You are on page 1of 5

การประชุมวิ ชาการวิ ศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 24 The 24th National Convention on Civil Engineering

วันที่ 10-12 กรกฎาคม 2562 จ.อุดรธานี July 10-12, 2019, Udonthani, Thailand, THAILAND

การประยุกต์ใช้เสาเข็มเกลียวเหล็กสําหรับงานฐานรากระดับลึก
Application of the Steel Screw Pile for Deep Foundation

กีรติ กานต์ พิ ริยะกุล1,*, กิ ตติ ภมู ิ รอดสิ น1, ตรีเนตร ยิ่ งสัมพันธ์เจริ ญ1, นคริ นทร์ ศรีสวุ รรณ1, ประเสริ ฐ ธรรมมนุญกุล2, พรชัย อุดมถิ รพันธุ์2,
และ สุรสั วาฤทธิ์ 2
1
ภาควิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมโยธาและสิง่ แวดล้อม วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ กรุงเทพมหานคร
2
บริษทั เข็มเหล็ก อินโนวิชนั ่ เทคโนโลยี จํากัด

*Corresponding author; E-mail address: keeratikan.p@cit.kmutnb.ac.th

บทคัดย่อ 1. คํานํา
บทความนี้เสนอการศึกษา กําลังรับแรงแบกทานของ เสาเข็มเกลียว โครงการก่อสร้างระบบป้ องกันนํ้าท่วมพืน้ ทีช่ ุมชนบางศรีเมือง
เหล็ก โดยวิธสี ถิตยศาสตร์ตามมาตรฐาน ASTM-D1143 ซึง่ เสาเข็ม จังหวัดนนทบุร ี เป็ นโครงการก่อสร้างเพือ่ การบริหารจัดการนํ้า
เกลียวเหล็กนี้มเี ส้นผ่านศูนย์กลาง 0.114 เมตร ยาว 34.0 เมตร (รุน่ โดยเฉพาะช่วงฤดูฝนทีม่ ปี ริมาณนํ้าฝนมาก จะเกิดปั ญหานํ้าท่วมขัง
D114 ผลิต โดยบริษทั เข็มเหล็ก จํากัด) พืน้ ทีท่ าํ การวิจยั ตัง้ อยูท่ ่ี ริม ก่อให้เกิดความเดือดร้อนอย่างมากแก่ชุมชนบางศรีเมืองครอบคุมพืน้ ที่
แม่น้ําเจ้าพระยา อําเภอบางศรีเมือง จังหวัด นนทบุร ี จากผลการวิจยั 11.86 ตารางกิโลเมตร ทางรัฐบาลโดยกรมโยธาธิการและผังเมืองได้
พบว่าจากการทดสอบในสนามมีคา่ กําลังรับแรงแบกทานสูงสุด 13.75 ดําเนินการแก้ไขปั ญหาดังกล่าว จัดสร้างคันป้ องกันนํ้าท่วม ยาว 1.4
ตันและการทรุดตัวของเสาเข็ม 16.39 มิลลิเมตร สอดคล้องกับมาตรฐาน กิโลเมตร คลองระบายนํ้า ยาว 2.2 กิโลเมตร ประตูระบายนํ้า 1 แห่ง
ASTM-D1143 ว่าการทรุดตัววิบตั ทิ ร่ี อ้ ยละ 15 ของเส้นผ่านศูนย์กลาง และสถานีสบู นํ้า 7 แห่ง ดังรูปที่ 1
ของเสาเข็มที่ 17 มิลลิเมตรและใกล้เคียงค่ากําลังรับแรงแบกทานที่
คํานวณได้ท่ี 14.19 ตัน และมี Factor of safety (F.S.) เป็ น 2.48 ซึง่ อยู่
ระหว่าง 2.0-4.0

คําสําคัญ: เสาเข็มกลียวเหล็ก, กําลังรับแรงแบกทาน, วิธสี ถิตยศาสตร์


Abstract
This article studied on the bearing capacity for the steel screw
pile by the static pile load test according to ASTM-D1143. This
steel screw pile has diameter of 0.114 m and 34.0 m in length.
(D114 product of KEMREX). The research area was located at
the Chaopraya river bank in the Bang Sri Muang district at the
Nonthaburi Province. From the research results, the field test
showed the maximum bearing capacity of 13.75 Ton and the
maximum settlement of 16.39 mm. It was in a good agreement รูปที่ 1 พืน้ ที่ชุมชนบางศรีเมือง จังหวัดนนทบุรี [1]
with ASTM D-1143 which the ultimate settlement was 15% of pile
diameter (17 mm) and the calculated bearing capacity of 14.19
Ton. The factor of safety (F.S.) was 2.48 which in between 2.0
รูปที่ 2 แสดงรายละเอียดของคันป้ องกันนํ้าท่วมตามแนวแม่น้ํา
and 4.0. เจ้าพระยาซึง่ เป็ นเสาเข็มพืดคอนกรีตอัดแรง มีหนิ ทิง้ หน้าเขือ่ น เสาเข็มสมอ
Keywords: Steel crew pile, Bearing capacity, Static method คอนกรีตอัดแรง บ่อพักนํ้าและท่อระบายนํ้า

1408
GTE013

รูปที่ 2 คันป้ องกันนํ้าท่วม อ.บางศรีเมือง จังหวัดนนทบุรี [1]

รูปที่ 3 หน้ าตัดของท่อระบายนํ้า อ.บางศรีเมือง จังหวัดนนทบุรี

รูปที่ 4 เสาเข็มเกลียวเหล็ก [2]

รูปที่ 3 แสดงรายละเอียดหน้าตัดท่อระบายนํ้า ประกอบด้วยท่อเหล็กเส้น


ผ่านศูนย์กลาง 0.8 เมตร และท่อ HDPE เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5 เมตร SN4
โดยมีเสาเข็มเกลียวเหล็ก (D114 ของบริษทั เข็มเหล็ก จํากัด) เส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 0.114 เมตร ยาว 34 เมตร ดังแสดงในรูปที่ 4

2. ลักษณะชัน้ ดินและผังโครงการ
2.1 ลักษณะชัน้ ดิ น
ลักษณะของชัน้ ดินบริเวณพืน้ ทีช่ ุมชนบางศรีเมือง พืน้ ทีร่ มิ แม่น้ํา
เจ้าพระยา จังหวัดนนทบุร ี เป็ นชัน้ ดินเหนียวอ่อนหนาประมาณ 35
เมตร มีคา่ กําลังรับแรงเฉือนแบบไม่ระบายนํ้า (Undrained shear
18.0 m
strength, Su) 1.2 ตันต่อตารางเมตร และมีหน่วยนํ้าหนักเปี ยก (γt) 1.6
ตันต่อลูกบาศก์เมตร โดยเสาเข็มเหล็กเกลียวมีเส้นผ่านศูนย์กลาง
0.114 เมตร ยาว 34 เมตร เสาเข็มเกลียวเหล็กนี้มชี ว่ งทีม่ เี กลียว
ด้านล่างยาว 18 เมตร ดังรูปที่ 5 และ 6
รูปที่ 5 ลักษณะชัน้ ดิ น อ.บางศรีเมือง จังหวัดนนทบุรี

1409
GTE013

รูปที่ 6 ผลทดสอบชัน้ ดิ น อ.บางศรีเมือง จังหวัดนนทบุรี

2.2 ผังโครงการ
รูปที่ 7 แสดงผังการวางท่อระบายนํ้า โดยมีเสาเข็มเกลียวเหล็ก
ทัง้ หมด 56 ต้น โดยแต่ละตําแหน่งจะมีเสาเข็มเหล็กเกลียว 4 ต้น ดังรูป
ที่ 3 มีชว่ งพาดตัง้ แต่ 0.5 เมตร ไปจนถึง 6.4 เมตร
2.3 การคํานวณแรงแบกทานของเสาเข็ม
การคํานวณกําลังรับแรงแบกทานของเสาเข็มเกลียวเหล็กได้ถกู
อธิบายอย่างละเอียดโดย [3] เนื่องจากเสาเข็มเกลียวเหล็กนี้ตดิ ตัง้ ใน
ชัน้ ดินเหนียวอ่อน ดังนัน้ กําลังรับแรงแบกทานของเสาเข็มจะเท่ากับ
แรงเสียดทานของเสาเข็ม ดังแสดงในสมการที่ (1)

fs=α.Su.A (1)

โดย
fs เป็ นแรงเสียดทาน
α เป็ น 1 สําหรับดินเหนียวอ่อน
Su เป็ นกําลังรับแรงเฉือนแบบไม่ระบายนํ้า
A เป็ นพืน้ ทีผ่ วิ ของเสาเข็ม

1410
GTE013

รูปที่ 7 ผังโครงการ รูปที่ 8 Finite Element Model (FEM)


2.4 ขัน้ ตอนการทดสอบ
ในการทดสอบในสนาม ASTM-D1143 โดยวิธ ี Quick test ทําการ
ทดสอบต่อเนื่องโดยคงนํ้าหนักไว้ทุกๆ 2.5 นาที มีการเพิม่ นํ้าหนักและ
ลดนํ้าหนักบรรทุกดังต่อไปนี้
รอบที่ 1 : 1.014 ตัน => 2.016 ตัน => 3.009 ตัน => 4.010 ตัน
=> 5.011 ตัน => 6.037 ตัน => 7.052 ตัน => 8.104 ตัน => 9.000 ตัน
=> 10.034 ตัน => 11.086 ตัน => 0 ตัน
รอบที่ 2 : 1.276 ตัน => 2.501 ตัน => 3.764 ตัน => 5.000 ตัน
=> 6.253 ตัน => 7.520 ตัน => 8.920 ตัน => 10.090 ตัน => 11.263
ตัน => 12.238 ตัน => 13.750 ตัน รูปที่ 9 Deformed shape

3. ผลการวิจยั
จากรูปที่ 8 แสดง Finite Element Model โดยใช้โปรแกรม
SAP200 เพือ่ คํานวณหาค่าแรงในส่วนประกอบต่างๆ รูปที่ 9 แสดงการ
เสียรูปเนื่องจากแรงกระทําทีเ่ กิดจากนํ้าไหลในท่อ ซึง่ พบว่ามีแรง
กระทําสูงสุดทีต่ าํ แหน่งเสาเข็มเกลียวเหล็กเป็ น 5.727 ตัน
พืน้ ทีผ่ วิ ของเสาเข็ม (A) คํานวณได้จากเส้นรอบวงคูณกับความ
ยาว 33.0 เมตร เนื่องจากพืน้ ทีม่ ดี นิ ถมหนา 1.0 เมตร ดังนัน้ A เป็ น
11.82 ตารางเมตร จากสมการที่ 1 แรงเสียดทานของเสาเข็ม (fs) หาได้
จากกําลังรับแรงเฉือนแบบไม่ระบายนํ้า ( Su) เป็ น 1.2 ตันต่อตาราง
รูปที่ 10 Pile load test (Load)
เมตร คูณ A และ α ดังนัน้ fs เป็ น 14.19 ตัน ซึง่ พบว่ามี Factor of
safety (F.S.) = 14.19/5.727 = 2.48 โดยค่า Factor of safety นี้ควรมี
ค่าอยูร่ ะหว่าง 2.0-4.0
จากผลการทดสอบในสนาม ASTM-D1143 โดยวิธ ี Quick test ทํา
การทดสอบต่อเนื่องโดยคงนํ้าหนักไว้ทุกๆ 2.5 นาที จากรูปที่ 10
แสดงผลการทดสอบ pile load test ในช่วง load พบว่ากําลังรับแรง
แบกทานสูงสุด 11.09 ตันและการทรุดตัวของเสาเข็ม 13.17 มิลลิเมตร
ในทํานองเดียวกัน รูปที่ 11 แสดงผลการทดสอบ pile load test ในช่วง
reload พบว่ากําลังรับแรงแบกทานสูงสุด 13.75 ตันและการทรุดตัว
ของเสาเข็ม 16.39 มิลลิเมตร สอดคล้องกับมาตรฐาน ASTM-D1143
ว่าการทรุดตัววิบตั ทิ ร่ี อ้ ยละ 15 ของเส้นผ่านศูนย์กลางของเสาเข็มที่ 17
มิลลิเมตรและใกล้เคียงค่ากําลังรับแรงแบกทานทีค่ าํ นวณได้จากสมการ รูปที่ 11 Pile load test (Reload)
ที่ 1 เป็ น 14.19 ตัน 4. บทสรุป
เสาเข็มเกลียวเหล็กสามารถประยุกต์ใช้ในงานก่อสร้างฐานราก
ระดับลึกได้ จากโครงการก่อสร้างระบบป้ องกันนํ้าท่วมพืน้ ทีช่ ุมชนบาง
ศรีเมือง จังหวัดนนทบุร ี ซึง่ จากผลการทดสอบในสนามโดยวิธ ี Quick
test ในช่วง reload พบว่ากําลังรับแรงแบกทานสูงสุด 13.75 ตันและ
การทรุดตัวของเสาเข็ม 16.39 มิลลิเมตร สอดคล้องกับมาตรฐาน
ASTM-D1143 ว่าการทรุดตัววิบตั ทิ ร่ี อ้ ยละ 15 ของเส้นผ่านศูนย์กลาง
ของเสาเข็มที่ 17 มิลลิเมตรและใกล้เคียงค่ากําลังรับแรงแบกทานที่
คํานวณได้ท่ี 14.19 ตัน และมี Factor of safety (F.S.) = 14.19/5.727
= 2.48 ซึง่ อยูร่ ะหว่าง 2.0-4.0

1411
GTE013

กิ ตติ กรรมประกาศ
เอกสารอ้างอิ ง
ขอขอบคุณ บริษทั เข็มเหล็ก อินโนวิชนั ่ เทคโนโลยี จํากัด ที่
อนุเคราะห์ให้ขอ้ มูลวิจยั และภาควิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมโยธาและ [1] http://office.dpt.go.th/waterdpt/index.php/2015-05-28-10-
สิง่ แวดล้อม วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี 08-20/2015-05-29-06-27-39/19-2015-05-28-07-31-37
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ทีอ่ นุ เคราะห์ทมี งานวิจยั และวิศวกร ช่วย [2] www.kemrex.com
ในการทดสอบทัง้ ในห้องปฏิบตั กิ ารและในสนาม [3] กฤษณพงศ์ ใจกล้า , ศิรกิ ญัญา สุทธี, สุรยิ ะ ทองมุณี , พีรพงศ์ จิต
เสงีย่ ม, ประเสริฐ ธรรมมนุ ญกุล, ประวิตร ธรรมมนุ ญกุล และ ทรง
พล คิดอ่าน (2561). การออกแบบก าลังรับแรงแบกทานของ
เสาเข็มเกลียวเหล็กส าหรับโครงสร้างนํ้าหนักเบาโดยใช้ขอ้ มูลการ
ทดสอบในห้องปฏิบตั ิการและในสนาม. การประชุมวิชาการ
วิศวกรรมโยธาแห่ งชาติ ครั้ งที่ 23, นครนายก , 18-20 กรกฎาคม
2561, หน้า 1-8.

1412

You might also like