 – 0.4 can be estimated according to the study by
Teachavorasinskun et al.(2009). In other words, partial liquefaction can occur in this area.
Low to moderate liquefaction was found in Sai Kao subdistrict, Phan district where a small village was
populated along Rong Than canal. The water table in the canal was relatively close to the ground surface,
therefore, the high ground water table could be expected. From the field survey, traces of liquefaction were
observed in various areas. Sand boil from water wells was also observed (Fig. 23). In the same area, there was a
two story house which lightly settled due to liquefied ground (Fig. 24). Traces of sand were found beside the house
where settlement occurred, leading to cracks in walls and slabs.

Fig. 23. Muddy sand after bursting from a water well.


การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 133

a b

Fig. 24. (a) Trace of liquefaction outside a house (b) Crack on building slab and wall due to liquefaction-induce
subsidence.

6.2 Slopes and river banks


Slopes along roads and rivers were also affected by the earthquake. Slope failures due to lateral acceleration
occurred in some areas in Phan and Mae Lao districts. As most of failed slopes were man-made, they may be less
consolidated than natural ground. It is also noted that failed slopes are relatively high (height > 5 m) and steep
(slope > 45 degree). Small cracks were also observed in moderately high slopes along rivers and canals (Fig. 25). A
bearing failure of a river bank was observed in Phan district (
Fig. 26). Traces of sand were found along the shoreline of the river bank. Hence the failure may be due to the
lateral spreading of the underlying sand layer. Cracks across roads were also observed in some areas.

Fig. 25. Slope failure


134 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

a b

Fig. 26. A river bank failed by lateral spreading of underlying sand layer: (a) Settled area; (b) Trace of sand on the
free face.

Fig. 27. Failures at approach embankments.

Besides the slope failure and liquefaction, damage was observed in the approach of bridges (Fig. 27). Dynamic
lateral earth pressure and the difference in dynamic response of the bridge and embankment were considered as
the causes of pounding between bridges and approach slabs and also transverse cracks running across approach
embankments.

7. Power supply facilities


Power outage occurred for a couple of hours in Mae Lao district. It is normal practice in Thailand that the
transformers supplying electricity to households are placed on cross-beams sitting on electricity poles without any
anchorage to the supporting beams. A few such transformers almost toppled (Fig. 28a), a couple of them actually
fell to the ground (Fig. 28b).
The substation buildings, a two story RC building, in Mae Lao district was intact. However some instrument
cabinets were displaced horizontally by about 20 mm. A huge high voltage transformer outdoor, placed on grade
without anchorage to the ground slab was also displaced by about 60 mm (Fig. 29). This is a good indication of the
severity of the ground shaking.
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 135

a b

Fig. 28. (a) Un-anchored transformer, Mae Lao district, Chiang Rai; (b) toppled transformer (courtesy of Mr.
Assadakorn Ragsapainai).

a b

Fig. 29. (a) The high voltage transformer at Mae Lao substation; (b) evidence of horizontal displacement due to
ground shaking.

8. Concluding remarks
As always, the Mae Lao earthquake has brought up valuable lessons as well as clues for rehabilitation and
future design. Although many lessons have been well recognized already, especially in a high seismicity region,
they do re-iterate the fact that a poor structural system is also vulnerable to damage under moderate hazard.
Thus, buildings featuring such irregularities as soft stories, torsional irregularity, and short columns are more
vulnerable to damage. Because of the abundance of such weak systems among poor villagers, it poses a big
challenge with regard to effective and affordable retrofit of these buildings. Of equal importance is dissemination
of lessons and knowledge to the communities so that vulnerable systems are avoided in future construction.
Law enforcement, or rather, consciousness to abide by the laws, could effectively raise the safety level of
the built environment. In Thailand, state owned buildings can be built by bypassing the normal procedure of
securing building permit from regulating authorities. That is why several school buildings, even though recently
built, do not comply with seismic design regulations, resulting severe damage in many cases.
136 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

Well configured URM infill in RC frames have demonstrated effectiveness in enhancing performance of RC
buildings. However, the possibility of shear failure in columns and beam-column joints should be carefully
considered in the design of buildings, and an appropriate measure taken to avoid such brittle shear failures, e.g.
by employing the scheme proposed by Srechai and Lukkunaprasit (2013).

Acknowledgments
The authors would like to express their sincere thanks to Department of Public Works and Town & Country
Planning, Department of Rural Roads, and Department of Highways for coordination and supports in the
reconnaissance survey. The prompt financial support from Chulalongkorn University is highly acknowledged.

References
[1] American Society of Civil Engineers (ASCE), ASCE/SEI 7 Minimum Design Loads for Buildings and Other Structures, American
Society of Civil Engineers, 2010.
[2] Department of Mineral Resources (DMR), Recurrence Interval Study in Active Faults Area in Chiang Rai, Chiang Mai and Phayao
Provinces (Mae Chan and Phayao Fault Zones), Environmental Geology Division, Department of Mineral Resources, 2009 (in Thai).
[3] Department of Mineral Resources (DMR), Shear Wave Velocity in Northern Thailand, Department of Mineral Resources, 2011 (in
Thai).
[4] Department of Public Works and Town & Country Planning (DPT), Internal report of the Coordination Center of the Building
Damage Assessment Team for the Chiang Rai Earthquake Incidents, Department of Public Works and Town & Country Planning,
May 2014 (in Thai).
[5] http://comcat.cr.usgs.gov/earthquakes/eventpage/usb000qack#summary (accessed on 4 August 2014)
[6] http://earthquaketrack.com/quakes/1994-09-11-01-32-03-utc-5-2-33 (accessed on 22 July 2014)
[7] http://www.seismology.tmd.go.th/ (accessed on 22 July 2014)
[8] Srechai, J. and Lukkunaprasit, P., An innovative scheme for retrofitting masonry-infilled non-ductile reinforced concrete frames,
IES Journal Part A: Civil and Structural Engineering 6 (4), 2013
[9] Teachavorasinskun, S., Pattararattanakul, P., and Pongvithayapranu, P. Liquefaction Susceptibility in the Northern Provinces of
Thailand, American Journal of Engineering and Applied Sciences 2 (1):194-201, 2009.
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 137

การเสริมกาลังเสาต้านแผ่นดินไหวด้วยวิธีหุ้ม
SEISMIC STRENGTHENING OF NON-DUCTILE RC COLUMNS

อมร พิมานมาศ1 และ ประกาศิต จันทนะลิขิต2


1
ศาสตราจารย์, สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร
2
นักศึกษา, สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร

Amorn Pimanmas1and Pragasit Juntanalikit2


1
Professor, Sirindhorn International Institute of Technology.
2
Graduate Student, Sirindhorn International Institute of Technology.

บทคัดย่อ
ในปัจจุบัน ประเทศไทยมีโครงสร้างจานวนมากตั้งอยู่ในพื้นที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหว โครงสร้างของอาคารต้านทาน
แผ่นดินไหวจะต้องมีรูปทรงที่ดีและสมมาตร ลักษณะอาคารมีรูปทรงหรือโครงสร้างที่ไม่ดี คือ อาคารที่มีชั้นล่างเปิดโล่งนั้น (Soft
story) พบว่าในประเทศไทยมีลักษณะดังกล่าวเป็นจานวนมาก ซึ่ง แรงจากแผ่นดินไหวที่มากระทาต่อโครงสร้างจะทาให้อาคารที่มี
ระบบโครงสร้างที่ไม่ดีได้รับความเสียหายเป็นอย่างมาก วิธีที่มีประสิทธิภาพสาหรับการเสริมกาลังโครงสร้างนั้น โดยการเสริมกาลัง
ด้วยการหุ้มด้วยแผ่นโพลิเมอร์เสริมเส้นใย (CFRP)หรือแผ่นเหล็ก(Steel panels) เพื่อป้องกันการโก่งเดาะของเหล็กยืนภายในเสาและ
เพื่อเป็นการเพิ่มการโอบรัด (Confinement) ซึ่งจะช่วยป้องกันการกะเทาะหลุดของคอนกรีตในเสา จากการทดสอบพบว่าเสาที่ได้รับ
การเสริมกาลังทั้งหมด กาลังรับน้าหนักและความเหนียวของเสาเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นวิธีที่เหมาะสาหรับการเสริมกาลังต้านแผ่นดินไหว
คาสาคัญ: เสริมกาลังเสา, แผ่นเหล็กหุ้ม , แผ่นโพลิเมอร์เสริมเส้นใย

ABSTRACT
Currently, Thailand has many structures that are determined to be in risk of collapse during an earthquake. Soft
story is mostly found in mid-rise buildings because of improper structural design. These stories can be especially
dangerous during earthquakes because of their inability to carry lateral forces induced by the swaying of the
building. As a result, a building may fail because of the collapse of the soft story. An effective method for
strengthening the structure is by applying an externally bonded carbon fiber reinforced polymer (CFRP) or Steel
panels to enhance the shear capacity of columns. Rectangular reinforced concrete columns that represent
columns not designed by the current seismic design specifications were tested under cyclic loading. The results
of the experimental program indicated that the shear strength was improved for the strengthened columns under
reversed cyclic loading compared to the unstrengthened columns that were tested in previous studies. In addition,
because of the confinement effect of the CFRP or steel panels, the columns strengthened with sufficient CFRP or
steel panel exhibited a significantly improved displacement capacity.
KEYWORDS: Strengthening, Steel jacket, CFRP jacket.

1. บทนา
ในช่วงเวลาหลายสิบปีที่ผ่านมา อาคารคอนกรีตเสริมเหล็กได้ถูกสร้างขึ้นมาเป็นจานวนมากบางส่วนของอาคารเหล่านั้นได้ถูก
จัดเป็นโครงสร้างที่ไม่สามารถต้านทานต่อแรงแผ่นดินไหวได้หรือมีความบกพร่องทางด้านโครงสร้าง การซ่อมแซมและการเสริมกาลัง
อาคารดังกล่าวจะต้องใช้เงินและเวลาจานวนมากหากใช้วิธีการที่ไม่มี ประสิทธิภาพเพียงพอ โดยทั่วไปแล้วอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
ดังกล่าวจะถูกซ่อมแซมและเสริมกาลังโดยการเพิ่มองค์อาคารให้กับโครงสร้างเดิมของอาคาร หรือการทาค้ายัน ซึ่งวิธีการดังกล่าว
ค่อนข้างยุ่งยากและพื้นที่ใช้สอยในอาคารลดลง เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวได้มีการนา วัสดุคอมโพสิตเสริมเส้นใย (Fiber Reinforced
Plastic Composite) หรือ FRP และแผ่นเหล็ก (Steel Panels) มาใช้ในการซ่อมแซมและ/หรือเสริมกาลังให้กับอาคารคอนกรีตเสริม
เหล็ก ซึ่งวัสดุดังกล่าวมีความเหมาะสมที่จะนามาใช้งานดังกล่าว เนื่องจากเป็นวัสดุที่มีอัตราส่วนของกาลังต่อน้าหนั กที่สูง มีความ

บทความนี้จะส่งเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารวิศวกรรมสาร ฉบับวิจัยและพัฒนาต่อไป
138 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

ต้านทานการผุกร่อนสูง มีน้าหนักเบา และมีความสามารถในการดูดซับพลังงานสูง โดยจะนามาใช้ในการเสริมกาลังเสาคอนกรีตเสริม


เหล็ก ซึ่งสามารถทาได้โดยการพันแผ่น FRP หุ้มเสาหรือใช้แผ่นเหล็กหุ้มเสา
เสาที่ไม่ได้ออกแบบให้ต้านทานแรงแผ่นดินไหวจะมีปริมาณเหล็กเสริมตามขวางที่ต่ามากเนื่องจากใช้ปริมาณเหล็กเสริมขั้นต่าตามที่
มาตรฐานการออกแบบแนะนาไว้ อีกทั้งในการก่อสร้างจริงมักจะนิยมต่อทาบเหล็กเสริมยืนในเสาในตาแหน่งที่วิกฤติ (บริเวณจุดหมุน
พลาสติก) เนื่องจากง่ายต่อการปฏิบัติงาน และโดยมากเหล็กเสริมตามขวางจะไม่ได้ทาของอ 135 o ที่มุมของหน้าตัดหรือไม่ได้เพิ่มระยะ
เรียงของเหล็กเสริมดังกล่าวในบริเวณที่เกิดจุดหมุนพลาสติกตามข้อแนะนาในการก่อสร้างอาคารในปัจจุบัน ทาให้เสาเหล่านี้ไม่ได้
คุณภาพตามที่มาตรฐานการออกแบบโครงสร้างเพื่อต้านทานแผ่นดินไหวกาหนดไว้ (substandard structures) ไม่สามารถพัฒนากาลัง
และความเหนียวได้อย่างเต็มที่ ซึ่งอาจก่อให้เกิดความเสียหายหรือวิบัติอย่างฉับพลันได้หลายรูปแบบ ดังแสดงในรูป 1

รูปที่ 1 การวิบัติแบบต่างๆของเสาอาคารภายใต้แรงแผ่นดินไหว(แม่ลาว)

2. การทดสอบในห้องปฏิบัติการ
2.1 คุณสมบัติทางกลของวัสดุ
การทดสอบกาลังรับแรงอัดของคอนกรีตมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมทางกลของคอนกรีตที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ กาลังรับ
แรงอัด (Compressive strength) โดยทาการทดสอบการรับแรงอัดของชิ้นทดสอบรูปทรงกระบอกมาตรฐานขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
0.10 ม. สูง 0.20 ม. และได้รับการบ่มน้าจานวน 7 วัน โดยใช้เครื่องทดสอบ Universal Testing Machine (UTM) ขนาด 2000 กิโล
นิวตัน จากการทดสอบคุณสมบัติทางกลของคอนกรีตดังกล่าวสามารถสรุปได้ในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 คุณสมบัติทางกลของคอนกรีต
คุณสมบัติของคอนกรีต  f c
ตัวอย่างทดสอบ
(ksc)
S2M 345
FS2M 356
SS2M 360

ตารางที่ 2 คุณสมบัติทางกลของแผ่นพลาสติกเสริมเส้นใยและแผ่นเหล็ก
ความหนา หน่วงแรงดึงสูงสุด  f u  (Mpa)
วัสดุ โมดูลัสแรงดึง
(มม)
Nitowrap FRC-N300 0.167 3900 2.35x106
Steel Plate 9 349 -

เหล็กที่ใช้เป็นเหล็กยืนในเสาทดสอบมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 16 มม. ชั้นคุณภาพ SD40 ส่วนเหล็กปลอกมีขนาดเส้นผ่านศุนย์


กลาง 6 มม. ชั้นคุณภาพ SD24 ในการทดสอบการดึงเหล็กยืนและเหล็กปลอก โดยตัดจากเหล็กเสริมที่ใช้ในการทาเสาชุดทดสอบเพื่อ
ศึกษาพฤติกรรมทางกลของเหล็กที่ใช้ในการศึกษา ในการศึกษาคุณสมบัติทางกลที่น่าสนใจได้แก่ หน่วยแรงคราก (Yielding stress)
และหน่วยแรงดึงสูงสุด ผลการทดสอบคุณสมบัติทางกลของเหล็กในตารางที่ 3
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 139

ตารางที่ 3 คุณสมบัติทางกลของเหล็กเสริม
คุณสมบัติของเหล็ก
ตัวอย่างทดสอบ หน่วยแรงคราก f y หน่วงแรงดึงสูงสุด  f u 
(Mpa) (Mpa)
DB16 547 615
RB6 396 452

2.2 ตัวอย่างทดสอบ
ตัวอย่างทดสอบในงานวิจัยนี้ถูกแบ่งออกเป็น 2 ตัวอย่าง ได้แก่ FS2M และ SS3M โดยแต่ละเสาตัวอย่างมีความสูงเท่ากันที่ 1.57
เมตร (รูปที่2) ซึ่งหน้าตัดของตัวอย่างทดสอบมีขนาด 350x250 mm หน้าตัดเสริมด้วยเหล็กขนาด 16 mm จานวน 12 เหล็กปลอกที่
ใช้มีขนาด 6 mm ระยะห่าง 200 mm ระยะคอนกรีตหุ้มเท่ากับ 2.5 ซม. นอกจากนี้แล้ว เสาตัวอย่างได้รับการเสริมกาลังด้วย CFRP
(FS2M)และแผ่นเหล็ก(SS3M) สูง 500 มม. จากฐานรากดังที่แสดงรายละเอียดในรูปที่ 2 ซึ่งเป็นระยะที่ครอบคลุมต่อการป้องการการ
เกิดโก่งเดาะของเหล็กยืนแล้ว

รูปที่ 2 ตัวอย่างเสาทดสอบ

ตารางที่ 4 รายละเอียดเสาทดสอบ
Size Shear Concrete Jacket
Span Aspect Axial load Width No. of
ตัวอย่าง Bxh Strength
ratio ratio Layers
(มม.) (มม.) (MPa) (มม.)

S2M* 250x350 1570 4.50 30 0.15 - -


FS2M 250x350 1570 4.50 32 0.14 500 6
SS2M 250x350 1570 4.50 33 0.14 500 -
* เสาควบคุมทดสอบโดย Rodsin, K., Warnichai, P., Awan, T. (2010).

2.3 การเสริมกาลังด้วยแผ่นเส้นด้วยโพลิเมอร์(CFRP)
การเสริมกาลังเสาจะนาแผ่นโพลิเมอร์เสริมเส้นใยพันรอบเสาทีละชั้นตามจานวนที่ออกแบบ ในแต่ละชั้นจะมีระยะทาบประมาณ
200 มม. ในการติดแผ่น ใช้กาวอีพ็อกซีตามอัตราส่วนผสมที่ผู้ผลิตแนะนา โดยในแต่ละชั้นของการพันต้องทากาวทุกครั้ง
140 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

2.4 การเสริมกาลังด้วยแผ่นเหล็ก(Steel Panels)


จะใช้แผ่นเหล็กหนา 9 มม. พับเป็นรูปตัวแอล 2 แผ่น ขนาด 450x350 มม. โดยให้แผ่นเหล็กสูง 500 มม. จากฐานราก นามา
เชื่อมต่อกัน แล้วเทปูนชนิดไม่หดตัว (Non-Shrink Grouts) ลงในช่องว่างระหว่างแผ่นเหล็กกับเสาคอนกรีตจนเต็ม

(ก) ด้วยแผ่นเส้นด้วยโพลิเมอร์(CFRP) (ข) ด้วยแผ่นเหล็ก(Steel Panels)


รูปที่ 3 การเสริมกาลังเสาต้านแผ่นดินไหวด้วยวิธีหุ้ม

2.5 การทดสอบ
การให้น้าหนักบรรทุกใช้แรงกระทาต่อตัวอย่างทดสอบเป็นแรงในแนวราบกึ่งสถิตสลับทิศกระทาที่ปลายด้านบนเสา โดยผลัก
ปลายเสาให้มีระยะเคลื่อนตัวสัมพัทธระหว่างชั้นเท่ากับ 0.25%, 0.5%, 0.75%, 1%.... ของความยาวเสาไปข้างหน้า และดึงย้อนกลับ
จนมีระยะเคลื่อนตัว -0.25%, -0.5%, -0.75%, -1%.... ของความยาวเสา ค่าการเคลื่อนตัวสัมพัทธ (story drift) นี้สามารถคานวณได้
จากค่าการเคลื่อนตัวแนวราบที่ปลายบนของเสาหารด้วยความยาวเสาวัดจากปลายล่างสุดถึงจุดที่เกิดแรงกระทาทางด้านข้างการผลัก
เสาและดึงกลับในทิศตรงกันข้ามจะกระทาครบรอบ โดยวนรอบซ้า 2 รอบที่ทุกๆค่าระยะเคลื่อนตัวสัมพัทธ เพื่อตรวจสอบความมี
เสถียรภาพของ hysteretic loop รูปแบบการให้น้าหนักบรรทุกตามที่ได้อธิบายในรูปที่ 4
ในการให้น้าหนักในแนวดิ่ง เสาจะถูกกดที่ 40 ตัน เพื่อเป็นการแสดงเสาอยู่ในสภาวะการใช้งาน ทั้งนี้ระหว่างการทดสอบ แรงกดใน
แนวดิ่งจะต้องรักษาไว้ที่ 40 ตันตลอดการทดลอง ในการทดสอบจะสิ้นสุดเมื่อเสาวิบตั ิโดยไม่สามารถรับแรงในแนวดิ่งได้ แสดงถึงการ
วิบัติโดยแรงกระทาในแนวดิ่ง (Axial load failure)

(ก) ติดตั้งเสาตัวอย่างเพื่อทดสอบ (ข) รูปแบบการให้น้าหนักบรรทุก


รูปที่ 4 การติดตั้งเสาเพื่อทดสอบ

3. ผลการทดสอบในห้องปฏิบัติการ
3.1 ตัวอย่างเสา FS2M
จากการทดสอบในตัวอย่างเสา FS2M ในช่วงแรกที่ระยะเคลื่อนตัวสัมพัทธ ที่ 0.25%-1% ไม่เกิดความเสียหายใดๆเกิดขึ้นในเสา
จนระยะเคลื่อนตัวสัมพัทธ์ที่ 1.5% เกิดรอยร้าวทแยงและรอยร้าวดัด ดังที่แสดงในรูปที่ 5(ก) หลังจากนั้นเมื่อเพิ่มระยะเคลื่อนที่
สัมพัทธ แผ่นพลาสติกเสริมเส้นใยเริ่มบวมบริเวณทางโคนของเสา เมื่อถึงระยะเคลื่อนตัวสัมพัทธที่ 8% แผ่นพลาสติกเสริมเส้นใยเริ่ม
แยกออกจากกัน ในระยะเคลื่อนตัวสัมพัทธที่ 9% เหล็กยืนภายในเสาขาดทาให้กาลังรับแรงในทางข้างของเสาลดลงอย่างเห็นได้ชัด แต่
เสาทดสอบยังสามารถรับแรงในแนวดิ่งได้เหมือนเดิม จนสิ้นสุดที่ระยะเคลื่อนตัวสัมพัทธที่ 12%
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 141

(ก) รอยร้าวทแยงที่ระยะเคลื่อนตัวสัมพัทธ 1.5% (ข) การวิบัติของเสาที่ได้รับการเสริมกาลัง


รูปที่ 5 การทดสอบตัวอย่าง FS2M

(ก) แผ่นพลาสติกบวม (ข) การวิบัติของเสาทดสอบ


รูปที่ 6 การวิบัติของตัวอย่างทดสอบ FS2M
นับตั้งแต่เริ่มต้นการทดสอบจนถึงจุดวิบัติ จะสังเกตพบความเสียหายส่วนใหญ่เกิดขึ้นที่บริเวณโคนเสาเป็นส่วนใหญ่ และเป็น
บริเวณที่เหล็กยืนเกิดการโก่งเดาะ ซึ่งสามารถสังเกตได้อย่างชัดเจนเนื่องจากการเกิดการบวมของหน้าตัดเสาในบริเวณที่หุ้มด้วยแผ่น
CFRP ภายหลังจากที่เสร็จสิ้นการทดสอบ ได้นาแผ่น CFRP ออกแล้วพบว่าเหล็กยืนเกิดการโก่งเดาะจนขาด โดยระยะที่เกิดการโก่ง
เดาะเท่ากับ 10 cm (รูปที่ 7(ข)) ส่วนระยะที่เกิดจุดหมุนพลาสติกมีค่าเท่ากับ 30 ซม. ซึ่งดูได้จากการกระจายของความเครียดในเหล็ก
ยืน ส่วนสภาพของคอนกรีตในบริเวณที่ถูกหุ้มด้วยแผ่น CFRP นั้นพบว่าเกิดการบดอัด (crushing) จนแตกเป็นเม็ดเล็กกระจายทั่วไป
รูปที่ 8 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการเคลื่อนที่ในแนวราบ (Lateral deformation) ของเสาที่เสริมกาลังด้วย CFRP

10 ซ

(ก) การวิบัติของเสาที่ไม่ได้รับการเสริมกาลัง (ข) การวิบัติของเสาที่ได้รับการเสริมกาลัง


รูปที่ 7 การวิบัติของเสา FS2M
142 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

รูปที่ 8 แผนภาพความสัมพันธ์กระทาทางด้านข้างกับระยะการเคลื่อนตัวในแนวราบ FS2M

3.1 ตัวอย่างเสา SS2M


จากการทดสอบในตัวอย่างเสา SS2M ในช่วงแรกที่ระยะเคลื่อนตัวสัมพัทธที่ 0.0%-0.75% ไม่เกิดรอยร้าวความเสียหายใดๆ
เกิดขึ้นในเสา จนระยะเคลื่อนตัวสัมพัทธ์ที่ 1% เกิดรอยเนื่องจากแรงดัด ดังที่แสดงในรูปที่ 10(ก) รอยร้าวมีความยาวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ตามระยะการเคลื่อนตัวสัมพัทธ เสามีกาลังรับแรงทางด้านข้างสูงสุด 124.905 kN ที่ระยะการเคลื่อนตัวสัมพัทธ 3.0% การทดสอบ
สิ้นสุดที่ระยะการเคลื่อนตัวสัมพัทธ 11% แต่เสาทดสอบยังสามารถรับแรงในแนวดิ่งได้เหมือนเดิม
จากการสังเกตนับตั้งแต่เริ่มต้นการทดสอบจนถึงการวิบัติ ความเสียหายส่วนใหญ่จะพบว่าเกิดขึ้นที่บริเวณรอยต่อระหว่างเสากับ
ฐานราก ซึ่งพบรอยร้าวเปิดขนาดใหญ่เห็นได้ชัด เมื่อได้นาแผ่นเหล็กหุ้มออกคอนกรีตบริเวณโคนเสาเกิดการกะเทาะออกมาจนสามารถ
เห็นเหล็กเสริมได้ชัดเจนเกิดจากคอนกรีตเกิดการบดอัด (Crushing) และเหล็กเสริมไม่พบการโก่งเดาะ บริเวณฐานรากพบรอยร้าว
ทะแยงเนื่องจากเหล็กในฐานรากเกิดการดึงตัวออกจากฐานราก

รูปที่ 9 แผนภาพความสัมพันธ์แรงกระทาทางด้านข้างกับระยะการเคลื่อนตัวในแนวราบ SS2M


การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 143

(ก) พบรอยร้าวแรกที่ 1.0% DRIFT (ข) รอยร้าวเปิดขนาดใหญ่บริเวณจุดต่อเสา


กับฐานรากที่ 9% drift
รูปที่ 10 การพัฒนารอยร้าวของเสา SS2M

(ก) คอนกรีตเกิดการกะเทาะ (ข)รอยร้าวเปิดขนาดใหญ่บริเวณจุดต่อเสา


ออกบริเวณโคนเสา กับฐานรากที่ 11% drift
รูปที่ 11 การวิบัติของเสา SS2M
144 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

รูปที่ 12 ฐานรากเกิดรอยร้าว

4. สรุปผลการทดสอบ
จากการทดสอบ เสาที่ได้รับการเสริมกาลังทั้งหมดพบว่า กาลังรับน้าหนักของและความเหนียวของเสาสามารถเพิ่มขึ้นได้ด้วย
วิธีการพันด้วยแผ่นโพลีเมอร์เสริมเส้นใยและการหุ้มด้วยแผ่นเหล็ก ซึ่งเป็นวิธีที่เหมาะสาหรับการเสริมกาลังต้านแผ่นดินไหว

เอกสารอ้างอิง
[1] Harajli, M. H., Hantouche, E., & Soudki, K. (2006). Stress-strain model for fiber-reinforced polymer jacketed concrete columns.
ACI Structural Journal, 103(5).
[2] Harajli, M. H., & Rteil, A. A. (2004). Effect of confinement using fiber-reinforced polymer or fiber-reinforced concrete on seismic
performance of gravity load-designed columns. ACI Structural Journal, 101(1).
[3] Harries, K. A., Rides, J. R., Pessiki, S., & Sause, R. (2006). Seismic retrofit of lap splices in nonductile square columns using carbon
fiber-reinforced jackets. ACI Structural Journal, 103(6), 874-884.
[4] Harries, K. A., Rides, J. R., Pessiki, S., & Sause, R. (2006). Seismic retrofit of lap splices in nonductile square columns using carbon
fiber-reinforced jackets. ACI Structural Journal, 103(6), 874-884.
[5] Iacobucci, R. D., Sheikh, S. A., & Bayrak, O. (2003). Retrofit of square concrete columns with carbon fiber-reinforced polymer for
seismic resistance. ACI Structural Journal, 100(6).
[6] Lee, Y.-T., Kim, S.-H., Hwang, H.-S., & Lee, L.-H. (2004). Evaluation on the shear strengthening effect of RC columns with carbon
fiber sheets. Paper presented at the Proc. of the 13th World Conference on Earthquake Engineering,(CD-Rom, paper n. 1369),
Vancouver, BC, Canada, August.
[7] Matthys, S., Toutanji, H., Audenaert, K., & Taerwe, L. (2005). Axial load behavior of large-scale columns confined with fiber-
reinforced polymer composites. ACI Structural Journal, 102(2).
[8] Memon, M. S., & Sheikh, S. A. (2005). Seismic resistance of square concrete columns retrofitted with glass fiber-reinforced
polymer. ACI Structural Journal, 102(5).
[9] Rodsin, K., Warnichai, P., Awan, T. (2010). Ultimate Drift at Gravity Load Collapse of Non-ductile RC Columns. 5th Civil Engineering
Conference in the Asian Region and Australasian Structural Engineering Conference 2010. Sydney, N.S.W. Engineers Australia,
[441]-[447].
[10] Xiao, Y., Priestley, M. J. N., & Seible, F. (1996). Seismic assessment and retrofit of bridge column footings. ACI Structural Journal,
93(1).
[11] Ye, L., Yue, Q., Zhao, S., & Li, Q. (2002). Shear strength of reinforced concrete columns strengthened with carbon-fiber-reinforced
plastic sheet. Journal of structural engineering, 128(12), 1527-1534.
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 145

ถอดบทเรียนแผ่นดินไหว จ.เชียงราย 5 พฤษภาคม 2557


เพื่อการเตรียมพร้อมรับมือแผ่นดินไหวในอนาคต
5 MAY 2014 CHIANG RAI EARTHQUAKE LESSON LEARNED FOR
FUTURE EARTHQUAKE PREPAREDNESS
ชยานนท์ หรรษภิญโญ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, chayanon@eng.cmu.ac.th
93B

บทคัดย่อ
การถอดบทเรียน เป็นการจัดการองค์ความรู้อย่างหนึ่งจากปัญหาที่ได้เคยประสบมา เพื่อจะเป็นประโยชน์ต่อการรับมือในอนาคต
บทความนี้เป็นการนาเสนอข้อมูลกิจกรรมการตอบสนองแผ่นดินไหวขนาด 6.3 เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 บริเวณรอยเลื่อนพะเยา
ในเขตอาเภอพาน จังหวัดเชียงรายที่ผ่านมา จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้แก่ โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเชียงราย และศูนย์ป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัยเขต 15 และประสบการณ์จากการเข้า พื้นที่ ข้อมูลดังกล่าวได้ผ่านการวิเคราะห์เป็นกรณีศึกษาและให้
ความเห็น ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการเรียนรู้แนวทางการเตรียมพร้อมเพื่อรับมือเหตุการณ์ และการตอบสนองต่อภัยแผ่นดินไหวที่อาจจะ
เกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คาสาคัญ: การถอดบทเรียน, แผ่นดินไหว, การเตรียมพร้อมรับมือ

ABSTRACT
Lesson learned is a knowledge management protocol from the experienced problem for future problem
preparedness. This article presents the responsive activities on the 5 May 2014 Chiang Rai earthquake on Phayao
fault in Phan district of governmental agencies including Department of Public works and Town & Country and
planning, and Chiang Rai Disaster Prevention and Mitigation Center (DPMRC 15) with the author’s field
investigations. Such data have been analyzed as a case study leading to comments to achieve the disaster
preparedness and effective earthquake responses for a future earthquake.
KEYWORDS: Lesson learned, Earthquake, Preparedness

1. ทั่วไป
จังหวัดเชียงราย เป็นจังหวัดหนึ่งในทางภาคเหนือของประเทศไทย ที่มีแหล่งท่องเที่ยว วัฒนธรรมที่สวยงาม มีความเจริญ
ทางด้านเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง จากปัจจัยการเปิดใช้สะพานเชื่อมถนน R3A ไทย-สปป.ลาว.-จีนตอนใต้ และการเพิ่มขึ้นของสายการ
บินเอกชน ทาให้จังหวัดเชียงรายกลายเป็นเมืองชายแดนที่สาคัญเป็นประตูการค้า การลงทุนตลอดจนเป็นฐานการผลิตที่สาคัญของ
ภาคเหนือและประเทศ ด้านประชากรมีผู้อยู่อาศัย ราว 1,204,660 คน บนพื้นที่ 11,678.369 ตร.กม. ประกอบด้วย 18 อาเภอ มี
ภูเขาล้อมรอบโดยเฉพาะทางทิศตะวันตกเป็นแนวเทือกเขาผีปันน้า โดยรวมภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสูง มีพื้นที่ราบสูงเป็นหย่อม ๆ ใน
เขตอาเภอแม่สรวย อาเภอเวียงป่าเป้า และอาเภอเชียงของ มีบริเวณส่วนที่ราบตามลุ่มแม่น้าสาคัญในตอนกลางของพื้นที่ ได้แก่
อาเภอพาน อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอแม่จัน อาเภอแม่สาย อาเภอเชียงแสน และอาเภอเชียงของ
จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่ผ่านมา เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 ในเขตอาเภอพาน ขนาด 6.3 ริกเตอร์ ซึ่งถือเป็นแผ่นดินไหว
ขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีระบบบันทึกมา อีกทั้งหลังจากนั้นยังคงเกิดอาฟเตอร์ช็อคตามมาอีกหลายครั้ง สร้างความเสียหายรุนแรง
เป็นบริเวณกว้างในพื้นที่ใกล้ศูนย์กลางได้แก่ อาเภอพาน อาเภอแม่สรวย อาเภอแม่ลาว
จากการเจริญเติบโตของเมือง และความเสีย่ งแผ่นดินไหวที่ปรากฏนี้ อีกทั้งพื้นที่ดังกล่าวยังมีโอกาสที่จะเกิดแผ่นดินไหวซ้าขึ้นอีกได้
ในอนาคตที่มีความชัดเจนขึ้น และกลุ่มลอยเลื่อนมีพลังพาดผ่าน ทาให้จังหวัดเชียงรายถือเป็นพื้นทีม่ ีความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหวใน
ระดับสูงพื้นที่หนึ่งของประเทศไทยเรา

2. การเตรียมการรับมือก่อนเกิดเหตุแผ่นดินไหว
การเตรียมพร้อมเพื่อรับมือต่อเหตุการณ์แผ่นดินไหวเป็นแนวทางหนึง่ ที่ยอมรับโดยทั่วไปในการลดความเสี่ยง ความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้น
จังหวัดเชียงรายได้มีการเตรียมพร้อมรับมือแผ่นดินไหวก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์ดังเช่นมาตรการดังต่อไปนี้
บทความนี้จะส่งเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารวิศวกรรมสาร ฉบับวิจัยและพัฒนาต่อไป
146 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

2.1 กฎหมายการควบคุมอาคาร
การก าหนดข้ อ บั ง คั บ ขั้ น ต่ าเพื่ อ ให้ ก ารก่ อ สร้ า งอาคารและสิ่ ง ปลู ก สร้ า งในพื้ น ที่ มี ค วามมั่ น คงแข็ ง แรงสามารถต้ า นทาน
แรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว ถือเป็นมาตรการที่มีประสิทธิภาพสูงสุดมาตรการหนึ่ง สามารถดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม การ
ควบคุมอาคารได้อาศัย กฎกระทรวงฉบับที่ 49 (พ.ศ. 2540) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่งต่อมา
ภายหลังได้ปรับเปลี่ยนเป็นกฎกระทรวงกาหนดการรับน้าหนัก ความต้านทาน ความคงทนของอาคารและพื้นดินที่รองรับอาคารในการ
ต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2550 ที่เน้นการควบคุมอาคารบางกลุ่ม ได้แก่ อาคารที่มีบุคคลเข้าไปใช้สอยเป็น
จานวนมาก อาคารสาธารณะ อาคารหอประชุม อาคารเก็บวัตถุอันตราย รวมถึงเขื่อนและสะพาน ในขณะที่อาคารที่มีขนาดเล็ก
อาคารที่ก่อสร้างไว้แล้ว หรืออาคารที่มีอยู่เดิม หรืออาคารที่ได้รับใบอนุญาตก่อนหน้านี้ ไม่ถือว่าเป็นอาคารที่ต้องควบคุมตามกฎหมาย
นี้

2.2 การฝึกซ้อมการรับมือเหตุการณ์แผ่นดินไหว
การฝึกซ้อมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นสิ่งสาคัญในการลดความสูญเสีย เพื่อให้เกิดการเตรียมพร้อมแบบบูรณาการ
ในการปฏิบัติ และเป็นการฝึกฝนกาลังพล บุคลากร ให้เกิดความรู้ ความชานาญในการปฏิบัติตามหน้าที่ การใช้แผนปฏิบัติการ เข้าใจ
บทบาทหน่วยงานต่างๆ บุคคลอื่นๆ อีกทั้งเป็นการเตรียมความพร้อมด้านอุปกรณ์เครื่องมือที่ต้องใช้ในการกู้ภัย ช่วยเหลือผู้ประสบภัย
ทั้งนี้บุคลากรที่เกี่ยวข้องมีหลายภาคส่วน เช่นหน่วยงานในพื้นที่เสี่ยงภัยจังหวัดนั้นๆ หัวหน้ าส่วนราชการ นายกองค์การปกครองส่วน
ท้องถิ่น เจ้าหน้าที่องค์กรเอกชน มูลนิธิ เครือข่ายอาสาสมัครและประชาชนในเขตพื้นที่ เพื่อให้เข้าใจบทบาทความรับผิดชอบ เพิ่มความ
ร่วมมือระหว่างเครือข่ายให้มีความชานาญ ตารางที่ 1 แสดงโครงสร้างของคณะกรรมการในการฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสา
ธารณภัยแผ่นดินไหว [1]
การฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับจังหวัดประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังต่อไปนี้
- การฝึกซ้อมแผนบนโต๊ะ (Table Top Exercise: TTX) (รูปที่ 1)
- การฝึกซ้อมเฉพาะเจ้าหน้าที่ (Functional Exercise: FEX)
- การฝึกซ้อมในที่บังคับการ (Command Post Exercise: CPX)
- การปฏิบัติภาคสนาม (Field Training Exercise: FTX) ในส่วนภาคการปฏิบัติการ ประกอบด้วย ด้านการติดต่อสื่อสาร,
ด้านการจราจรและการกันพื้นที่เกิดเหตุ, ด้านการช่วยเหลือผู้ประสบภัยหรืออาคารสถานที่เกิดภัย
และภายหลังการฝึกซ้อมแผน ได้มีการสรุป ประเมินผลการฝึกซ้อม เสนอข้อปรับปรุงแก้ไข เพื่อทบทวนประเด็นต่างๆ เพื่อให้
เกิดแผนเตรียมพร้อมรับมือที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น

ตารางที่ 1 โครงสร้างคณะกรรมการฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแผ่นดินไหว
ลาดับ กรรมการ หน้าที่ (โดยย่อ) หมายเหตุ
1 คณะกรรมการอานวยการ วางแผนประสานงาน อานวยการให้คณะทางานต่างๆ ในการ ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน
ดาเนินการฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้ กรรมการ
เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ
2 คณะกรรมการฝ่ายกาหนด จัดการประชุมวางแผนและประสานงานการฝึกซ้อมแผน,ทา รองผู้ว่าราชการจังหวัดเป็น
สถานการณ์การฝึกซ้อม การฝึกซ้อมแผนปฏิบัติการ, จัดระบบเครือข่ายสื่อสารการ ประธานกรรมการ
และควบคุมการฝึกซ้อม ฝึกซ้อมแผน, ดาเนินการสื่อสารรับแจ้งเหตุ แจ้งข่าว รายงาน
แผน ข่าว ประสานงานการปฏิบัติ,จัดตั้งศูนย์อานวยการเฉพาะกิจ
บริเวณที่เกิดภัย และจัดพิธีการฝึกซ้อม
3 คณะกรรมการฝ่าย ดาเนินการประชาสัมพันธ์ การฝึกซ้อมแผนฯ, ทาหน้าที่ ประชาสัมพันธ์จังหวัดเป็น
ประชาสัมพันธ์ วิทยากรบรรยายสถานการณ์ ให้ความรู้ในการฝึกซ้อมแผน ประธาน
4 คณะกรรมการฝ่ายรักษา รักษา ดูแลความสงบเรียบร้อย ในบริเวณสถานที่ดาเนินการ ผู้บังคับการตารวจภูธรจังหวัด
ความสงบเรียบร้อยและ ฝึกซ้อมแผน, อานวยความสะดวกการจราจรตามเส้นทางและ เป็นประธานกรรมการ
การจราจร บริเวณที่ทาการฝึกซ้อมแผน
5 คณะกรรมการฝ่ายจัด จัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์สาหรับพิธีการฝึกซ้อมแผน หัวหน้ากลุ่มงาน ปภ.จังหวัด เป็น
สถานที่ ประธานกรรมการ
6 คณะที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญในสาขาด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งงานด้าน คณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ
วิชาการ อธิการบดี
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 147

รูปที่ 1 การฝึกซ้อมแผนบนโต๊ะ

3. ผลกระทบจากแผ่นดินไหว
ผลกระทบจากแรงแผ่นดินไหวดังกล่าว มีรายงานความเสียหายรุนแรงในหลายพื้นที่ด้วยกัน โดยเฉพาะในรัศมีประมาณ 30
กิโลเมตร จากศูนย์กลางแผ่นดินไหว โดยศูนย์อานวยการเฉพาะกิจแผ่นดินไหว จังหวัดเชียงราย สรุปสถานการณ์พื้นที่ประสบภัยใน
วันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2557 พื้นที่ได้รับความเสียหาย จานวน 7 อาเภอ 50 ตาบล 609 หมู่บ้าน รายการความเสียหายและประมาณ
การค่าเสียหายเบื้องต้น ประชาชนเสียชีวิต 1 ราย บาดเจ็บ 107 คน ที่อยู่อาศัย 15,139 หลัง ทางหลวงแผ่นดิน 4 แห่ง ทล 118 ช่วง
กม.151 – 152 บ้านห้วยส้านยาว ต.ดงมะดะ อ.แม่ลาว ถนนสายเชียงราย – เชียงใหม่ ทางหลวงชนบทเสียหาย 3 แห่ง รวมถนน
เสียหายดินทรุด 7 แห่ง สะพานลอยข้ามถนน 3 แห่ง สะพานข้ามแม่น้า 2 แห่ง วัด 151 แห่ง โบสถ์คริสต์ 9 แห่ง สถานศึกษา สพป.ชร
เขต 1 จานวน 12 แห่ง สพป.ชร เขต 2 จานวน 59 แห่ง สพป.เขต 3 จานวน 12 แห่ง สพป.4 จานวน 6 แห่ง สพม.เขต 36 จานวน 27
แห่ง สนง.อาชีวศึกษาฯ จานวน 6 แห่ง ระดับอุดมศึกษา 1 แห่ง ม.ราชภัฏเชียงราย โรงเรียนที่เสียหายรวม 123 แห่ง มหาลัย 1 แห่ง
สถานบริการสาธารณสุข 44 แห่ง โรงงานอุตสาหกรรม 9 แห่ง สถานที่ราชการ ศาลากลางจังหวัดเชียงราย สนง.ที่ดิน จชร.จานวน 1
แห่ง สนง.เกษตร จ.ชร. 1 แห่ง สนง.เกษตร อ.ป่าแดด จานวน 1 แห่ง สภ.แม่ลาว จานวน 1 แห่ง แขวงการทางที่ 1 (1 แห่ง)
หอประชุมที่ว่าการ อ.แม่ลาว 1 แห่ง อบต.ม่วงคา อ.พาน 1 แห่ง ทต.ดงมะดะ อ.แม่ลาว 1 แห่ง รวมสถานที่ราชการที่เสียหาย รวม 10
แห่ง รวม 12 รายการ ประมาณความเสียหายทั้งสิ้น 1,029,574,026.79 บาท [2] ส่วนใหญ่เป็นบ้านเรือนประชาชน ดังรูปที่ 2
เนื่องจากเป็นกลุ่มอาคารที่มีปริมาณมากเทียบกับอาคารการใช้สอยอื่นๆ

(ก) อาคารพักอาศัย หมู่บ้านห้วยส้านยาว (ข) บ้านพักอาศัยบริเวณ 3 แยกแม่สรวย

รูปที่ 2 การเสียหายอาคารบ้านเรือนในพื้นที่แผ่นดินไหว
148 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

4. การตอบสนองต่อภัยแผ่นดินไหว
4.1 การปฏิบัติงานสนับสนุนแก้ไขปัญหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัย [3]
ภายหลังจากเกิดเหตุแผ่นดินไหว กองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย ได้เข้าควบคุมสถานการณ์
ภายใต้การปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉิน โดยจัดตั้งศูนย์ในการอานวยการ และปฏิบัติการ ประกอบด้วย
- ศูนย์อานวยการเฉพาะกิจระดับกลุ่มจังหวัด เพื่อการติดตาม เฝ้าระวังและสนับสนุนการปฏิบัติงานของจังหวัดที่ได้รับผลกระทบ
จากเหตุแผ่นดินไหว
- ศูนย์ปฏิบัติการส่วนหน้า ที่โรงเรียนบ้านห้วยส้านยาว ตาบลดงมะดะ อาเภอแม่ลาว โดยมีผู้อานวยการศูนย์ป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย เขต 15 เชียงราย เป็นผู้อานวยการศูนย์ปฏิบัติการส่วนหน้า และปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 6 พฤษภาคม 2557
- เตรียมความพร้อมของยานพาหนะรถกู้ภัยใหญ่ รถไฟฟ้าส่องสว่างเครื่องจักรกล รถบรรทุกพร้อมกาลังเจ้าหน้าที่และชุด
ปฏิบัติการเผชิญเหตุฉุกเฉิน หรือ ERT ที่ศูนย์บ้านดู่ และโรงเรียนบ้านห้วยส้านยาว
(1) ค้นหาผู้ประสบภัย โดยฝ่ายป้องกันและปฏิบัติการเป็นหน่วยงานหลัก ร่วมกับหน่วยแพทย์เคลื่อนที่
(2) เฝ้าระวังสถานการณ์ ฝ่ายเฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัย ได้เข้าติดตามประเมินสถานการณ์ และแรงสั่นสะเทือน (After Shock) ที่
เกิดตามมาเป็นระยะๆ เพื่อเฝ้าระวัง วิเคราะห์ ประเมินสถานการณ์ที่คาดว่าจะมีผลกระทบและแจ้งเตือน ให้ข้อมูลแก่ประชาชน
(3) อพยพและจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราว ฝ่ายป้องกันและปฏิบัติการ ได้เข้าดาเนินการจัดตั้งสถานที่อยู่อาศัยแก่ผู้ประสบภัยที่
บ้านเรือนเสียหายโดยอพยพประชาชน เข้าสู่ศูนย์พักพิงชั่วคราวพร้อมทาการลงทะเบียน สนธิกาลังกับฝ่ ายบริจาค ในการแจกจ่าย
เครื่องอุปโภคบริโภคที่จาเป็น ในการช่วยเหลือระดับเบื้องต้น ทั้งนี้มีราษฎร 6 หมู่บ้านตาบลดงมะดะ กับตาบลจอมหมอกแก้ว มีความ
เสียหายเล็กน้อย – รุนแรง มีราว 40 ครอบครัว มาพักอาศัยในเต้นท์ที่จัดหาบริเวณสนามโรงเรียนบ้านห้วยส้านยาว
(4) รักษาความสงบเรียบร้อย ทาการจัดระบบรักษาความสงบเรียบร้อยของพื้นที่ประสบภัย และพื้นที่อพยพ พร้อมทั้งปิดกั้น
พื้นที่อันตราย โดยฝ่ายรักษาความสงบเรียบร้อย สนธิกาลังร่วมกับเจ้าหน้าที่ตารวจ และอาสาสมัคร จนกว่าสถานการณ์ภัยสิ้นสุดลง
พร้อมจัดระเบียบการอพยพกลับไปสู่ที่อยู่อาศัยเดิม
(5) การประชาสัมพันธ์ โดยสานักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดเชียงรายเข้าทาการประชาสัมพันธ์การปฏิบัติตัวหลังเกิดเหตุ จัดตั้ง
สถานที่รับเรื่องราวร้องทุกข์ ระมัดระวังอันตรายและลดความตื่นตระหนก พร้อมให้บริการสอบถามข้อมูลผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต สนับสนุน
ข้อมูลสภาพความเสียหายให้แก่นักข่าวไทย พีบีเอส ไทยรัฐ และชมรมช่างเชียงใหม่
(6) ส่งกาลังบารุง โดยฝ่ายป้องกันและปฏิบัติการเข้าดาเนินการจัดชุดสนับสนุน สับเปลี่ยนเจ้าหน้าที่เพื่อสารวจค้นหาผู้ประสบภัย
จัดระบบแพทย์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลสนาม สารวจความต้องการของผู้ประสบภัย
(7) สงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ประสบภัย สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงราย สานักงานเหล่ากาชาด
จังหวัดเชียงราย และสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย ได้เข้าสารวจความต้องการของผู้ประสบภัย อาหาร น้า
ดื่ม เครื่องอุปโภค บริโภค สืบหาญาติ การรักษาพยาบาล เงินชดเชย ค้นหาทรัพย์สิน พร้อมทั้งรับเรื่องราวร้องทุกข์ จนเข้าสู่สถานการณ์
ในสภาวะที่ปลอดภัย

4.2 การสารวจความเสียหาย
ภายหลังเหตุการณ์แผ่นดินไหว อาคารในหลายพื้นที่ได้รับความเสียหาย ตั้งแต่ระดับเล็กน้อย จนถึงเสียหายหนัก ประเมินโครงสร้าง
พื้นฐานตามสถานการณ์ภัย โดยฝ่ายฟื้นฟูบูรณะกองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย สนธิกาลังกับ โยธาธิ
การและผั ง เมื อ งจั ง หวั ด เชี ย งรายและส่ ว นกลาง วิ ศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทย วิ ศ วกรผู้ เ ชี่ ย วชาญจากสถาบั น ศึ ก ษา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยราชมงคล วิทยาเขตจังหวัดเชียงราย และสถาบันต่างๆ วิศวกรจากกรมทาง
หลวง วิศวกรจากกรมชลประทาน รวมทั้งวิศวกรอาสา นักธรณีวิทยา เข้าสารวจโครงสร้าง อาคาร บ้านเรือน เขื่อน สะพาน ฯลฯ เช่นใน
พื้นที่ หมู่ 2,6,7,9,11,12,13,14 และ 15 ตาบลดงมะดะ เพื่อสารวจความแข็งแรงโครงสร้าง ความปลอดภัยใ นที่พักอาศัย เส้นทาง
คมนาคม ระบบสื่อสาร ไฟฟ้า ประปาให้สามารถใช้งานได้ พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่ตารวจ อาสาสมัครอานวยความสะดวกการจราจรในจุด
อันตราย การดาเนินการในส่วนของการประเมินตรวจสอบอาคารจากบริเวณหน้างานโดยทาการแบ่งเกณฑ์ระดับความเสียหายออกเป็น
3 ระดับ[4] โดยวัตถุประสงค์หลักเพื่อนาไปสู่คาแนะนาสาหรับการใช้อาคารในเบื้องต้น
ระดับที่ 1 สามารถแทนสีให้ทราบถึงระดับความเสี่ยงได้เป็นสีเขียว ความเสียหายในส่วนนี้ไม่ใช่โครงสร้าง สามารถเข้าอยู่ได้ ความ
เสียหายส่วนนีไ้ ด้แก่ ความเสียหายที่เกิดขึ้นในผนังก่ออิฐเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งผนังดังกล่าวจาเป็นต้องมีการรื้อถอนออกไป ในส่วนรอยแตก
ของโครงสร้างเสา เป็นแบบปูนฉาบหลุดร่อน และคอนกรีตหุม้ ที่เสา (Covering Concrete) เล็กน้อย แต่รอยแตกดังกล่าวยังเข้าไม่
ถึงคอนกรีตภายในเหล็กปลอก (Core Concrete) คาแนะนาการใช้อาคาร คือ สามารถเข้าอยู่ได้
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 149

ระดับที่ 2 สามารถแทนสีให้ทราบถึงระดับความเสีย่ งได้เป็นสีเหลือง เป็นความเสียหายที่เกิดขึ้นในส่วนที่เป็นโครงสร้างแต่ยังมี


เสถียรภาพอยู่ เกิดรอยแตกขนาดไม่ใหญ่มากในเสา ซึ่งความเสียหายดังกล่าวสามารถซ่อมแซมได้ ในรูปที่ 3(ก) คาแนะนาการใช้
อาคาร คือ ไม่ควรเข้าอยู่อาศัยอย่างถาวร
ระดับที่ 3 สามารถแทนสีให้ทราบถึงระดับความเสี่ยงได้เป็นสีแดง ความเสียหายเกิดกับโครงสร้างหลักจนทาให้อาคารไม่มี
เสถียรภาพ เช่นโครงสร้างเสาได้รบั ความเสียหายและคอนกรีตภายในเหล็กปลอกกะเทาะหลุดออกจนเป็นโพรงชัดเจน ดังแสดงในรูปที่
3(ข) คาแนะนาการใช้อาคาร คือ ไม่ควรเข้าไปในอาคาร

(ก) ระดับที่ 2 คอนกรีตภายในเหล็กปลอกยังอยู่ในสภาพดี (ข) ระดับที่ 3 คอนกรีตภายในเหล็กปลอกแตก

รูปที่ 3 การจาแนกระดับความเสียหายเพื่อนาไปสู่คาแนะนาสาหรับการใช้อาคารในเบื้องต้น

4.3 การช่วยเหลือชดเชยและการซ่อมแซมอาคาร
ในช่วงเกิดและภายเหลังเหตุมีการให้ความช่วยเหลือด้านการซ่อมแซมอาคาร ทั้งในรูปการให้เงินชดเชยจากหน่วยงานราชการ และ
หน่วยงานเอกชน และในรูปของการให้คาแนะนารูปแบบการซ่อมแซมทางเลือกต่างๆ ตามระดับความเสียหาย ดังตัวอย่างในตารางที่
2 แต่ทั้งนี้ต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ

ตารางที่ 2 ข้อแนะนาวิธีการซ่อมแซม [4]


ระดับความ
วิธีการซ่อม
เสียหาย
ซ่อมรอยร้าวโดยใช้ Grout Cement (Non shrink concrete), Epoxy Injection และเพิ่มกาลังโดยใช้ FRP,
ระดับ 1,2
CFRP หรือ Concrete Jacketing
สกัดและหล่อคอนกรีตซ่อม และเหล็กเสริมที่เสียหาย
ระดับ 3
เพิ่มกาลังโดยใช้ FRP, CFRP หรือ Concrete Jacketing

5. บทสรุปและข้อเสนอแนะ
เหตุการณ์แผ่นดินไหว จ.เชียงราย 5 พฤษภาคม 2557 ขนาด M6.3 นั้น แม้ว่าจะนับว่าเป็นแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ แต่ยังถือเป็น
โชคดีที่ได้รับผลกระทบน้อยหากเทียบกับแผ่นดินไหวในระดับใหญ่เช่นนี้ในต่างประเทศ เนื่องจากว่า ตาแหน่งการเกิดไม่ได้อยู่ใน
ศูนย์กลางเมืองที่มีอาคารและประชากรหนาแน่น เช่น แผ่นดินไหวปี ค.ศ.1976 กัวเตมาลา ขนาด M7.5 มีผู้เสียชีวิต 23,000 คน ที่
เมืองยอก จาการ์ตา อินโดนีเซีย ปี ค.ศ.2006 ขนาด M6.3 มีผู้เสียชีวิต 5,749 คน หรือแผ่นดินไหว ที่เมืองแบม อิหร่าน ปี ค.ศ.2003
ขนาด M6.6 มีผู้เสียชีวิต 31,000 คน [5, 6] อย่างไรก็ตาม จากข้อมูลที่ได้รวบรวมและการเข้าร่ วมปฎิบัติงานในพื้นที่ของผู้เขียน
สามารถสรุปเพื่อให้เกิดการเตรียมพร้อมรับมือแผ่นดินไหวในอนาคตที่อาจทาให้เกิดความเสียหายได้มากกว่า ดังต่อไปนี้
150 การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบตั ิใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557

5.1 การควบคุมอาคาร
อาคารที่เสียหายส่วนใหญ่เป็นอาคารที่ไม่ได้มีการออกแบบต้านทานแรงแผ่นดินไหว และคุณภาพการก่อสร้างยังไม่ดีพอเพื่อให้
อาคารมีแข็งแรงเพียงพอได้ การอาศัยกฎหมายควบคุมการออกแบบก่อสร้างอาคารต้านทานแผ่นดินไหวในพื้นที่เสี่ยงภัย ถือเป็นส่วน
หนึ่งที่เป็นมาตรการควบคุมอาคารที่ดี อย่างไรก็ตาม การสร้างความตระหนักของชุมชนเพื่อให้เกิดมาตรการในการป้องกันตนเองถือ
เป็นสิ่งที่ต้องส่งเสริม ตัวอย่างเช่น การก่อสร้างอาคารโครงเฟรมไม้ที่สามาถสลายพลังงานได้ดีของชาวญี่ปุ่น การเสริมท่อนไม้ในการ
ก่อสร้างอาคารอิฐในชุมชนแถบเทือกเขาหิม าลายา เป็นต้น [7] รวมทั้งการปรับปรุงเสริมกาลังอาคารที่มีอยู่เดิมที่มิได้ออกแบบ
ก่อสร้างตามกฎหมายใหม่นั้นมีความเสี่ยงมากน้อยเพียงใด

5.2 การซ้อมแผนรับมือ
การเตรียมสถานการณ์ฝึกซ้อมแผนฯ ในสถานการณ์สมมติ (Scenario) ทั้งรูปแบบการฝึกซ้อมแผนบนโต๊ะ (Table Top Exercise
: TTX) กาหนดรูปแบบการฝึกซ้อมแผนเต็มรูปแบบ (Full Scale Exercise : FSX) และประเมินผลการฝึกซ้อมแผนฯ ทั้งระบบการ
บัญชาการเหตุการณ์ (ICS) ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) การค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัย การอพยพผู้ประสบภัย การระงับ
อัคคีภัย และการควบคุมสารเคมีรั่ วไหล การรักษาความสงบเรียบร้อย การจราจร ระบบการสื่อสาร รวมทั้งการเตรียมกาลังพล
อาสาสมัครในด้านต่างๆ อย่างพอเพียง ต้องมีการสมมติสถานการณ์ที่ใกล้เคียงข้อเท็จจริงหรือในระดับที่รุนแรงมากกว่า ครอบคลุมใน
ทุกพื้นที่เสี่ยงภัย หรืออาคารสาธารณที่มีความเสี่ยงสูง

5.3 การตอบสนองต่อแผ่นดินไหว
ควบคุมสถานการณ์ บัญชาการในการให้ความช่วยเหลือ กู้ชีพ กู้ภัย บรรเทาทุกข์ ผู้ประสบภัยในท้องที่ต่างๆ โดยประกอบด้วย
หลายภาคส่วนเข้าให้ความช่วยเหลือ การสงเคราะห์ การจัดการที่อยู่อาศัยแบบชั่วคราวค่อนข้างทาได้ดี แต่ด้วยข้อจากัดของกาลัง พล
ประสบการณ์ งบประมาณ ระยะเวลา และเกิดแผ่นดินไหวตาม (After Shock) ขึ้นอีกหลายร้อยครั้ง ทาให้ประชาชนในหลายพื้นที่ ที่
ประสบภัยรอการช่วยเหลือเป็นไปอย่างล่าช้า ประชาชนมีความหวาดผวาอย่างต่อเนื่อง อาคารบ้านเรือนเสียหายจานวนมากหลายพัน
อาคาร จานวนวิศวกรที่เข้าให้ความช่วยเหลือ มีปริมาณไม่เพียงพอทาให้การเข้าสารวจ และให้ความช่วยเหลือเป็นไปอย่างล่าช้า ซึ่งส่วน
ใหญ่เป็นผู้เจ้าหน้าที่ตามส่วนราชการที่มีภารกิจประจา และวิศวกรอาสาที่จะสามารถเข้าพื้นที่เฉพาะนอกเวลาทางาน ทาให้การ
ประเมินทาได้ไม่เต็มที่ การขาดเครื่องมือช่วยสารวจ ระบบการบันทึกฐานข้อมูล ทาให้ขาดการสั่งการแบบรวมศูนย์ส่งผลให้เกิดความ
ซ้าซ้อนของข้อมูลสารวจ และบางพื้นที่เสียหายไม่ได้เข้าสารวจ

5.4 การฟื้นฟู
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากแผ่นดินไหวครั้งนี้ ได้รับผลกระทบน้อยเทียบกับขนาดที่เกิดขึ้น พบเห็นการซ่อมแซมอาคาร สิ่ง
ปลูกสร้างที่ได้รับความเสียหายทั้งในส่วนราชการและประชาชนโดยงบประมาณความช่วยเหลือจากภาครัฐที่จากัด อย่างไรก็ตาม
การทาให้กลับมามีสภาพชีวิตดังเดิมที่ยั่งยืนถือเป็นเป้าหมายสูงสุดของมาตรการฟื้นฟู ทั้งนี้ แม้ว่ายังคงพบเห็นการช่วยเหลือจา
หน่วยงานต่างๆ กับผู้ประสบภัย แต่นั่นอาจเป็นเพียงแค่การบรรเทาความเดือดร้อนที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ เนื่องจากขั้นตอนการฟื้นฟูถือ
ว่าเป็นขั้นตอนที่มีความซับซ้อน และใช้เวลาเนิ่นนาน [8, 9]

5.5 ข้อเสนอแนะ
1. ควรจัดทาแผนแนวทางในการรับมือกับภัยพิบัติที่มีประสิทธิภาพที่เป็นกระบวนการที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในสังคมมีส่วนในการ
วางแผน เพื่อลดผลกระทบของภัยพิบัติ และสามารถตอบสนองได้อย่างทันท่วงทีระหว่างที่เกิดภัยพิบัติ หรือหลังจากที่เกิดภัยพิบัติ และ
ขั้นตอนเพื่อฟื้นฟูผลกระทบของภัยพิบัติ [10]
2. การซักซ้อมแผน ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง สาหรับนักเรียนที่สามารถนาไปถ่ายทอดต่อไปยัง
ผู้ปกครองของตนและกระจายข้อมูลต่อเนื่องเผยแพร่ออกไปสู่ชุมชนและสังคม [11] รวมทั้งการให้ความรู้เพื่อการช่วยเหลือตนเองให้
สามารถดารงชีวิตอยู่ได้อย่างน้อย 3 วัน โดยปราศจากความช่วยเหลือจากบุคคลหรือหน่วยงานภายนอก [12]
3. ควรมีการวิจัยพัฒนาต่อเนื่องเพื่อให้ได้ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการเตรียมพร้อมรับมือกับภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวในอนาคต
เข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยงแผ่นดินไหวที่ชัดเจน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการกาหนดนโยบาย วางมาตรการป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติได้
อย่างเหมาะสม ลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นให้มากที่สุด
4. ควรมีการอบรมวิศวกรให้มีความรู้ด้านอาคารต้านทานแรงแผ่นดินไหว และจัดตั้งกลุ่มวิศวกรในพื้นที่ สนับสนุนและร่วมกับ
ภาคีเครือข่ายระดับจังหวัด อาเภอ และท้องถิ่น เพื่อเตรียมรับมือแผ่นดินไหวในอนาคต
การประชุมสัมมนาเรื่อง “บทเรียนแผ่นดินไหวแม่ลาว เชียงราย ภัยพิบัติใกล้ตัว” 20 พฤศจิกายน 2557 151

กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคุณนายกอบชัย บุญอรณะ หัวหน้าศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 10 ลาปาง (ดารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 15 เชียงราย ในขณะเกิดเหตุแผ่นดินไหว) และโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเชียงรายที่ได้
อนุเคราะห์ข้อมูล

เอกสารอ้างอิง
[1] สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย. รายงานผลการดาเนินงานการฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรณีเกิดภัยพิบัติ
จากแผ่นดินไหว อาคารถล่ม และระงับอัคคีภัย จังหวัดเชียงราย ประจาปีงบประมาณ 2555, 2555.
[2] วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, 7 สิงหาคม 2557. แผ่นดินไหวที่อาเภอพาน พ.ศ.2557. <http://th.wikipedia.org/wiki/แผ่นดินไหวที่อาเภอพาน>
[3] กอบชัย บุญอรณะ. รายงานบทสรุปผู้บริหาร ถอดบทเรียน ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะการเตรียมพร้อมป้องกันและลดความเสี่ยงแผ่นดินไหว จังหวั ด
เชียงราย, 2557.
[4] ชยานนท์ หรรษภิญโญ และคณะ. แนวทางการประเมินการใช้อาคารและการซ่อมแซมอาคารที่เสียหายจากแผ่นดินไหว. คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาค
วิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2557.
[5] United States Geological Service. Historic Worldwide Earthquakes. http://earthquake.usgs.gov/regional/world/historical.php
[6] United States Geological Service. Earthquakes with 1,000 or More Deaths since 1900.
http://earthquake.usgs.gov/regional/world/world_deaths.php
[7] Coburn, A. and Spence, R. Earthquake Protection, Second Edition. Wiley. London, 2002.
[8] Bliss, D., Larsen, L., & Fritz Institute. Surviving the Pakistan Earthquake: Perceptions of survivors one year on. San Francisco: Fritz
Institute, 2006.
[9] Wilson, P., Reilly, D., Russell, R., Wright, M., Arini, A., Cempaka, D., Diastami, E., Narulita, L., Anindita, M. A., Bowo Santosa, Y. J. D.,
Handani, Y., & Wahyuningsih, Y. T. CARE, Catholic Relief Services, Save the Children and World Vision Indonesia: Joint Evaluation
of Their Responses to the Yogyakarta Earthquake. Jakarta, 2007.
[10] Clerveaux, V., Spence, B., & Katada, T. (2010). Promoting disaster awareness in multicultural societies: the DAG approach.
Disaster Prevention and Management, 19(2), 199-218.
[11] Hosseini, M. & Izadkhah, Y. O. (2006). Earthquake disaster risk management planning in schools. Disaster Prevention and
Management, 15(4), 649-661.
[12] Beach, M. Disaster preparedness and management. Philadelphia, 2011.

You might also like