You are on page 1of 6

97

มทช.(ท) 302-2545
วิธีการทดสอบเพื่อหาค่ าแรงเฉือนตรง
(DIRECT SHEAR TEST)
----------

1. ขอบข่ าย
วิธีการทดสอบนี ้ครอบคลุมถึงการหาค่าความสามารถในการรับแรงเฉือนของมวลดิน (SHEARING STRENGTH)
โดยจะแสดงค่าความต้ านแรงเฉือนในมวลดิน ในรูปของ ค่า C และ  ซึง่ วิธีการทดสอบนี ้ เป็ นวิธีที่ง่ายและรวดเร็ ว

2. นิยาม
ความสามารถในการรับแรงเฉือนของมวลดิน (SHEARING STRENGTH) หมายถึง ความสามารถในการหาแรง
เฉือนเพื่อเป็ นข้ อมูลที่จาเป็ นในการวิเคราะห์ หรื อออกแบบฐานราก, ผนังกันดิน, เขื่อนดิน โดยทางด้ านปฐพีกลศาสตร์
ถือว่ากาลังของดินคือความสามารถของมวลดิน ในการรับแรงเฉือนจากสมการของมอร์ คลู อมบ์ (MOHR-
COULOMB’S EQUATION) โดยที่ดินแต่ละชนิดมีคา่ C และ  แตกต่างกันซึง่ ค่าความแข็งแรง (STRENGTH
PARAMETER) เหล่านี ้จะบ่งบอกถึงความแข็งแรงของมวลดินนันที ้ ่จะสามารถรับแรงเฉือนได้
3. วิธีทา

3.1 เครื่องมือและอุปกรณ์
3.1.1 เครื่ องทดสอบแรงเฉือนตรง (DIRECT SHEAR MACHINE) ประกอบด้ วยอุปกรณ์ดงั แสดงในรูป
3.1.2 มาตรวัดแรงแบบวงแหวน (PROVING RING DIAL) เป็ นเครื่ องมืออ่านค่าแรงกระทาด้ านข้ าง ซึง่ สามารถ
คานวณเป็ นค่าแรงกระทาด้ านข้ าง โดยหาจากระยะการเคลือ่ นที่ที่อา่ นได้ จากมาตรวัด (DIAL GAUGE) ใน
วงแหวนวัดแรง (PROVING RING)
3.1.3 มาตรวัด (DIAL GAUGE) ใช้ วดั ละเอียดถึง 0.01 มม. หรื อ 0.001 นิ ้ว
3.1.4 กล่องตัดตัวอย่างดิน (TRIMMER) ใช้ ตดั ตัวอย่างดินเหนียวซึง่ เป็ นสีเ่ หลีย่ มขนาด 63.5x63.5 มม. สูง 25.4
มม. (2.5”x 2.5” สูง 1”) มีขอบบางและด้ านหนึง่ คม สาหรับกดตัดลงบนตัวอย่างดิน
3.1.5 เครื่ องมือเบ็ดเตล็ด เช่น เครื่ องมือตกแต่งตัวอย่างดิน, กระป๋ องสาหรับใส่ดินหาความชื ้น
98

3.2 การเตรียมตัวอย่ างสาหรับการทดสอบ


3.2.1 จะต้ องเตรี ยมตัวอย่างสาหรับการทดสอบ 3 ตัวอย่างเป็ นอย่างน้ อย ไม่วา่ จะเป็ นตัวอย่างดินประเภทใดก็ตาม
และการเก็บตัวอย่างดินให้ เป็ นไปตาม มทช.(ท) 301-2545:วิธีการทดสอบตามมาตรฐานการเจาะสารวจดิน
3.2.2 ตัวอย่างดินเหนียว (COHESIVE SOIL) ตัวอย่างดินเหนียวที่ใช้ ในการทดสอบแรงเฉือนตรงซึง่ เป็ นตัวอย่างใน
สภาพถูกรบกวนน้ อยที่สดุ โดยดันออกมาจากกระบอกบางนามาตัดตกแต่งโดยใช้ กล่องตัดตัวอย่ างดินกด
ลงไปบนตัวอย่างแล้ วนาไปชัง่ น ้าหนัก เพื่อหาความหนาแน่นนาตัวอย่างดินที่ตดั ด้ วยกล่องตัดตัวอย่างดิน
มาบรรจุลงในกล่องทดสอบแรงเฉือน (SHEAR BOX) โดยค่อยๆ ดันตัวอย่างออกโดยใช้ เครื่ องมือดัน
ตัวอย่าง (TOP CAP) ช่วยดันตัวอย่างต้ องระวังให้ มีการรบกวนน้ อยที่สดุ ในขณ ะที่บรรจุตวั อย่างดินนันวง

เลือ่ น (SLIDING RING) กับแท่นยึด (STATIONARY BASE) จะถูกยึดอยูด่ ้ วยกันด้ วยหมุดบังคับแนว
(ALIGNMENT PIN) ทาการจัดที่แขวนน ้าหนัก (HANGER) ให้ อยูใ่ นตาแหน่งที่พร้ อมจะใส่น ้าหนักบนที่
แขวนน ้าหนัก จัดมาตรวัดระยะในแนวดิ่ง (VERTICAL DIAL GAUGE) มาตรวัดระยะในแนวราบ
(HORIZONTAL DIAL GAUGE) และมาตรวัดแรงแบบวงแหวน (PROVING RING DIAL) ที่เลขศูนย์
3.2.3 ตัวอย่างดินทราย (COHESIONLESS SOIL) นาตัวอย่างดินทรายที่จะใช้ ในการทดลองประมาณ 250 กรัม
ถึง 300 กรัม ทาการชัง่ น ้าหนักให้ แน่นอน เตรี ยมกล่องทดสอบแรงเฉือนโดยการยึดส่วนวงเลือ่ นและแท่นยึด
เข้ าด้ วยกันโดยใช้ หมุดบังคับแนว นาตัวอย่างที่เตรี ยมไว้ มาทาการบดอัดในกล่องทดสอบแรงเฉือนโดยการ
โรยแล้ วบดอัดหรื อเขย่าให้ แน่น ชัง่ น ้าหนักทรายตัวอย่างที่เหลือ เพื่อจะนาไปคานวณหาความหนาแน่น ซึง่
ต้ องพยายามเตรี ยมตัวอย่างให้ มีความหนาแน่นใกล้ เคียงกับในสภาพเดิม (IN-SITU CONDITION) จัดที่
แขวนน ้าหนักให้ อยูใ่ นตาแหน่งที่พร้ อมจะใส่น ้าหนัก เพื่อทาให้ เกิดหน่วยแรงที่เกิดจากน ้าหนักกระทา
(NORMAL STRESS) บนตัวอย่างดิน จัดมาตรวัดระยะในแนวดิ่ง มาตรวัดระยะในแนวราบและมาตรวัด
แรงแบบวงแหวนที่เลขศูนย์
3.3 แบบฟอร์ ม
ให้ บนั ทึกผลการทดสอบในแบบฟอร์ ม บฟ . มทช.(ท) 302.1-2545 , บฟ. มทช.(ท) 302.2-2545 และ บฟ .
มทช.(ท) 302.3-2545 : วิธีการทดสอบเพื่อหาค่าแรงเฉือนตรง
3.4 การทดสอบ
3.4.1 ทาการใส่น ้าหนักลงบนที่แขวนน ้าหนัก เพื่อให้ เกิดหน่วยแรงที่เกิดจากน ้าหนักกระทาในตั วอย่างดินตาม
ต้ องการและรอให้ การทรุดตัวในแนวดิ่งหยุดเสียก่อน โดยสังเกตได้ จากมาตรวัดระยะในแนวดิ่งมีคา่ คงที่ซงึ่
จะใช้ เวลาประมาณ 2 ถึง 10 นาที
3.4.2 เริ่ มทาการเฉือนตัวอย่างดินโดยการใช้ มอเตอร์, ไฮดรอลิค หรื อเครื่ องมือกลอื่นใด ที่สามารถควบคุมอัตรา
การกดได้ โดยทัว่ ไปจะใช้ อัตราการเคลือ่ นที่ตามแนวราบอ่านได้ จากมาตรวัดในแนวราบประมาณ 1.27
มิลลิเมตร ต่อนาที ถึง 0.254 มิลลิเมตร ต่อนาที (0.05 นิ ้วต่อนาที ถึง 0.01 นิ ้วต่อนาที) อย่างสม่าเสมอ
3.4.3 บันทึกค่าที่อา่ นได้ จากมาตรวัดแรงแบบวงแหวน และค่าการเคลือ่ นตัวในแนวดิ่งที่จะอ่านได้ จากมาตรวั ด
ระยะในแนวดิ่งทุก ๆ การเคลือ่ นที่ในแนวราบ 0.25 มิลลิเมตร (0.01 นิ ้ว) จนกระทัง่ ตัวอย่างดินไม่สามารถ
รับแรงเฉือนได้ อีก (SHEAR FAILURE) โดยสามารถสังเกตได้ โดยค่าที่อา่ นได้ จากมาตรวัดแรงแบบวงแหวน
ซึง่ จะมีคา่ ลดลง
3.4.4 ทาการทดสอบเช่นเดียวกับ 3.4.1 ถึง 3.4.3 อีกอย่างน้ อยทีส่ ดุ 3 ตัวอย่าง โดยทาการเปลีย่ นน ้าหนักที่ใส่บน
ที่แขวนน ้าหนักเพื่อทาให้ เกิดหน่วยแรงที่เกิดจากน ้าหนักกระทาบนตัวอย่างดินต่างๆ กันไป
99

4 การคานวณ
4.1 การคานวณหาหน่วยแรงที่เกิดจากน ้าหนักกระทา (NORMAL STRESS,  )
 = P/A
โดยที่ P = น ้าหนักบนที่แขวนน ้าหนัก
A = พื ้นที่หน้ าตัดของกล่องทดสอบแรงเฉือน

4.2 การคานวณหาหน่วยแรงเฉือน (SHEARING STRESS,  )


 = P.R. x K / A
โดยที่ P.R. = ค่าที่อา่ นได้ จากมาตรวัดแรงแบบวงแหวน
K = ค่าคงที่ของมาตรวัดแรงแบบวงแหวน
A = พื ้นที่หน้ าตัดของกล่องทดสอบแรงเฉือน

5 การรายงาน ให้ รายงานผลการทดสอบลงในแบบฟอร์ ม ดังนี ้


5.1 บันทึกผลและรายการคานวณให้ มีความละเอียดถึงทศนิยมที่ 2 ตาแหน่ง ลงใน บฟ . มทช.(ท) 302.1-2545 และ
บฟ. มทช.(ท) 302.2-2545
5.2 เขียนกราฟถึงความสัมพันธ์ของหน่วยแรงเฉือน (SHEARING STRESS) และการเปลีย่ นรูปในแนวราบ
(HORIZONTAL DEFORMATION) ลงใน บฟ. มทช.(ท) 302.3-2545
5.3 เขียนมอร์ ไดอะแกรมระหว่างหน่วยแรงที่เกิดจากน ้าหนักกระทา (NORMAL STRESS) และหน่วยแรงเฉือน
(SHEARING STRESS) สูงสุด ลงใน บฟ. มทช.(ท) 302.3-2545

6 หนังสืออ้ างอิง
6.1 THE AMERICAN ASSOCIATION OF STATE HIGHWAY AND TRANSPORTATION OFFICIALS, AASHTO
T 236 – 72

**********
100

โครงการ ......................................... ทะเบียนทดสอบ........................


สถานที่ก่อสร้ าง ................................ บฟ. มทช.(ท) 302.1-2545
ความลึก.......................................... ผู้ทดสอบ
(หน่วยงานที่ทาการทดสอบ)
ตัวอย่ างดิน......................................
วิธีการทดสอบเพื่อหา ผู้ตรวจสอบ
หมายเลขหลุมเจาะ............................
ค่ าแรงเฉือนตรง
หมายเลขตัวอย่ าง..............................
(DIRECT SHEAR TEST)
หมายเลขการทดสอบ........................ ผู้รับรอง
ทดสอบวันที่................แผ่ นที่............
หน่ วยนา้ หนักของตัวอย่ างดิน
น ้าหนักกระป๋ องใส่ตวั อย่าง.....................................ก. ปริมาณของตัวอย่ าง
น ้าหนักดินเปี ยก...................................................ก. กล่องใส่ตวั อย่างดิน................................................ซม.
น ้าหนักกระป๋ อง + น ้าหนักดินเปี ยก.........................ก. ความหนาของดิน...................................................ซม.
หน่วยน ้าหนักรวม .............................ก./ลบ.ซม. ปริ มาตรของตัวอย่าง.........................................ลบ.ซม.
หน่วยน ้าหนักแห้ ง .............................ก./ลบ.ซม. ปริ มาตรของเนื ้อดิน..........................................ลบ.ซม.
กล่ องทดสอบแรงเฉือน อัตราส่วนช่องว่าง.......................................................
ความยาว.......................................................... ซม. ความพรุน................................................................
ความลึก............................................................ซม. นา้ หนักกระทา
ความถ่วงจาเพาะ.................................................... น ้าหนักกระทา.......................................................กก.
หมายเลขวงแหวนวัดแรง.......................................... น ้าหนักภาชนะ.......................................................กก.
ค่าแฟคเตอร์ ปรับแก้ ................................................ อัตราส่วนน ้าหนัก...................................................กก.
101

โครงการ ......................................... ทะเบียนทดสอบ........................


สถานที่ก่อสร้ าง ................................ บฟ. มทช.(ท) 302.2-2545
ความลึก.......................................... ผู้ทดสอบ
(หน่วยงานที่ทาการทดสอบ)
ตัวอย่ างดิน......................................
วิธีการทดสอบเพื่อหา ผู้ตรวจสอบ
หมายเลขหลุมเจาะ............................
ค่ าแรงเฉือนตรง
หมายเลขตัวอย่ าง..............................
(DIRECT SHEAR TEST)
หมายเลขการทดสอบ........................ ผู้รับรอง
ทดสอบวันที่................แผ่ นที่............

มาตรวัด ระยะการเคลือ่ น มาตรวัด ระยะการเคลือ่ น มาตรวัด หน่วยแรงที่เกิด


เวลา หน่วยแรงเฉือน
ระยะใน ตัวตามแนวราบ ระยะใน ตัวตามแนวดิง่ แรงแบบ จากน ้าหนักกระทา
(นาที) (กก./ตร.ซม.)
แนวราบ (มิลลิเมตร) แนวดิ่ง (มิลลิเมตร) วงแหวน (กก./ตร.ซม.)
102

โครงการ ......................................... ทะเบียนทดสอบ..........................


สถานที่ก่อสร้ าง ................................ บฟ. มทช.(ท) 302.3-2545
ความลึก.......................................... ผู้ทดสอบ
(หน่วยงานที่ทาการทดสอบ)
ตัวอย่ างดิน...................................... วิธีการทดสอบเพื่อหา
หมายเลขหลุมเจาะ............................ ผู้ตรวจสอบ
ค่ าแรงเฉือนตรง
หมายเลขตัวอย่ าง............................. (DIRECT SHEAR TEST)
หมายเลขการทดสอบ........................ ผู้รับรอง
ทดสอบวันที่................แผ่ นที่............

You might also like