You are on page 1of 113

การจําลองและวิเคราะห์ฐานราก

รับแรงทางข้าง

รศ.ดร.อมร พิมานมาศ
ภาณุวฒั น์ จ้อยกลัด
ปรีดา ไชยมหาวัน
สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ความสําคัญในการจําลองฐานรากรับแรงทางข้าง
(Soil Structure Interaction : SSI)
„ ปัจจุบันการออกแบบโครงสร้างไม่ได้คํานึงถึง กําลัง (Strength Based
Design : SBD) โครงสร้างเพียงอย่างเดียว แต่ต้องคํานึงถึงการวิบัติและการ
ทรุดตัวของดินที่อาจมีผลต่อแรงที่เกิดขึ้นในโครงสร้างด้วย

„ การออกแบบโครงสร้างต้องคํานึงถึงการเคลื่อนตัวของโครงสร้าง โดยเฉพาะ
ในพื้นที่ต้องรับแผ่นดินไหวหรือแรงลม ความแข็งหรือความอ่อนของดินมีผล
ต่อการเคลื่อนตัวของโครงสร้างอย่างมาก
„ การออกแบบโครงสร้างฐานราก เช่น ฐานแผ่ ฐานแพ ฐานรากเสาเข็ม ฯ ต้อง
พิจารณาปฏิสัมพันธ์ของดินเพื่อคํานวณแรงที่เกิดขึ้นในโครงสร้างฐานราก
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ทําไมต้องสนใจ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างดินและโครงสร้าง
„ ประเภทของ ฐานรองรับ (supports) มีผลต่อกระทบต่อ โมเมนต์ แรง
เฉือน การเคลื่อนที่และรูปแบบการวิบัติของอาคารของโครงสร้าง

Stiff/Strong Foundation Flexible/Weak Foundation

ฐานรากเปลี่ยน = เปลี่ยนรูปแบบการวิบัติ!!
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ทําไมต้องสนใจ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างดินและโครงสร้าง
„ บางโครงสร้างภาวะการใช้งานของโครงสร้างเป็นสิ่งสําคัญและจําเป็นต้อง
พิจารณาเป็นอันดับต้นๆ
„ เช่น โครงสร้างรถไฟฟ้าที่ต้องควบคุมการเคลื่อนตัวของโครงสร้างไม่ให้เกินค่าที่
ยอมให้เพื่อให้ผู้โดยสารรู้สึกสบายตัวขณะใช้บริการ
- + - +
< Δall
Pin support Pile & Spring support
การเคลื่อนที่ รถไฟโคลงมากเลย การเคลื่อนที่
รู้สึกมึนหัว!! ใกล้กับความเป็นจริง
น้อยกว่าที่ควรจะเป็น

Soil spring
การ model ฐานรากโดยทั่วไป
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
ไม่สามารถแสดงค่าการเคลื่อนที่ๆแท้ เทานั้นจริงได้ Pile
ประเภทของฐานรองรับโดยทั่วไป
„ ในกรณีที่ไม่ได้พิจารณาลักษณะของดินที่รองรับโครงสร้างวิศวกรใช้
ฐานรองรับอยู่ 2 ประเภทในการวิเคราะห์โครงสร้าง

ฐานรากยืดหยุ่น
(Elastic support) ทําไงดีอยากจําลอง
ผลกระทบจากดินแต่
โปรแกรมทั่วไปเลือก
ตรึงแน่น ใส่ได้แค่ 2 แบบ ปล่อยหมุน
(Fully Rotation Fixed) ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
(Fully Rotation Free)
เทานั้น
การวิเคราะห์โครงสร้างทัว่ ไป
„ ในอดีตวิศวกรอาจวิเคราะห์ทั้ง 2 ระบบแล้วนําผลตอบสนองสูงสุดในแต่ละ
กรณีมาออกแบบ
„ แม้ว่าจะให้ค่าที่ปลอดภัยแต่ไม่ประหยัดและไม่แสดงพฤติกรรมจริงของ
โครงสร้าง
Fixed Free

Moment Shear Deformation Moment Shear Deformation


ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
ออกแบบ
เทานั้น
การจําลองปฏิสัมพันธ์ระหว่างดินและโครงสร้าง
„ การจําลองโดยใช้ปฏิสัมพันธ์ระหว่างดินและโครงสร้าง (SSI) เข้ามามีบทบาท
อย่างมาก วิศวกรจําเป็นต้องรู้ ต้องใส่ใจ
„ การวิเคราะห์มีหลายระดับขั้น ขึ้นอยู่กับความสําคัญของโครงสร้าง

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


Spring Element เทานั้น Soil Solid Element
ประเภทของฐานราก
„ การจําลองฐานรากมีหลายวิธีขึ้นกับทฤษฏีที่ใช้วิเคราะห์และประเภทของฐานราก
„ โดยฐานรากอย่างง่ายสุด คือ ฐานรากแผ่ (Spread footing) และ และฐาน
รากลึก (Deep footing)

ฐานรากตื้น ฐานรากลึก
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
การจําลอง ฐานรากตื้น
รับแรงทางข้าง
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
การจําลองฐานรากตื้น (Shallow Foundation modeling)

„ แบ่งการจําลองออกเป็น การวิเคราะห์เชิงรวม (Global analysis)


และ การวิเคราะห์เฉพาะจุด (Local analysis)
„ การวิเคราะห์เชิงรวม เป็นการจําลองอย่างเร็ว เพื่อดูผลตอบสนองรวม
ของโครงสร้าง โดยพิจารณาฐานรองรับด้วยชุดสปริงของดินรวมกันจุด
เดียว ในกรณีนี้จะไม่สามารถออกแบบเหล็กเสริมในฐานได้
„ การวิเคราะห์เฉพาะจุด เป็นการวิเคราะห์อย่างละเอียด สามารถใช้
วิเคราะห์ผลตอบสนองรวมของโครงสร้างได้ด้วยแต่มีความซับซ้อน
ทั่วไปนิยมแยกวิเคราะห์เพือ่ ออกแบบเหล็กเสริมในฐานราก
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
เชิงรวม VS เฉพาะจุด
Δ

วิเคราะห์เฉพาะจุด
ชุดสปริงของดิน Kv 3 Kv 2 Kv 3
K h1
วิเคราะห์เชิงรวม Kv 2 Kv1 Kv 2
Kh 2

ลิขสิทธของKวสท. ใชเพื่อเพิ่มK
v3
เทานั้น
ความรูในการออกแบบ
v2 Kv 3 K h1 ชุดสปริงของดิน
การวิเคราะห์ด้วยวิธีของ FEMA237 (เชิงรวม)
„ จะพิจารณาฐาณของโครงสร้างด้วยสปริงของดิน 3 ตัว คือ สปริงแนวดิ่ง
(vertical spring) สปริงในแนวราบ (Horizontal spring) และ สปริง
เชิงหมุน (Rotational spring)
P
H M
Kr Kh

Kv

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
ค่าโมดูลัสแรงเฉือนของดิน
„ ค่าสปริงของดินจะแปรผันตามค่า โมดูลัสแรงเฉือนของดิน (Shear
modulus of soil) และค่า อัตราส่วนโพซองของดิน (Poisson’s ratio
of soil) ดังนี้

Eso
Gso =
2(1 + νso )

„ โดยอัตราส่วนโพซองของดินมีค่าประมาณ 0.3 – 0.5


„ และค่าโมดูลัสแรงเฉือนเป็นสัดส่วนกับค่า โมดูลัสยืดหยุ่นของดิน (Modulus
of elasticity of soil)ลิขซึสิทง่ ธมีของควสท.่าแนะนํ าดังนี้
ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ค่าโมดูลัสยืดหยุ่นของดิน ตารางที่ 1

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
การวิเคราะห์ด้วยวิธีของ FEMA237
„ การวิเคราะห์โดยวิธีของ FEMA จะแปลงฐานรากสี่เหลี่ยมไปเป็นวงกลม
เทียบเท่า ดังนี้
x
R
y B
z

L
L

ตารางที่ 2 รัศมีเทียบเท่า

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
ความแข็งเกร็งของฐาน/สปริงของดิน
„ ความแข็งเกร็งของฐานหรือสปริงของดิน สามารถคํานวณด้วยสูตรดังนี้

K = αβk0
„ เมื่อ α คือ พารามิเตอร์เกี่ยวกับรูปร่าง รูปที่ 1
„ และ β คือ พารามิเตอร์เกี่ยวกับความลึก รูปที่ 2
„ และ k0 คือ ส.ป.ส.ความแข็งเกร็งของฐาน
„ ทั้งนี้ K มีหน่วยเป็น “แรง/การเคลื่อนที่”

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
พารามิเตอร์เกี่ยวกับรูปร่าง : α รูปที่ 1

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
พารามิเตอร์เกี่ยวกับความลึก : β รูปที่ 2

ตารางที่ 2

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
ส.ป.ส. ความแข็งเกร็งของฐานรากวงกลมเทียบเท่า
ตารางที่ 3

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
ตัวอย่างที่ 1 จงคํานวณค่าสปริงของดิน สําหรับฐานรากบนชั้น
ดินเหนียวแข็ง ลึก 0.75 ม.

วิธีทํา ประมาณค่า Eso จากตารางที่ 1, Eso = 13,750 ตัน/ม.2


และใช้ค่าเฉลี่ยของ vso = 0.40 ดังนั้น

Gso = Eso/[2*(1+vso)] = 13,750/[2*(1+0.40)] = 4,910.71 ตัน/ม.2


ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ตัวอย่างที่ 1 จงคํานวณค่าสปริงของดิน สําหรับฐานรากบนชั้น
ดินเหนียวแข็ง ลึก 0.75 ม.
ขั้นที่ 1 คํานวณรัศมีเทียบเท่า
- การเลื่อนที่, Rt = (BL/π)0.5 = (2*3/π)0.5 = 1.38 ม.
- การหมุนรอบแกน x, Rrx = (BL3/3π)0.25 = (2*33/3π)0.25 = 1.55 ม.

ขั้นที่ 2 หา ส.ป.ส α จากรูป 1 เมื่อ L/B = 1.50


- ค่า α สําหรับการเลื่อนที่ แนว y คือ 1.013
- ค่า α สําหรับการเลื่อนที่ แนว x คือ 1.035
- ค่า α สําหรับการพลิกคว่ํา รอบแกน x คือ 1.055
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ตัวอย่างที่ 1 จงคํานวณค่าสปริงของดิน สําหรับฐานรากบนชั้น
ดินเหนียวแข็ง ลึก 0.75 ม.
ขั้นที่ 3 หา ส.ป.ส β จากรูปที่ 2
- สําหรับ D/Rt = 0.75/1.38 = 0.54 คือ 1.65
- สําหรับ D/Rrx = 0.75/1.55 = 0.48 คือ 1.80
ขั้นที่ 4 ส.ป.ส.ความแข็งเกร็ง
- แนวดิง่ kov = 4GsoR/(1-vso) = 4*4,91071*1.38/(1-0.4)
= 45,178.57 ตัน/ม.
- แนวราบ (//y) kohy = 8GsoR/(2-vso) = 8*4,910.71*1.38/(2-0.4)
= 33,883.93 ตัน/ม.
-การพลิก (@x) korx = 8GsoR3/(3*(1-vso)) = 8*4,910.71*1.553/(3*(1-0.4))
= 81,274.98 ตั น /ม./เรเดี ย น
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ตัวอย่างที่ 1 จงคํานวณค่าสปริงของดิน สําหรับฐานรากบนชั้น
ดินเหนียวแข็ง ลึก 0.75 ม.
ขั้นที่ 5 คํานวณค่าสปริงของดิน
- แนวดิง่ Kv = αβk = 1.035*1.65*45,178.57
ov

= 77,153.70 ตัน/ม.
- แนวราบ (//y) Khy = αβk = 1.013*1.65*33,883.93
ohy

= 57,635.30 ตัน/ม.
-การพลิก (@x) Krx = αβk = 1.055*1.8*81,274.98
orx

= 154,341.19 ตัน/ม./เรเดียน

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
การวิเคราะห์ด้วยวิธีของ Bowles (เฉพาะจุด)
„ ใช้หลักการของ โมดูลัสต้านทานแรงกดของชั้นดิน (Modulus of
subgrade reaction, ks)
„ ค่าดังกล่าวเกิดจากแรงดันที่ทําให้ดินเกิดการยุบตัว 1 นิ้ว ซึง่ ถือว่าเป็นภาวะ
วิบัติของดิน (Ultimate) 3 P
หน่วย “ตัน/ม. ”
แผนเหล็ก

Bowles (1996) ks = 40qult δ


q

„ เมื่อ qult คือ แรงดันดินประลัย มีค่าเท่ากับแรงดันดินที่ยอมให้ (qa) คูณกับ


อัตราส่วนความปลอดภัยลิขสิ(F.S) นั่นคือ q ในการออกแบบ
ทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูult
= F.S.*qa
เทานั้น
ค่าโมดูลัสต้านทานแรงกดของชั้นดินที่แนะนํา
ตารางที่ 4

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
หลัการจําลองโดยวิธีของ Bowles

- สปริงของดินส่วนกลาง, Kv1 = ks*(พื้นที่ 1234)


- สปริงของดินที่ขอบ, Kv2 = ks*(พื้นที่ 2356)
- สปริงของดินที่มุม, Kv3 = ks*(พื้นที่ 4789)

Kv1
Kv3
t 1 2 6

7
4 3 5
Kv2
L 8 9

B
ลิActual footing
ขสิทธของ วสท. Model
ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ footing : Shell element
เทานั้น
หลัการจําลองโดยวิธีของ Bowles
¾ สปริงของดินทางข้างคํานวณจากวิธีของ Vesic (1961)
Kv 3 Kv 2 Kv 3
K h1
Kv 2 K v1 Kv 2
2 × 0.65 E so E so B 4
k sh = 12 Kh 2
B 2 E pI p
1 − ν so
Kv 3 Kv 2 Kv 3 K h1

การจําลองสปริงของดินโดยวิธีของ Bowles

¾เมื่อ B คือ ความกว้างฐานรากด้านที่ต้านทานแรง (ม.)


Ep คือ โมดูลัสยืดหยุ่นของวัสดุที่ทําฐานราก (ตัน/ม.2)
Ip คือ โมเมนต์ ค วามเฉื ่ อ ยของฐานราก (ม.4)
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ตัวอย่างที่ 2 จากตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าสปริงของดินเมื่อ
qult = 120 ตัน/ม.2 และฐานลึก 0.50 ม.

วิธีทํา แยกคํานวณสปริงในแนวดิ่งและแนวราบ
ขั้นที่ 1 สปริงของดินในแนวดิ่ง
ค่า ks = 40qult = 40*120=4,800 ตัน/ม.3
ความแข็งเกร็งรวมในแนวดิ่ง Kv = ksBL
นั่นคือ Kv = 4,800*2,*3 = 28,800 ตัน/ม.
ขั้นที่ 2 สปริงของดินในแนวราบ
เมื่อ Ep สําหรับ f’c = 280 กก./ซม.2 เท่ากับ 2,526,713.3 ตัน/ม.2
ค่า Ip = (1/12)Bt3 = (1/12)*2*0.53 = 0.021 ม.4
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ตัวอย่างที่ 2 จากตัวอย่างที่ 1 จงหาค่าสปริงของดินเมื่อ
qult = 120 ตัน/ม.2 และฐานลึก 0.50 ม.

วิธีทํา แยกคํานวณสปริงในแนวดิ่งและแนวราบ
ขั้นที่ 2 แทนค่าในสูตรของ Vesic
2 × 0.65 E so E so B 4
k sh = 12
B 2 E pI p
1− ν
1/12
1.30 13,750 ⎛⎜ 13,750 × 24 ⎞

=
2 1 − 0.40 ⎝ 2,526,713.3 × 0.021 ⎟⎠
2 ⎜

นั่นคือ ksh = 11,978.64 ตัน/ม.3


ค่าความแข็งเกร็งแนวราบ Kh = kshBt
นั่นคือ Kh = 11,978.64*2*0.5 = 11,978.64 ตัน/ม.
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
Rigid foundation VS Springs Foundation
„ เปรียบเทียบการเคลื่อนตัวของยอดอาคาร
ux = 7.91 ซม. ux = 8.14 ซม.
uz = 0.52 ซม. uz = 0.63 ซม.

(ก) Rigid foundation (ข) Springs foundation


ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
การจําลอง ฐานรากลึก
รับแรงทางข้าง
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
แนวคิดในการวิเคราะห์ : เข็มในแนวดิง่
เสาเข็ แรงในแนวดิ่ง่ง
เสาเข็มมรัรับบแรงในแนวดิ

การตรวจสอบทีส่ ภาวะกําลัง การตรวจสอบทีส่ ภาวะใชงาน

Qs Qult Qs

คอนกรีตวิบัติ φPn

ดินวิบัติ Δ
Qult/F.S. เกิดการทรุดตัวมาก

ตองตรวจสอบกําลังรับ ตองตรวจสอบกําลังรับ ตองตรวจสอบการทรุดตัวของ


น้ําหนักของชั้นดิน น้ําหนักของเสาเข็ม เสาเข็ม ไมใหมากเกินไป
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
Qs < Qult/F.S. Qult <เทาφ*P
นั้น n
Δ < Δv
แนวคิดในการวิเคราะห์ : เข็มในแนวราบ
เสาเข็
เสาเข็มมรัรับบแรงในแนวราบ
แรงในแนวราบ

การตรวจสอบทีส่ ภาวะกําลัง การตรวจสอบทีส่ ภาวะใชงาน

ΔH
Hs Hu Hs

ดินวิบัติ คอนกรีตวิบัติ
Hult/F.S. φMn

เกิดการทรุดตัวมาก

ตองตรวจสอบกําลังรับ ตองตรวจสอบกําลังรับ ตองตรวจสอบการเอียงตัวของ


น้ําหนักของชั้นดิน น้ําหนักของเสาเข็ม เสาเข็ม ไมใหมากเกินไป
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
Hs < Hult/F.S. Mu < เทφ*Mานั้น n
ΔH < Δh
การจําลองฐานรากลึก (Deep foundation modeling)
„ แบ่งระดับขั้นของการจําลองออกเป็น
(1) การวิเคราะห์อย่างง่าย (มือ)
2.1 การวิเคราะห์ดว้ ยวิธีของบรอม
2.2 การวิเคราะห์ดว้ ยวิธคี านบนฐานรากยืดหยุ่น
2.3 การวิเคราะห์ดว้ ยวิธคี านยื่นเทียบเท่า
B

(2) การวิเคราะห์โดยใช้สปริงของดิน Q
K = ks × B × ΔL

(คอมพิวเตอร์) เสาเข็ม
ชั้นที่ 1
ΔL

ชั้นที่ 2

ชั้นที่ 3

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
การจําลองเสาเข็มด้วยสปริง

(ก) เสาเข็ม+ชั้นดิน (ข) แบบปลายยื่น (ค) สปริงแบบที่ 1 (ง) สปริงแบบที่ 2


ในกรณีที่ชั้นดินดานลางมีความแข็งสูงจะจําลอง
ปลายลางของเสาเข็มใหเปนลูกกลิ้ง (Roller support)

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
อิทธิพลของสปริง ผังโมเมนต์ดัด (BMD)

Lfix = ??

โมเมนต์เท่ากัน

เสายื่น สปริงอ่อน สปริงแข็ง


ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ค่าโมดูลัสต้านทานแรงแนวราบของดิน
„ ค่าโมดูลัสต้านทานแรงแนวราบของดิน (Modulus of horizontal
subgrade reaction, ks) คือ ความชันของกราฟที่เขียนระหว่างแรงดัน
ทางข้างและการเคลื่อนที่ทางข้างของเสาเข็ม
พื้นดิน y
p

ตําแหนงเข็มเดิม

แรงปฏิกริยาของดิน
p = ks y ks = p / y

x
ตําแหนงเข็มใหม ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ค่า ks สําหรับดินทราย
„ มีค่าเท่ากับ ks = nh*(x/B)
„ เมื่อ nh คือ ค่าคงที่สําหรับต้านทานแรงแนวราบ (Constant of
horizontal subgrade reaction) รูปที่ 3
„ มีความสัมพันธ์กับค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ของดิน (Relative density,
Dr) ตารางที่ 6
„ และ x คือ ความลึกของจุดที่พิจารณา (ม.)
„ และ B คือ ความกว้างหรือเส้นผ่านศูนย์กลางของเสาเข็ม (ม.)

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
ค่าคงที่สําหรับต้านทานแรงแนวราบ
ตารางที่ 5.1 ค่า nh แนะนํา
ประเภทของดิน nh (ตัน/ม.3)
กรวด (Granular) 284 - 2,838
ตะกอน (silt) 11– 85
พืช (Peat) 6
ตารางที่ 5.2 ค่า nh แนะนํา
หลวม ปานกลาง แน่น

Terzaghi (1955) 74 – 218 218 – 738 738 – 1,447


Reese และคณะ 568 1,703 3,547
(1974)
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ค่าคงที่สําหรับต้านทานแรงแนวราบ

รูปที่ 3 ลิขสิทธของ วสท. ใชเพืเท่อาเพินั้น่มความรูในการออกแบบ


ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Dr) ตารางที่ 6
ค่า SPT-N (ครั้งต่อฟุต) ความหนาแน่น สภาพดิน
สัมพัทธ์
0-4 0 - 0.2 หลวมมาก

4-10 0.2 – 0.4 หลวม

10-30 0.4 – 0.6 ปานกลาง

30-50 0.6 – 0.8 แน่น

> 50 0.8 – 1.0 แน่นมาก


ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ค่า ks สําหรับดินเหนียว
„ มีค่าเท่ากับ ks = 67Su/B
„ และ Su คือ กําลังเฉือนแบบไม่ระบายน้ํา (Undrained shear strength)
โดย Su = qu/2
เมื่อ qu คือ กําลังรับแรงอัดแบบไม่โอบรัดของดิน

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
แนวคิดในการรับแรงทางของเข็มของ Hansen, J. B. (1961)
„ ในปี ค.ศ. 1961 J. B. Hansen เสนอรูปแบบการกระจายของแรงดันดินแบบ
ประลัยรอบเสาเข็มขณะรับแรงทางข้าง
„ เมื่อทราบแรงดันดังกล่าวทําให้สามารถคํานวณ แรงเฉือนและโมเมนต์ดัด
„ วิธีนี้ไม่สะดวกในการคํานวณเนื่องจากการกระจายของแรงดันเป็นแบบรูปโค้ง
B
H H
e e

Lfix

L
จุดยึดแนนเสมือน โมเมนตดัดสูงสุด

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


(ก) แรงดันดิน (ข) เสาเข็มเสมืเทอนานั้น (ค) แรงเฉือน (ง) โมเมนต์ดัด
วิธีของบรอม (Broms’ method)
„ การวิเคราะห์สะดวกขึ้นเมื่อ Broms ได้เสนอรูปแบบการกระจายตัวของแรงดัน
ดินอย่างง่าย
„ การวิเคราะห์จะแยกประเภทตาม
(1) ดินเหนียวหรือดินทราย : สมการที่ใช้วิเคราะห์จะพิจารณาตามลักษณะของดิน
คือ ดินเหนียว (Cohesive soils) และ ดินทราย (Cohesionless soils)
(2) ปลายอิสระหรือปลายยึดแน่น : หากเสาเข็มที่ใช้ในโครงสร้างเป็นเข็มต้นเดี่ยวเช่น
ในกรณีของฐานรากปล่อง (Drilled shaft) e

เราจะพิจารณาเสาเข็มเป็น เสาเข็มปลายอิสระ
(Free head pile) แต่หากเป็นในกรณีของฐาน L L

รากกลุ่มซึ่งมีแท่นหัวเข็ม จะพิจารณาเป็นแบบ B B

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เสาเข็มปลายยึดแน่น (Fixed head เทpile) านั้น
วิธีของบรอม (Broms’ method)
(3) เข็มสั้นหรือเข็มยาว : การนิยาม เข็มสั้น (Short piles) หรือ เข็มยาว
(Long piles) จะพิจารณาที่ความแข็งเกร็งสัมพัทธ์ (Relative stiffness)
ของเสาเข็มเทียบกับดินรอบข้าง
- หากการเคลื่อนตัวของเสาเข็มมีมากจนทําให้ดินรอบข้างวิบัติก่อนเสาเข็ม
จะเรียกเสาเข็มดังกล่าวว่าเข็มสั้น
- หากการเคลื่อนตัวของเสาเข็มมีมากจนทําให้ตัวเสาเข็มวิบัติก่อนดินรอบ
ข้างเราจะเรียกเสาเข็มดังกล่าวว่าเข็มยาว

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
เงื่อนไขของ เข็มสั้น VS เข็มยาว
ประเภทดิน ดินเหนียว ดินทราย
ประเภทเสา
เข็มสั้น L/R <= 2.0 L/T <= 2.0
เข็มยาว L/R >= 3.5 L/R >= 4.0
1/ 5
⎛ E pI p ⎞
T =⎜ ⎟
⎜ n ⎟
⎝ h ⎠

1/ 4
⎛ E pI p ⎞
R =⎜ ⎟
⎜k ×B ⎟
⎝ s ⎠

เมื่อ Ep และ Ip คือ โมดูลัสยืดหนุ่นของคอนกรีตและโมเมนต์เฉื่อยของหน้าตัด


ตามลําดัลิขบสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
รูปแบบการวิบัติตามเงือ่ นไขของบรอม
„ การวิบัติของดินรอบข้าง : แรงทางข้างใช้งานที่กระทําต่อเสาเข็มต้องมีค่าไม่
เกินแรงทางข้างประลัยที่หารด้วยอัตราส่วนความปลอดภัยของเสาเข็ม

„ การวิบัติของเสาเข็ม : โมเมนต์ดัดประลัยที่เกิดขึ้นในเสาเข็ม (Mu) ต้องไม่เกิน


กําลังรับโมเมนต์ของเสาเข็ม (φMn) Î ตรวจสอบได้จาก Interaction
Diagram φPn
ปลอดภัย

φΜ
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูใnนการออกแบบ
เทานั้น
การวิเคราะห์โดยวิธีของบรอม
„ การวิเคราะห์โดยวิธีของบรอมสามารถทําได้ 2 แบบคือ
(1) ใช้สมการ
(2) ใช้กราฟ

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
โครงสร้างการวิเคราะห์
VS
เข็มกลุ่ม/เข็มเดี่ยว ต้องลดประสิทธภาพ
ในกรณีเข็มกลุ่ม

ดินทราย/ดินเหนียว ?? พารามิเตอร์ที่ใช้
แตกต่างกัน
Cohesionless Cohesive
โมเมนต์แตกต่างกัน
ปลายอิสระ/ยึดแน่น ??
Free Fixed Free Fixed

เข็มสั้น/เข็มยาว ?? พฤติกรรม
การวิบัติแตกต่างกัน
Short เข็มยาว – เข็มพัง

Long
สมการ/กราฟ ??
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
เข็มสั้น - ดินพัง
เข็มสั้น : ในชั้นดินเหนียว
ปลายอิสระ ปลายยึดแน่น
H
H
e

L
L

จุดหมุน
1.5B 1.5B M max

x0

L L L − 1.5B

9Su B M max
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ 9Su B
เทานั้น
แรงดันดิน โมเมนตดัด แรงดันดิน โมเมนตดดั
การออกแบบเข็มสั้น : ดินเหนียว - กราฟ
H ult
Su B 2

EX1
Ultimate Lateral Capacity

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
เข็มสั้น : ดินเหนียว – ปลายยึดแน่น - สมการ
¾ กําลังต้านทานแรงทางข้างสูงสุด คํานวณได้จากรากของสมการ
H

H ult = 9S u B (L − 1.50B )
L

¾ โมเมนต์ที่เกิดจากแรงทางข้าง 1 .5 B M max

M u = 4.50S u B (L2 − 2.25B 2 )


L L − 1 .5 B

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ 9S u B


เทานั้น แรงดันดิน โมเมนตดดั
เข็มสั้น : ดินเหนียว – ปลายอิสระ - สมการ
¾ กําลังต้านทานแรงทางข้างสูงสุด คํานวณได้จากรากของสมการ
H

2 e
⎡ H ult ⎤ ⎡ 1 ⎛ H ult ⎞⎤
2.25BS u ⎢L − ⎥ − H ⎢ e + 1 .50 B + ⎜ ⎟⎥ = 0
2 ⎜⎝ 9S u B ⎟
ult
⎣ 9S u B ⎦ ⎣⎢ ⎠ ⎦⎥
L

จุดหมุน
¾ โมเมนต์ที่เกิดจากแรงทางข้าง 1.5B

M u = H u (e + 1.50B + 0.5x 0 )
x0

เมื่อ L

Hu
x0 =
9S u B 9Su B M max
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น แรงดันดิน โมเมนตดัด
เข็มยาว : ในชั้นดินเหนียว
ปลายอิสระ ปลายยึดแน่น
H H

1.5B 1.5B M M

x0 x0

9Su B M 9Su B

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


แรงดันดิน โมเมนตดดั เทานั้น แรงดันดิน โมเมนตดดั
การออกแบบเข็มยาว : ดินเหนียว - กราฟ
Hu
Su B 2

EX1
Ultimate lateral load

Mu
Su B 3
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
Ultimate lateral moment
เทานั้น
เข็มยาว : ดินเหนียว – ปลายยึดแน่น - สมการ
H

¾ โมเมนต์ที่เกิดจากแรงทางข้าง
Hu
Mu = (1.50B + 0.5x 0 )
2 1.5B M M

เมื่อ
x0
Hu
x0 =
9S u B

9Su B

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
แรงดันดิน โมเมนตดดั
เข็มยาว : ดินเหนียว – ปลายอิสระ - สมการ
H
¾ โมเมนต์ที่เกิดจากแรงทางข้าง e

M u = H u (e + 1.50B + 0.5x 0 )
1.5B

เมื่อ Hu
x0 = x0
9S u B

9Su B M

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ โมเมนตดัด


เทานั้น
แรงดันดิน
เข็มสั้น : ในชั้นดินทราย
ปลายอิสระ ปลายยึดแน่น
H
H
e

L
L

จุดหมุน
M max

x0

L L
L − x0

3Bγ′LK p M max
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ 3Bγ′LK p

แรงดันดิน โมเมนตดดั เทานั้น แรงดันดิน โมเมนตดดั


การออกแบบเข็มสั้น : ดินทราย - กราฟ
H ult
K p B 3 γ′
Ultimate lateral Capacity

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
เข็มสั้น : ดินทราย – ปลายยึดแน่น - สมการ
¾ กําลังต้านทานแรงทางข้างสูงสุด คํานวณได้จากรากของสมการ
H

H ult = 1.50 γ ′L 2 BK p L

¾ โมเมนต์ดดั สูงสุด M max

M u = γ ′L 3 BK p L

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ 3Bγ′LK p


เทานั้น
แรงดันดิน โมเมนตดดั
เข็มสั้น : ดินทราย – ปลายอิสระ - สมการ
¾ กําลังต้านทานแรงทางข้างสูงสุด คํานวณได้จากรากของสมการ
0.50 γ′L3BK p
H ult =
(e + L )

¾ โมเมนต์ดดั สูงสุด
M u = H u (e + 1.50x 0 )

1 + sin φ ′ Hu
เมื่อ Kp = และ x 0 = 0.82
1 − sin φลิข′สิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ γ ′BK p
เทานั้น
เข็มยาว : ในชั้นดินทราย
ปลายอิสระ ปลายยึดแน่น
H H

M M

x0 x0

3Bγ′LK p

M
3Bγ′LK p

แรงดันดิน ลิขสิทธของ
โมเมนต ดดั วสท. ใชเพืเท่อาเพินั้น่มความรูใแรงดั
นการออกแบบ
นดิน โมเมนตดดั
การออกแบบเข็มยาว : ดินทราย - กราฟ
Hu
K p B 3 γ′
Ultimate lateral load

Mu
K p B 4 γ′

Ultimate lateral Moment


ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
เข็มยาว : ดินทราย – ปลายยึดแน่น - สมการ
¾ โมเมนต์ที่เกิดจากแรงทางข้าง
M M H

x0

Hu ⎡ Hu ⎤
Mu = ⎢e + 0.54 ⎥
2 ⎢⎣ γ ′BK p ⎥⎦
3Bγ′LK p

แรงดันดิน โมเมนตดดั

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
เข็มยาว : ดินทราย – ปลายอิสระ - สมการ
¾ โมเมนต์ที่เกิดจากแรงทางข้าง
H

e ⎡ Hu ⎤
Mu ⎢
= H u e + 0.54 ⎥
⎢⎣ γ ′BK p ⎥⎦
x0

M
3Bγ′LK p

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


แรงดันดิน โมเมนตดดั เทานั้น
ประสิทธิภาพของกลุ่มเสาเข็ม
„ ในกรณีที่มีเสาเข็มมากกว่า 1 ต้น อยู่ในฐานเดียวกัน เราจะเรียกฐานรากดัง
กล่าว่า “เสาเข็มกลุ่ม (Pile groups)”

„ จากการวิจัยพบว่าหากเสาเข็มในฐานเรียงอยู่ชิดกันเกินไป กําลังของเสาเข็ม
แต่ละต้นที่คํานวณได้จะมีกําลังที่ลดลง

„ อย่างไรก็ดีจากการวิจัยพบว่าหากระยะเรียงของเสาเข็มแต่ละต้นมีค่ามากพอ
เช่น ประมาณ 6 – 8 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลาง เสาเข็มก็จะรักษากําลังแบบ
เสาเดี่ยวไว้ได้
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ค่าตัวคูณลดกําลังสําหรับเสาเข็มกลุ่มในชั้นดินเหนียว
ระยะเรียงในทิศทางที่มี 2x2 3x3 ค่าแนะนํา
แรงกระทํา (S/B)
3.0 0.42 0.39 0.40
3.5 0.50 0.42 0.45
4.0 0.57 0.44 0.50
4.5 0.61 0.47 0.55
5.0 0.63 0.48 0.55
6.0 - - 0.65
8.0 - - 1.00
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ค่าตัวคูณลดกําลังสําหรับเสาเข็มกลุ่มในชั้นดินทราย
ระยะเรียงในทิศทางที่มีแรงกระทํา ตัวคูณลดกําลัง
(S/B)
3 0.50

4 0.60

5 0.68

6 0.70
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ค่าตัวคูณลดกําลังสําหรับเสาเข็มสําหรับการเคลื่อนตัว
ระยะเรียงในทิศทางที่มีแรงกระทํา ตัวคูณลดกําลัง
(S/B)
3 0.25

4 0.40

6 0.70

8 1.00
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ตัวอย่าง ตรวจสอบกําลังของหน้าตัด
„ แรงอัดแนวแกนใช้งาน
PLL = 75 ตัน และ PDL = 550 ตัน
ƒ แรงทางข้างใช้งาน Hs = 24.75 ตัน
ƒ แรงทางข้างประลัย Hu = 40.50 ตัน
ƒ กําหนด f’c = 350 ksc
และ fy = 4,000 ksc

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
„ ขั้นที่ 1 คํานวณคุณสมบัติของหน้าตัด
- ค่าโมดูลัสยืดหยุ่นของคอนกรีต, E c = 15,100 f c′
- นั่นคือ E c = 15,100 350 = 282,495.13 กก./ซม.2
- ค่าอัตราส่วนโมดูลัสจาก, n = Es / Ec = 2.04 × 106 / 282,495.13 = 7.22
π
- พื้นที่ของเหล็กเสริม, Ast = 40 ×
4
× 3.22 = 321 .72 ซม.2
- ใช้ g ≈ 0.90 จะได้ Ds = gD = 0.90 × 180 = 162 ซม.
πD 4 Ds2
- โมเมนต์เฉื่อย, I =
64
+ (2n − 1)Ast
8
π × 180 4 1622
- แทนค่าจะได้, I =
64
+ (2 × 7.22 − 1) × 321 .72 ×
8
= 6.57 × 107 ซม.4
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
„ ขั้นที่ 2 ตรวจสอบว่าเป็นเข็มสั้นหรือยาว
2.5 × 17 + 15.5 × 24
- ค่ากําลังอัดแบบไม่โอบรัดเฉลีย่ qu =
18
= 23.03 ตัน/ม.2
Su (23.03 /2)
- จาก k s = 67
B
= 67 ×
1.80
= 428.61 ตัน/ม.2
- เมื่อ E p = E c = 2,824,951.3 ตัน/ม.2
- และ I p = I = 0.657 ม.4
0.25
⎛ E pI p ⎞
- สําหรับดินเหนียว R =⎜
⎜k ×B


⎝ s ⎠

0.25
- นั่นคือ ⎛ 2,824,951.3 × 0.657 ⎞
R =⎜
⎝ 428.61 × 1.80


= 7.00 ม.
- เมื่อ L/R = 18/7 = 2.57 มากกว่
ลิขสิทา
ธของ2.0 แต่เพื่อนเพิ่ม้อความรู
วสท. ใช ยกว่ า 3.5 ต้องตรวจสอบทัง้ 2 กรณี
ในการออกแบบ
เทานั้น
„ ขั้นที่ 3.1 คํานวณกําลังรับแรงทางข้างของดิน – เข็มสั้น ด้วยกราฟ
- เมื่อ c u = Su = qu /2 = 23.03 /2 = 11.51 ตัน/ม.2

- เมื่อ L / B = 18 .0 /1.8 = 8.61 และ e / B = 10 /1.8 = 5.56 จากกราฟ


H ult
- นั่นคือ cuB 2
≈ 17.50 ดังนั้น H ult = 17.50 × 11.51 × 1.802 = 652.62 ตัน
- สําหรับ F.S. = 2.50
- นั่นคือ Hult/F.S. = 652.62/2.5 = 261.05 ตัน
- พบว่า Hs = 24.75 ตัน น้อยกว่า 261.05 ตัน O.K.
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
„ ขั้นที่ 3.1 คํานวณกําลังรับแรงทางข้างของดิน – เข็มสั้น ด้วยสมการ
- แทนค่าในสมการ
2
⎡ H ult ⎤ ⎡ 1 ⎛ H ult ⎞⎤
46.62⎢18 − ⎥ − H ult ⎢12.70 + ⎜⎜ ⎟⎟⎥ = 0
⎣ 186.46 ⎦ ⎣ 2 ⎝ 186.46 ⎠⎦

- แก้สมการจะได้ H ult = 659.76 ตัน (ใกล้เคียงกับ 652.62 ตัน)

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
„ ขั้นที่ 3.1 โมเมนต์ดัดประลัย – เข็มสั้น
Hu 40.50
- เมื่อ Hu = 40.50 ตัน เมื่อ x0 =
9Su B
=
9 × 11.51 × 1.80
= 0.22 ม.
- เมื่อ M u = Hu (e + 1.50B + 0.5x0 )
- แทนค่าจะได้ M u = 40.50(10 + 1.50 × 1.80 + 0.5 × 0.22) = 518.81 ตัน-ม.

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
„ ขั้นที่ 4 ตรวจสอบการวิบัติของเข็ม – เข็มยาว ด้วยสมการ
- โมเมนต์ดัดประลัยมีคา่ เท่ากับ Mul = 518.81 ตัน-ม. สมการเดียวกันกับขั้นที่ 3.1
„ หรืออาจทําการตรวจสอบด้วยกราฟ เมื่อ
Hu
= 1.09 และ e / B = 5.56
2
Su B
Mu
จะได้ S B 3 ≈ 8.0
u

หรือ M u = 8 × 11.51 × 1.8 3 = 537.01 ตัน-ม.

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
„ ขั้นที่ 5 คํานวณกําลังของหน้าตัด จากเส้นโค้งปฏิสมั พันธ์
- เมื่อ Pu = 1.4PDL + 1.7PLL จะได้
- Pu = 1.4*550 + 1.7*75 = 897.50 ตัน

จุดอยู่ในเส้นโค้ง ปลอดภัย

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
ตัวอย่าง 2 จงวิเคราะห์หน้าตัด
™ เสาเข็มคอนกรีตยาว 12 ม.
™ กําหนด f’c = 350 ksc และ fy = 4,000 ksc
™ nh = 480.50 ตัน/ม.3
™ แรงทางข้างใช้งาน, Hs = 2.0 ตัน
™ แรงทางข้างประลัย, Hu = 3.5 ตัน
™ แรงอัดตามแนวแกนประลัย, Pu = 250 ตัน
™ โมเมนต์ดัดประลัยที่หัวเข็ม, Mu = 35 ตัน-ม.

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
„ ขั้นที่ 1 คํานวณคุณสมบัติของหน้าตัด
- ค่าโมดูลัสยืดหยุ่นของคอนกรีต, E c = 15,100 f c′
- นั่นคือ E c = 15,100 350 = 282,495.13 กก./ซม.2
- ค่าอัตราส่วนโมดูลัสจาก, n = Es / Ec = 2.04 × 106 / 282,495.13 = 7.22
π
- พื้นที่ของเหล็กเสริม, Ast =
4
× 1.62 = 2.01 ซม.2
bh 3
- โมเมนต์เฉื่อย, I =
12
+ (2n − 1)A s1d12 + (2n − 1)A s 2d 22

30 4
- แทนค่าจะได้, I =
12
+ 2 × (2 × 7.22 − 1) × 3 × 2.01 × 10 2 = 8.37 × 10 4 ซม.4
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
„ ขั้นที่ 2 ตรวจสอบว่าเป็นเข็มสั้นหรือยาว
- เมื่อกําหนด nh = 480.50 ตัน/ม.3
- เมื่อ Ep = Ec = 2,824,951.30 ตัน/ม.2
- และ Ip = I= 0.00084 ม.4
1/ 5
⎛ E pI p ⎞
- สําหรับดินทราย T =⎜
⎜ n
⎝ h



0.20
⎛ 2,824,951.3 × 0.00084 ⎞
- นั่นคือ T =⎜
⎝ 480.50


= 1.38 ม.

- เมื่อ L/T = 12/1.38 = 8.72 มากกว่า 4 เป็นเข็มยาว ตรวจสอบการวิบัติของเสาเข็ม

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
„ ขั้นที่ 3 กําลังของหน้าตัด
Md i
- แรงอัดตามแนวแกนน้อยสุด Pmin =
P

n ∑d2

- เมื่อ ∑ d 2 = 2 × 2 × 452 = 8,100 ซม.2


250 35 × 0.45
- นั่นคือ Pmin =
4

0.81
= 43.06 ตัน
- เลือกใช้ Pu = Pmin (P น้อยให้ค่า Mn ต่ํา)

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
„ ขั้นที่ 4 โมเมนต์ดัดสูงสุดที่เกิดจากแรงทางข้าง Hu
- สําหรับ Hu = 3.50 ตัน
- เนื่องจากเป็นเสาเข็มกลุ่ม (S/B = 3.0) ต้องขยายค่า Hu = 3.5/0.5 = 7 ตัน
1 + sin φ′ 1 + sin 45 o
- เมื่อ Kp = =
1 − sin φ′ 1 − sin 45 o
= 5.83

Hu 7.00 Mu
- เปิดกราฟเมื่อ K p B γ′3
=
5.83 × 0.3 × 23
= 22.24 จะได้ 4
K p B γ′
≈ 20

- นั่นคือ M u = 20 × 5.83 × 0.30 4 × 2 = 2.83 ตัน-ม.


- หาจากสมการ Hu ⎡ Hu ⎤
Mu = ⎢e + 0.54 ⎥ O.K.
2 ⎢ γ ′BK p ⎥⎦

7⎡ 7 ⎤
- ได้ Mu = ⎢0 + 0.54
2 ⎢⎣ 2 × 0.30ลิ×ขสิ5ทธ.ข83
⎥ =ใช2เพื.่อ67
อง วสท.
⎥⎦
ตัน-ม.
เพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
„ ขั้นที่ 5 ตรวจสอบกําลังของหน้าตัดด้วย เส้นโค้งปฏิสัมพันธ์

อยู่ในเส้นโค้งถือว่าปลอดภัย

(Pu = 43.06 T, Mu = 2.83 T-m.)

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
วิธคี านบนฐานรากยืดหยุ่น (Beam on elastic foundation)
„ วิธีของบรอมที่อธิบายไปแล้วนั้น เป็นการวิเคราะห์แรงทางข้างที่สภาวะ
ประลัยเมื่อดินหรือเสาเข็มเกิดการวิบัติ
„ ในการออกแบบฐานรากเสาเข็มบางครัง้ วิศวกรอาจกําหนดสภาวะประลัย
จากการจํากัดเคลื่อนตัวทางข้างของเสาเข็ม
„ การหาแรงประลัยจากการกําหนดการเคลื่อนตัวทางขางสามารถทําได้โดย
วิธีคานบนฐานรากยืดหยุ่น
„ วิธีนี้สามารถคํานวณการเคลื่อนตัวทางข้างของเสาเข็มที่รับแรงทางข้างและ
โมเมนต์ดัดที่ปลาย ด้วยการแก้สมการเชิงอนุพันธ์ โดยมีตัวแปรที่สําคัญคือ
ค่าโมดูลัสต้านทานแรงกด (Modulus of subgrade reaction)
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
วิธคี านบนฐานรากยืดหยุ่น (Beam on elastic foundation)
„ วิธีคานบนฐานรากยืดหยุ่น จะใช้ความสัมพันธ์ของแรงดันดิน และสร้างสมการเชิง
อนุพันธ์ หลักจากนั้นก็จะใช้ความสัมพันธ์ทางกลศาสตร์ของวัสดุคํานวณหา การโก่งตัว
แรงเฉือนและโมเมนต์ดัด
dy d 2y d 3y d 4y
θ= M = EI V = EI p = EI
Qg Mg y dx dx 2 dx 3 dx 4

y(x )

(ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ)


แรงกระทํา การโก่งตัวลิขสิทธของมุวสท.
มหมุนใชเพืโมเมนต์ ดดั ในการออกแบบ
่อเพิ่มความรู แรงเฉือน แรงดันดิน
เทานั้น
ดินทราย - ปลายอิสระ
„ โมเมนต์ที่เกิดจากแรง Qg และโมเมนต์ Mg เมือ่ Z = x/T คือ
M x = Am Q g T + B m M g

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
ดินทราย - ปลายอิสระ EX5

„ การเคลื่อนที่ทางข้างที่เกิดจากแรง Qg และโมเมนต์ Mg คือ


QgT 3 M gT 2
Δ H = Ay + By
EI EI

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
ดินทราย - ปลายยึดแน่น
„ สมการโมเมนต์ลดรูปเป็น M x = CmQ g T

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
ดินทราย - ปลายยึดแน่น EX3

QgT 3
„ การเคลื่อนที่ทางข้าง ΔH = Cy
EI

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
ดินเหนียว - ปลายอิสระ
„ โมเมนต์ดัดคํานวณได้จาก
M = Amc Q g R + B mc M g

„ การเคลื่อนที่ทางข้าง
Qg R 3 M gR2
Δ H = Ayc + B yc
EI EI

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น EX4-M EX4-Δ
ตัวอย่าง 3 จงออกแบบเหล็กเสริมในเสาเข็ม
™ เข็มจตุรัสขนาด 22 ซม. 22 ซม.
™ ยาว 22 ม.
™ คินทรายหลวม มีค่า nh = 66 ตัน/ม.3
22 ซม.
™ แรงทางข้างประลัย Hu = 2.0 ตัน
™ แรงทางข้างใช้งาน Hs = 1.5 ตัน
™ แรงอัดตามแนวแกนประลัย Pu = 35 ตัน
™ Δh = 2.50 ซม. (การเคลื่อนตัวทางข้างที่ยอมให้)
™ f’c = 350 กก./ซม.2
™ fy = 4,000 กก./ซม.2
™ เสาเข็มเป็นแบบปลายยึดแน่น
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
„ ขั้นที่ 1 คํานวณคุณสมบัติของหน้าตัด
- ค่าโมดูลัสยืดหยุ่นของคอนกรีต, E c = 15,100 f c′
- นั่นคือ Ec = 15,100 300 = 261,539.67 กก./ซม.2
bh 3
- โมเมนต์ความเฉื่อย, I =
12

224
- แทนค่าจะได้ I =
12

- นั่นคือ I = 19,521.33 ซม.4

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
„ ขั้นที่ 2 ตรวจสอบว่าเป็นเข็มสั้นหรือยาว
- เมื่อกําหนด nh = 66.26 ตัน/ม.3
- เมื่อ Ep = Ec = 2,824,951.33 ตัน/ม.2
- และ Ip = I= 0.000195 ม.4
1/ 5
⎛ E pI p ⎞
- สําหรับดินทราย T =⎜
⎜ n
⎝ h


0.20
- นั่นคือ ⎛ 2,824,951 .33 × 0.000195 ⎞
T =⎜ ⎟ = 1.53
⎝ 66 ⎠

- เมื่อ L/T = 22/1.53= 14.38 มากกว่า 5 เป็นเข็มยาว

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
„ ขั้นที่ 3.1 โมเมนต์ดัดสูงสุด สําหรับปลายยึดแน่น
- ค่า Cm = 0.25 สําหรับ M+
- และ Cm = -1.05 สําหรับ M- (ควบคุม)
- เมื่อ Qg = 2.0 ตัน และ Mg = 0 ตัน-ม.
- จาก Mu = CmQgT = 1.05*2*1.53 + 0 = 3.21 ตัน-ม.

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
„ ขั้นที่ 3.2 ออกแบบเหล็กเสริม
- พิกัดของแรงประลัย (Mu, Pu) = (3.21, 35)
- ดังนั้นเลือกใช้ 12DB12 มีเปอร์เซ็นต์เหล็กเท่ากับ 2.8% ตรวจสอบกับเส้นโค้ง
ปฏิสัมพันธ์

อยู่ในเส้นโค้งถือว่าปลอดภัย

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
„ ขั้นที่ 4 วิเคราะห์หน้าตัด
- สําหรับหน้าตัดขนาด 22x22 ซม. ซึ่งมี 12DB12
- อัตราส่วนโมดูลสั n = E /E = 2.04 × 10 /282,495.13 = 7.22
s c
6

bh 3
- โมเมนต์ความเฉือ่ ย, I = 12 + (2n − 1)As1d12 + (2n − 1)As2d 22
22 4
- แทนค่า I = 12 + 2 × (2 × 7.22 − 1) × 4 × 1.13 × 7.5 2 + 2 × (2 × 7.22 − 1) × 2 × 1.13 × 2.5 2
- นั่นคือ I = 26,735 .25 ซม.4
0.20
⎛ 2,824,951.33 × 0.000267 ⎞
- ดังนั้น T = ⎜⎝ 66


= 1.63 ม.

- เมื่อ L/T = 22/1.63 = 13.50 มากกว่า 5.0 เป็นเสายาว


- มีค่าโมเมนต์สูงสุดเท่ากับ, Mu = 1.05*2.0*1.63 = 3.42 ตัน-ม.
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
„ ตรวจสอบด้วย Interaction diagram

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
„ ขั้นที่ 5 คํานวณการเคลือ่ นตัวทางข้าง
- จาก Zmax = L/T = 13.5 จะได้ค่า Cy = 1.10 Í Cy
- การเคลือ่ นตัวทางข้างคํานวณจาก
1.50 × 1.63 3
- แทนค่า Δ H = 1.10
2,824,951.33 × 0.000267
= 0.00947 ม.

- นั่นคือ ΔH = 0.95 ซม. น้อยกว่า Δh = 2.50 ซม. O.K.

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
ตัวอย่าง 4 จากตัวอย่างที่ 3 จงออกแบบเหล็กเสริมในหน้าตัดเสาเข็ม
ปลายอิสระที่ตอกอยู่ในชั้นดินเหนียว qu = 2.45 ตัน/ม.2

ขั้นที่ 1 ตรวจสอบว่าเป็นเสายาวหรือไม่
- เมื่อ qu = 2.45 ตัน/ม.2
- ดังนั้น Su = qu/2 = 2.45/2 = 1.225 ตัน/ม.2
- จะได้ ks = 67(Su/B) = 67(1.225/0.22) = 373.07 ตัน/ม.3
- เมื่อ Ec = 282,495.13 กก./ซม.2
0.25
⎛ 2,824,951.3 × 0.000195 ⎞
- สําหรับดินเหนียวR =⎜
⎝ 373 .07 × 0 .22


= 1.61 ม.

- เนื่องจาก L/R = 22/1.61 = 13.67 มากกว่า 4 เป็นเสายาว

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
„ ขั้นที่ 2 โมเมนต์ดัดสูงสุด
- จากรูปค่า Amc = 0.40 เมื่อ Qg = 2 ตัน และ Mg = 0 ตัน-ม.
- จาก Mu = AmcQgT+BmcMg = 0.40*2*1.61+0 = 1.29 ตัน-ม.
- นําไปตรวจสอบกับ Interaction diagram ผ่าน!
„ ขั้นที่ 3 ตรวจสอบหน้าตัด
- เมื่อ I = 26,735.25 ซม.4
0.25
- ได้ R = ⎛⎜ 2,824373
,951 .3 × 0.000267 ⎞
.07 × 0 .22
⎟ = 1.74 ม.
⎝ ⎠
- พบว่า L/R = 22/1.74 = 12.64 มากกว่า 4 เป็นเข็มยาว
- โมเมนต์เท่ากับ Mu = 0.40*1.74*2 = 1.39 ตัน-ม.
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
„ ตรวจสอบกับ Interaction Diagram

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
„ ขั้นที่ 5 คํานวณการเคลือ่ นตัวทางข้าง
- เปิด ส.ปส. Ayc สูงสุด มีค่าเท่ากับ 2.00

Qg R 3 M gR2
- การเคลือ่ นตัวทางข้างคํานวณจาก Δ H = Ayc
EI
+ B yc
EI

1.50 × 1.743
- แทนค่า ΔH =2
2,824,951.33 × 0.000267
+ 0 = 0.0210 ม.

- นั่นคือ ΔH = 2.10 ซม. น้อยกว่า Δh = 2.50 ซม. O.K.

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
การวิเคราะห์เสาเข็มต้นเดียวโดยวิธีคานยื่นเทียบเท่า
(Equivalent cantilever methods)
„ เพื่อทําให้การวิเคราะห์เสาเข็มต้นเดี่ยวซึง่ ฝังอยู่ในชั้นดินที่มีคุณคุณสมบัติสม่ําเสมอมี
ความสะดวกยิ่งขั้น
„ Davisson, M. T. (1970) ได้เสนอสูตรแบบประมาณเพื่อใช้คาํ นวณหาโมเมนต์ดัด
และระยะขจัดสูงสุดจากการกําหนดระยะฝังแน่น (Fixity depth)

ประเภทดิน ระยะขจัด โมเมนต์


ดินเหนียว Ld = 1.40R Lm = 0.44R
ดินทราย Ld = 1.80T Lm = 0.78T

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
การวิเคราะห์เสาเข็มต้นเดียวโดยวิธีคานยื่นเทียบเท่า
(Equivalent cantilever methods)
„ จากรูปจะพบว่า Davisson กําหนดระยะ Ld ที่ทําให้ระยะขจัดที่ปลายของ
คานเทียบเท่ามีค่าเท่ากับระยะขจัดของคานจริงและกําหนดระยะ Lm ที่ทําให้
โมเมนต์ดัดสูงสุดในคานเทียบเท่าเท่ากับโมเมนต์ดัดสูงสุดของคานในระบบจริง
Δ Δ
Q Q Q

M max
Lm
Ld
M max
x

เสาเข็ม
โมเมนตดัด ระยะขจัด (คานยื่นเทียบเทา) (คานยื่นเทียบเทา)
(โครงสรางจริง) สําหรับระยะขจัด สําหรับโมเมนตสงู สุด
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
ตัวอย่างที่ 5 จากตัวอย่างที่ 3 หากกําหนดให้ปลายบนแบบอิสระ จง
คํานวณโมเมนต์และการเคลื่อนตัวทางข้างด้วยวิธีคาน
บนฐานรากยืดหยุน่ และวิธีคานยื่นเทียบเท่า
โมเมนต์
คานบนฐานรากยืดหยุ่น
ƒ จากตัวอย่างที่ 3 เมื่อ T = 1.63 ม. ดังนั้น Z = L/T = 22/1.63 = 13.50
ƒ หา Am ได้เท่ากับ 0.77 เมื่อ Qg = 2.0 ตัน และ Mg = 0 ตัน-ม.
ƒ ดังนั้น Mu = AmQgT = 0.77*2.0*1.63 = 2.51 ตัน-ม.
คานยื่นเทียบเท่า
„ สําหรับดินทราย Lm = 0.78T = 0.78*1.63 = 1.27 ม.
„ โมเมนต์ดัดสูงสุดจาก Qg =ลิขสิ2ทธขตัองนวสท.คืใชอเพื่อเพิM่มความรู
u =ในการออกแบบ
2*1.27 = 2.54 ตัน-ม.
เทานั้น
การเคลื่อนตัวทางข้าง
คานบนฐานรากยืดหยุน่
ƒ เมื่อ Z > 10 ค่า ส.ป.ส. Ay จะมีค่าประมาณ 2.25
QgT 3 M gT 2
ƒ เมื่อ Δ H = Ay + By
EI EI
ƒ เมื่อ Qg = Hs = 1.50 ตัน และ Mg = 0 ตัน-ม. จะได้

1.5 × 1,000 × (1.63 × 100)3


ƒ ΔH = 2.25 = 1.94 ซม.
282,495.13 × 26,735.25

คานยื่นเทียบเท่า
„ สําหรับดินทราย Ld = 1.80T = 1.80*1.63 = 2.93 ม.
QL3d
„ แรงทางข้างเมื่อ Qg = 1.50 ตัน คือ Δ H =
3EI
1.5 × 1,000 ×ลิ(ข2 .ธ93 × 100 )เพิ3่มความรูในการออกแบบ
„ นั่นคือ ΔH = สิ ท ข อง
3 × 282,495.13 × 26,735เท.า25
วสท. ใช เพื อ

นั้น
= 1.67 ซม.
ตัวอย่างที่ 6 จากตัวอย่างที่ 4 จงตรวจสอบกําลังของหน้าตัด

โมเมนต์
„ สําหรับดินเหนียว Lm = 0.44R = 0.44*1.74 = 0.77 ม.
„ โมเมนต์ดัดสูงสุดจาก Qg = 2.0 ตัน คือ Mu = 2.0*0.77 = 1.53 ตัน-ม.
„ เมื่อเปรียบเทียบกับ Mu ในข้อที่ 3 คือ 1.39 ตัน-ม. O.K.
แรงทางข้าง
„ สําหรับดินเหนียว, Ld = 1.40R = 1.40*1.74 =2.44 ม.
1.5 × 1,000 × (2.44 × 100)3
„ ดังนั้น Δ H = = 0.96 ซม.
3 × 282,495.13 × 26,735.25

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
การวิเคราะห์โดยใช้ค่าสปริงของดิน
„ การคํานวณโดยใช้ค่าสปริงของดินจะพิจารณาลักษณะของชั้นดินควบคู่กับ
ค่าโมดูลัสต้านทานแรงกดทางข้าง (ks)

„ การวิเคราะห์โดยวิธีค่าสปริงของดินแท้ที่จริงก็คือการวิเคราะห์ด้วยวิธีคาน
บนฐานรากยืดหยุ่นนั่นเอง โดยข้อแตกต่างก็คือวิศวกรสามารถวิเคราะห์ได้
เองโดยไม่ต้องใช้การอ่านค่าจากกราฟหรือตาราง

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
ตัวอย่างที่ 7 จากตัวอย่างที่ 3 จงวิเคราะห์โมเมนต์ดัดสูงสุด
ในเสาเข็มสําหรับกรณีปลายอิสระ
„ พิจารณาเสาเข็มที่ทุกๆระยะ 1 เมตร (ช่วงใน) แต่สําหรับที่จุดปลายบนสุดและ
ล่างสุดของเสาเข็มกําหนดพื้นที่รับผิบชอบเท่ากับ 0.50 ม. จากค่า
nh = 66 ตัน/ม.3 สามารถคํานวณค่าสปริงของดินโดย
nh
K = k s ⋅ B ⋅ ΔL = ⋅ x ⋅ B ⋅ ΔL = n h ⋅ x ⋅ ΔL
B

เมื่อ x คือ ความลึกที่พิจารณาจากผิวดินไปยังตําแหน่งของสปริง (ม.)


ΔL คือ ความยาวรับผิดชอบของเสาเข็ม (ม.)
B คือ ขนาดหรือเส้นผ่านศูนย์กลางของเสาเข็ม (ม.)
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น
แสดงค่า K

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
ตัวอย่างที่ 7 จากตัวอย่างที่ 3 จงวิเคราะห์โมเมนต์ดัดสูงสุด
ในเสาเข็มสําหรับกรณีปลายอิสระ
„ จากรูปโมเมนต์ดัดที่เกิดขึ้น ซึง่ มีค่าเท่ากับ 2.63 ตัน-ม. ณ ตําแหน่งของจุด
ดัดกลับซึ่งวัดจากปลายบนลงมาประมาณ 2.00 ม.
Hu = Qg = 2 Ton
Ks0 = 0 T/m

Ks1 = 66.26 T/m

Sand K2 = 132.52 T/m


Mu = 2.63 ตัน-ม.
nh = 66 T/m3 Ks3 = 198.78 T/m

Ks4 = 265.04 T/m

22.0 m.
Ks18 = 1,192.68 T/m

Ks19 = 1,258.94 T/m

Ks20 = 1,325.20 T/m

Ks21 = 1,391.46 T/m

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ ่มความรู


Ks22 ในการออกแบบ
= 728.86 T/m
เทานั้น
สรุป
No วิธี โมเมนต์ดัด (ตัน-ม.)
1 คานบนฐานรากยืดหยุน่ 2.57
2 คานยื่นเทียบเท่า 2.54
3 FEM 2.63

ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ


เทานั้น
ลิขสิทธของ วสท. ใชเพื่อเพิ่มความรูในการออกแบบ
เทานั้น

You might also like