You are on page 1of 21

เครื่องผลิตเสน filament จากขวดพลาสติกเหลือใช

(Filament Printer from recycle plastic)

นายวรวุฒิ บุญยู รหัสนักศึกษา 66301280017


ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปที่ 1
สาขาวิชา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร

วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ อาชีวศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ
สํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2566
เครื่องผลิตเสน filament จากขวดพลาสติกเหลือใช
(Filament Printer from recycle plastic)

นายวรวุฒิ บุญยู รหัสนักศึกษา 66301280017


ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปที่ 1
สาขาวิชา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร

วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ อาชีวศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ
สํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2566
คํานํา
รายงานเลมนี้จัดทําขึ้นเพื่อเปนสวนหนึ่งของวิชาการเขียนและการพูดเชิงวิชาชีพ
30000-1102 ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปที่ 1 เพื่อใหไดศึกษาหาความรูในในเรื่องที่
เกี่ยวกับขวดพลาสติกหรือการกําจัดขยะและขอมูลและไดศึกษาอยางเขาใจเพื่อเปนประโยชนกับการ
เรียนรู
ผูจัดทําหวังวารายงานเลมนี้จะเปนประโยชนกับผูอาน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่กําลังหา
ขอมูลเรื่องนี้อยู หากมีขอแนะนําหรือขอผิดพลาดประการใด ผูจัดทําขอนอมรับไวและ
ขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย

วรวุฒิ บุญยู
สารบัญ

หนา
คํานํา…………………………………………………………………………………………………………………………… ก
สารบัญ………………………………………………………………………………………………………………………… ข

บทนํา
1.1 ความเปนมาและความสําคัญ……………………………………………………………………...……. 1
1.2 วัตถุประสงค..........................................…………………………………………………………….. 1
1.3 ขอบเขตของการวิจัย........………………………………………………………………………………... 1
1.4 สมมติฐานการวิจัย…………………………..……………………………………………………………... 2
1.5 คําจํากัดความที่ใชในงานวิจัย ……….……………………………………………………………….... 2
1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ………..…………………………………………………………………….. 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
2.1เครื่องพิมพ 3 มิติ.........................………………………………………………………………………. 3
2.2 เสน Filament………………………….……………………………………………………………………. 5
2.3 ขวดพลาสติก...........................…………………………………………………………………………. 6
2.4 ชุดควบคุมมอเตอร.....................……………………………………………………………………….. 7
2.5 ชุดควบคุมความรอน……………………………………………………………………………………….. 8
2.6 ชุดตั้งเวลา................……………………………………………………………………………………….. 11

สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและขอเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการวิจัย………………………………………………………………………………………………. 31
5.2 อภิปรายผล……………………………………………………………………………………………………. 32
5.3 ขอเสนอแนะในการนําผลวิจัยไปใช……………………………………………………….......…….. 32
5.4 ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป....………………………………………………….......…….. 32
บรรณานุกรม……………………………………………………………………………………………………………….. 33
บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญ
ปจ จุบัน ปญ หาขยะในประเทศไทยมีความรุนแรงมากขึ้นโดยเฉพาะป ญหาขยะตกคา งใน
สิ่งแวดลอมจากการรายงานของกรมควบคุมมลพิษ มีขยะที่ไมไดรับการกําจัดอยางถูกตองปริมาณ
7.88 ลานตัน หรือคิดเปน รอยละ 31 จากปริมาณที่เ กิดขึ้นทั้งหมด ประเทศไทยมีขยะพลาสติก
ประมาณ รอยละ 12 ของปริมาณขยะที่เกิดขึ้นทั้งหมดหรือประมาณปละ 2 ลานตัน โดยขยะพลาสติก
ประเภท PET เปนพลาสติกที่เกิดจากโมโนเมอรหลายตัว นอกจากนั้นยังเปนไฟเบอรสังเคราะหที่ใชใน
การผลิต บรรจุภัณฑตา งๆ และในชีวิตประจําวันยังมีขยะพลาสติกประเภทนี้จํานวนมาก
เทคโนโลยีเครื่องพิมพ 3 มิติ คือเครื่องจักรที่ใชกระบวนการเติมเนื้อวัสดุ เพื่อทําใหเกิดเปน
รูปรางที่สามารถจับตองไดตามที่ตองการ โดยอาศัยขอมูลในรูปแบบดิจิตอล หลักการทํางานของ
เครื่องพิมพ 3 มิติ คือ การฉีดและวาดเสนพลาสติกออกมาเปนวัตถุ โดยอาศัยเสนพลาสติกเปนตัวถูก
หลอมละลายออกมาเปนวัตถุ และเสนพลาสติกที่นํามาหลอมละลาย เรียกวา เสน filament ซึ่งมี
ราคาแพง
ผูจัดทําจึงไดคิดคนวิธีการแกปญหาของขยะพลาสติกดวยการสรางและพัฒนาเครื่องผลิตเสน
filament จากขวดพลาสติกเหลือใชโดยการนําขวดพลาสติกเหลือใชมาทําเปนเสนแลวนํามาหลอมให
ผานความรอนเพื่อแปรรูปเปนเสน filament จากขวดพลาสติกเหลือใช

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย
1.2.1 เพื่อสรางเครื่องผลิตเสน filament จากขวดพลาสติกเหลือใช
1.2.2 เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องผลิตเสน filament จากขวดพลาสติก
เหลือใช
1.2.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจตอเครื่องผลิตเสน filament จากขวดพลาสติกเหลือใช
1.2.4 เพื่อเปนแนวทางในการนําขวดพลาสติกเหลือใชมารีไซเคิลใหมใหเกิดประโยชนสงู สุด
2

1.3 ขอบเขตของการวิจัย
ดานประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากร คือ นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ
กลุมตัวอยาง คือ นักเรียน นักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร และ
สาขาวิชาชางกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ จํานวน 30 คน
ดานคุณสมบัติการใชงาน
1.3.1 เสน filament จากขวดพลาสติกเหลือใช มีขนาดเสนผานศูนยกลางอยูระหวาง
1.7 – 1.8 มม.
1.3.2 มีความเร็วในการผลิตเสน filament ไมนอยกวา 10 ซม./นาที
1.3.3 มีระบบหยุดการทํางาน เมื่อเสนขวดพลาสติกหมด
1.3.4 สามารถกําหนดระยะเวลาในการทํางานของเครื่องได
1.3.5 สามารถกําหนดความเร็วรอบของมอเตอรได
1.3.6 สามารถควบคุมความรอนในการผลิตเสน filament ได
1.3.7 สามารถใชแหลงจายไฟฟาจากโซลาเซลลหรือไฟฟาตามบานเรือน 220 VAC
1.4 สมมติฐานการวิจัย
เครื่องผลิตเสน filament จากขวดพลาสติกเหลือใช สามารถผลิดเสน filament ที่มีขนาด
เสนผานศูนยกลางอยูระหวาง 1.7 – 1.8 มม. มีความเร็วในการผลิตเสน filament ไมนอยกวา 10
ซม./นาที และมีระดับความพึงพอใจอยูในระดับมาก (3.50 – 4.49)

1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1.6.1 ได เครื่องผลิตเสน filament จากขวดพลาสติกเหลือใชที่มีประสิทธิภาพ
1.6.2 ได ทราบถึงความพึงพอใจตอเครื่องผลิตเสน filament จากขวดพลาสติกเหลือใช
1.6.3 ได เสน filament ที่ผลิตจากขวดพลาสติกและสามารถนําไปใชกับเครื่องพิมพ 3 มิติได
3

เอกสารและรายงานที่เกี่ยวของ
2.1 เครื่องพิมพ 3 มิติ
ความละเอียดในการพิมพชิ้นงานของเครื่อง 3D Printer จะใชหนวยวัดเปนไมครอน เชน 100
Micron (0.1mm) ตอชั้น ซึ่งหมายความวา ในแตละชั้นนั้นจะพิมพใหมีขนาดความสูงประมาณ 0.1
mm ดังนั้นหากโมเดลมีความสูง 10 mm เครื่องพิมพจะตองพิมพทั้งหมด 100 ชั้น หากพิมพที่ความ
ละเอียด 50 Micron เครื่องจะพิมพทั้งหมด 200 ชั้น ซึ่งความละเอียด 50 Micron นั้นทําใหไดผลงาน
ที่มีความละเอียด และความสวยงามมากกวา แตตองใชระยะเวลาที่เพิ่มมากขึ้นประมาณเทาตัว ไฟล
งานที่ใชกับ เครื่อง 3D Printer นั้นเปน ไฟล 3 มิติ แทนที่จ ะเปน รูป ภาพเหมือ นในเครื่องพิ ม พ บ น
กระดาษทั่วไป 3D File นี้อาจสรางจากโปรแกรม เชน AutoCAD, Solid Work, 3Ds Max, Zbrush,
Maya, SketchUp และ Adobe Photoshop

รูปที่ 2.1 เปรียบเทียบ 3D Files and 3D Print


ประเภทของ 3D Printer นั้นสามารถแบงออกไดตามกระบวนการพิมพและวัสดุที่ใชดังนี้
2.1.1 ระบบฉีดเสนพลาสติก (FDM หรือ FFF) FDM (Fused Deposition Modeling)
หรือ FFF เปนเครื่องพิมพ 3 มิติ ที่นิยมใชกันมากที่สุดใน ปจจุบัน เนื่องจากมีจําหนายตามทองตลาด
และมีราคาถูก โดยมีหลักการทํางานคือการหลอมเสนพลาสติกใหกลายเปนของเหลวแลวฉีดออกมา
เปน เสนผา นหัว ฉีด (Nozzle) คลา ยกับ ปนกาวที่ใชกันทั่ว ไป เครื่อง FDM 3D Printer จะวาดเส น
พลาสติกที่ถูกฉีดออกมา เปนรูปรางในแนวแกนระนาบกอนเมื่อเสร็จ ชั้นหนึ่งแลวก็จะพิม พ ในชั้น
ตอๆไป จนครบหลายรอยหรือหลายพัน Layer ก็จะไดชิ้นงานตามที่ไดออกแบบไว FDM Printer
4

ใชไดกับงานทุกประเภท ชิ้นงานที่พิมพสามารถนํามาขัด แตง หรือเจาะได และนํามาใชงานไดจริง เชน


ใชเปนชิ้นสวนในเครื่องจักร เครื่อง FDM Printer สามารถใชวัสดุไดหลากหลายและหาไดงายตาม
ท อ งตลาด เช น เสน PLA, ABS, PET, Nylon, Wood (พลาสติก ผสมไม ) , Bronze (พลาสติก ผสม
ทองเหลือง) เปนตน

รูปที่ 2.2 เครื่อง FDM 3D Printer จะวาดเสนพลาสติกที่ถูกฉีดออกมา


2.1.2 ระบบถาดเรซิ่ น (SLA หรื อ DLP) SLA หรื อ ระบบ DLP นั้ น มีห ลั ก การทํ า งาน
เหมื อ นกั น กล า วคื อ เครื่ อ งระบบนี้ จ ะฉายแสงไปตั ว ถาด ที่ ใ ส เ รซิ่ น ความไวแสงไว (Photo
Resin/Photopolymer) เมื่อเรซิ่นถูกแสงจะแข็งตัวเฉพาะจุดที่โดนแสง จึงใชหลักการแข็งตัวของเร
ซิ่นนี้ในการทําชิ้นงานใหเกิดรูปรางขึ้นมา เมื่อทําใหเกิดรูปรางขึ้นในชั้นหนึ่งๆ แลวเครื่อง ก็จะเริ่มทํา
ใหแข็งเปนรูปรางในชั้นตอไปจนเกินเปนชิ้นงานวัตถุที่จับตองได ระบบ SLA (Stereo lithography)
และ DLP (Digital Light Processing) มี ค วามแตกต า งกั น ที่ ต น กํ า เนิ ด ของแสง ระบบ SLA ใช
แหลงกําเนิดเสนดวยแสงเลเซอร ดังนั้น เครื่องจะทําการยิงแสงเลเซอรไปที่เรซิ่นโดยวาดเสนเลเซอรไป
เรื่อยๆ ถาตองการพิมพชิ้นงานขนาดใหญจะใชระยะเวลาในการวาดนาน สวนระบบ DLP นั้นจะใช
โปรเจคเตอร DLP Project ฉายภาพ ซึ่งภาพที่ฉายนั้นจะครอบคลุมทั้งเลเยอรทําใหระบบ DLP นั้นใช
เวลาในการพิมพนอยกวาและระยะเวลาไมขึ้นกับจํานวนชิ้นงานบนฐานพิมพเนื่องจากไมตองวาดทีละ
เสน การพิมพระบบถาดเรซิ่นนี้ สวนใหญเปนการสรางชิ้นงานที่มีขนาดเล็กและตองการความละเอียด
ที่ สู ง จึ ง เหมาะกั บ ธุ ร กิ จ ประเภท เครื่ อ งประดั บ Jewelry งานหล อ ชิ้ น ส ว นขนาดเล็ ก ในงาน
อุตสาหกรรมออกแบบ ผลิตภัณฑงานโมเดลฟกเกอร เครื่องพิมพแบบ SLA หรือ DLP นั้นมีหลักการ
ทํ างานเช นเดี ยวกั น คื อ การฉายแสงไปยั ง เรซิ่น ที่ ไวต อแสง และแข็ง ตัว เมื่อโดนแสงที่ ยานความถี่
เฉพาะตัว ขึ้นรูปจากน้ําเรซิ่น (Photopolymer Resin) เปนวัตถุแข็งตัว
2.1.3 ระบบผงยิ ป ซั่ ม + สี Ink Jet (Powder 3D Printer หรื อ ColorJet Printing)
Powder 3D Printer หรือ เครื่องพิมพระบบแปง เปนระบบใชผงยิปซั่ม/ผงพลาสติก เปนตัวกลางใน
การขึ้นชิ้นงาน โดยเครื่องจะทํางานคลายระบบ Inkjet แตแทนที่ จะพิมพไปบนกระดาษ เครื่องจะ
พิมพลงไปบนผงยิปซั่ม โดยจะพิมพสีลงไปเหมือนกัน ตางกันที่ระบบจะฉีด Blinder หรือกาวลงไป
5

ดวยในการผสานผงเขาดวยกันเปนรูปราง เมื่อสรางเสร็จในชั้นหนึ่งเครื่องจะเกลี่ยผงยิปซั่มมาทับเปน
ชั้นบางๆ ในชั้น ตอไปเพื่อเตรียมพรอมใหเครื่องพิมพสีและ Blinder อีกครั้ง Powder Printer เครื่อง
ระบบนี้มีจุดเดนมากคือสามารถพิมพสีไดสมจริงเครื่องพิมพ Inkjet โดยทั่วไป จึงเหมาะในกับงาน
ศิลปะ โมเดลคนเหมือนจริง หุนจําลอง หรือชิ้นงานที่ตองการเห็นสีสันที่สมจริง แตมีขอเสียคืองานที่ได
นั้น 20 มีความเปราะเหมือนกับปูนพลาสเตอร 2.1.4 ระบบหลอมผงพลาสติก ผงโลหะ เซรามิก (SLS)
ระบบ SLS หรือ Selective Laser Sintering เปนระบบที่มีหลักการทํางานคลายระบบ SLA แตมีจุด
ที่แตกตางกันคือ วิธีการทําใหเรซิ่นแข็งตัวโดยการฉายเลเซอรนั้น ระบบ SLS จะยิงเลเซอรไปโดยตรง
บนผงวัสดุความรอนจากเลเซอรดังกลาวจะทําใหผงวัสดุหลอมละลายเปนเนื้อเดียวกัน กระบวนการ
เริ่มจากถาดที่ใสผงวัสดุ เชน ผงทองเหลือง เครื่องจะเริ่มยิงเลเซอรความเขมขนสูงไปยัง ผงทองเหลือง
ในถาด เมื่อยิงไปยังตําแหนงใดผงทองเหลืองจะหลวมรวมเปนรูปรางที่ตําแหนงนั้นๆพอพิมพเสร็จในเล
เยอรหนึ่งๆ แลว เครื่องจะเกลี่ยผงทองเหลืองบางๆ มาทับในชั้นตอไป เพื่อเริ่มกระบวนการยิงเลเซอร
เพื่อหลอมละลายใหม ทําไปซ้ําไปเรื่อยๆ หลายรอย หลายพันชั้นจนเกิดมาเปนวัตถุที่ตองการ SLS
Printer ระบบนี้มีขอดีคือ สามารถผลิตชิ้นงานออกมาเปนโลหะ หรือพลาสติกพิเศษ โดยใชผงของวัสดุ
นั้นไดเลย แตเครื่องมีราคาที่สูงมาก
2.1.5 ระบบ Poly Jetใชหลักการเดียวกับเครื่องพิมพแบบ Inkjet กลาวคือ แทนที่จะพน
แมสีออกมาบนกระดาษ เครื่องแบบPoly Jet จะมีหัวฉีด Jet พนเรซิ่นออกมาแลวฉายใหแข็งโดยแสง
UV อีกรอบ ทําไปที่ละชั้นเรื่อยจนออกมารูปรางชิ้นงาน 3 มิติ เครื่องระบบนี้จะมีความแมนยําสูง แตมี
ราคาคอนขางแพง
2.1.6 Laminated Object Manufacturing (LOM) เป น การใช วั ส ดุ ที่ เ ป น แผ น บางๆ
คลายกระดาษ และมีสารยึดติดที่หนาหนึ่งของแผน โดยจะดึงวัสดุเขาสูเครื่องตัดดวยเลเซอรเปนชั้นตอ
ชั้นขึ้นไปวัสดุที่จะขึ้นรูปจะอยูในกลุมของเทอรโมพลาสติก (พีวีซี) โลหะที่เปนเหล็กและไมใชเหล็ก
2.2 เสน Filament
เครื่องพิมพ 3 มิติชนิด FDM/FFF ใชเสนพลาสติกเปนวัตถุดิบในการขึ้นรูปชิ้นงาน ในปจจุบันมี
วัสดุพลาสติกหลากหลายประเภทสําหรับการพิมพ 3 มิติ เชนวัสดุที่มีความแข็งแรงสูง วัสดุที่เหนี่ยวนํา
ไฟฟาได วัสดุประเภทยืดหยุนเหมือนยาง เปนตน ทําให 3D Printer สามารถตอบโจทยการใชงาน
ไดมากขึ้น

การใชงานของวัสดุแตละประเภท
2.2.1 Polylactic Acid (PLA) เปนพลาสติกที่ทําจากวัตถุดิบธรรมชาติยอยสลายไดตาม
ธรรมชาติและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มีจุดเดนคือมีสีใหเลือกเยอะ สีสดใสสะทอนแสงเล็กนอย พิมพ
6

งาย (ใชอุณหภูมิต่ํา ไมตองใชฐานความรอน) เปนวัสดุแข็ง ไมยืดหยุน ทนอุณหภูมิไดต่ําเพียง 60 องศา


เปนวัสดุที่เหมาะกับชิ้นงานทั่วไปที่ไมตองรับแรงกระแทกหรือทนความรอนสูง
2.2.2 Acrylonitrile Butadiene Styrene (ABS) เป น พลาสติ ก ที่ ใ ช กั น แพร ห ลายใน
อุตสาหกรรม มีความแข็งแรงทนทานกวา PLA และยืดหยุนเล็กนอย (นึกถึงบล็อกของเลน Lego) และ
ทนความรอนไดสูงกวา พิมพยากกวาเล็กนอยเพราะตองใชอุณหภูมิสูงและใชฐานทําความรอนเพื่ อ
ปองกันไมใหขอบชิ้นงานงอตัว เหมาะสําหรับชิ้นงานที่ตองรับแรง ทนความรอน ใชงานกลางแจง
ชิ้นสวนกลไกตางๆ
2.2.3 PETG (Polyethylene terephthalate Glycol-modified) คื อ วั ส ดุ ที่ ใ ช ทํ า ขวดน้ํ า ขวด
พลาสติก มีความเหนียวและทนทานเปนเลิศ ไมฉีกขาดงาย ความแข็งแรงเทียบเทา ABS แตปริ๊นทงา ย
เหมือน PLA มีสีใสกึ่งโปรงแสง ดูสวยไปอีกแบบ เหมาะสําหรับใชแทน PLA ในงานที่ตองการความ
แข็งแรงและทนความรอนสูง
2.2.4 Flexible filament (TPE/TPU) เปนเสนวัสดุที่มีความยืดหยุนเหมือนยาง ชิ้นงาน
ที่พิมพออกมาจะนุมนิ่ม บีบได เหมาะสําหรับทําของเลน รองเทา เคสมือถือ Wearable Devices อาจ
พิมพยากสําหรับเครื่องพิมพบางชนิดเนื่องจากเสนมีความนิ่มมาก ตองใชความเร็วพิมพคอนขางต่ํา
2.2.5 Special Effects เสนวัสดุพิเศษที่มีสวนผสมของวัสดุอื่นๆเชนไม โลหะ คารบอนไฟ
เบอร โดยวัสดุหลักยังคงเปน PLA ทําใหพิมพไดงาย แตไดชิ้นงานที่มีรูปลักษณและผิวสัมผัสเหมือนไม
หรือโลหะ (บางชนิดมีคุณสมบัติพิเศษเชนนําไปขัดเงา ทําใหขึ้นสนิม หรือดึงดูดแมเหล็กได) แตก็มี
ขอเสียเดียวกับ PLA เชนทนความรอนไดต่ําและมีความเปราะ เหมาะสําหรับผูที่ตองการความแปลก
ใหมในการสรางชิ้นงาน 3 มิติ
2.2.6 Support Material (สําหรับเครื่องพิมพที่มีสองหัวฉีด)มีวัสดุ support สองชนิดคือ
HIPS (High Impact Polystyrene) และ PVA (Polyvinyl Alcohol) แนะนําใหใช HIPS คูกับ ABS
และใช PVA คูกับ PLA เนื่องจากใช อุณหภูมิใกลเคียงกัน ใช สาร Limonene สําหรับละลาย HIPS
และใชน้ําเปลาเพื่อละลาย PVA โดยสามารถใช HIPS เปนวัสดุหลักไดดวย (มีคุณสมบัติใกลเคียงกับ
ABS)

2.3 ขวดพลาสติก
ในปจจุบันพลาสติกเขามามีบทบาทตอชีวิตประจําวันของมนุษยเรามาก ทั้งของเลน อุปกรณ
เครื่องใชไฟฟา เครื่องประดับ รวมถึงภาชนะบรรจุสินคาฯ ซึ่งมีคุณสมบัติแตกตางกันไปสามารถแบงได
เปน 5 ประเภทดังนี้
2.3.1 ขวดทําจากพอลิไวนิลคลอไรด คุณสมบัติทั่วไปจะใส สามารถปองกันกาซซึม
และไขมัน ซึมผานไดดี ทนความเปนกรดไดดี ไมทนความรอนและความเย็น จึงเหมาะสําหรับ ใชที่
7

อุณหภูมิ ตามปกติ มักจะใชในการบรรจุเครื่องสําอาง น้ําผลไม น้ํามันพืช น้ําสมสายชู และผลิตภัณฑ


ทางเคมี ขวดน้ําพลาสติกนั้นเวลานํามาใชซ้ําๆ จะมีสารเคมีที่สามารถละลายออกมาได โดยเฉพาะเมื่อ
ขวดมีก ารยุบ ตั ว รวมถึ ง ขวดเพท และขวดขาวขุ นดว ย (ขวดขาวขุ น จะละลายออกมามากกว า
โดยเฉพาะเมื่อเก็บไมถูกวิธี)
2.3.2 ขวดทําจากพอลลิสไตรีน ปองกันกาซและไอน้ําไดไมดีนัก ทนความเปนกรด
ไดปานกลาง ไมทนความรอนและความเย็น เหมาะสําหรับใชที่อุณหภูมิปกติ โดยทั่วไปนิยมใชบรรจุ
ยา
เม็ด วิตามิน เครื่องเทศ และทําใหมีขนาดใหญสําหรับใชบรรจุนมเพื่อการขนสง แตไมนิยมใชในบาน
เรา
2.3.3 ขวดทําจากพอลลิเอทีลีน มีการใชในสองลักษณะคือ พอลลิเอทีลีนชนิดความ
หนาแนนต่ํา และพอลลิเอทีลีนชนิดความหนาแนนสูง โดยทั่วไปขวด ชนิดนี้จะยอมใหไอน้ําซึมผานได
นอย แตจะยอมใหกาซซึมผานได ทนความเปนกรดไดปานกลาง ทนความรอนไดไมดีมากนักแตจะทน
ความเย็นไดดีมาก สําหรับขวดที่มีชนิดความหนาแนนสูง มักจะใชบรรจุนม ผงซักฟอก น้ําดื่ม สารเคมี
และเครื่องสําอาง
2.3.4 ขวดทําจากพอลลิโพรพีลีน คุณสมบัติโดยทั่วไปแลวจะยอมใหไอน้ําซึมผานได
นอยแตจะยอมใหกาซซึมผานไดดี ทนความเปนกรดไดปานกลาง ทนความรอนไดดี แตจะไมทนความ
เย็น จึงไมเหมาะแกการแชเย็น โดยทั่วไปใชในการบรรจุยา น้ําผลไม น้ําเชื่อม เครื่องสําอาง แชมพู
2.3.5 ขวดทําจากพอลลิเอทีลีนเทอรฟะทาเลตหรือพอลลิเอสเธอร ขวดเพท คุณสมบัติ
โดยทั่วไปจะแข็งใส ปองกันการซึมผานของไอน้ําไดปานกลาง แตปองกันการซึมผานกาซไดดีมาก ทน
ความเปนกรดไดและความเย็นไดดี มักนิยมใชบรรจุเครื่องดื่มประเภทน้ําอัดลม เบียร นอกจากนี้ยัง
บรรจุของเหลวมีแอลกอฮอลได เชน แชมพูน้ํา โคโลญจ โลชั่น เปนตน

2.4 ชุดควบคุมมอเตอร
โมดูลนี้เปนตัวควบคุมมอเตอรกระแสตรง PWM กําลังสูง สามารถปรับความเร็วมอเตอรโดย
การปรับรอบการทํางานของสัญญาณเอาตพุต อีกทั้งยังสามารถปรับความถี่เอาตพุตใหตรงกับความถี่
ของสัญญาณเอาตพุตกับความถี่มอเตอร ทําใหมอเตอรทํางานไดเสถียรยิ่งขึ้น สามารถใชกันอยาง
แพรหลายสําหรับมอเตอรไดรฟ การควบคุมความสวางของแสง การควบคุมความเร็ว เครื่องกําเนิด
สัญญาณฯลฯ
8

รูปที่ 2.3 แผงควบคุมและแสดงผลการทํางาน


อุปกรณควบคุมมอเตอรกระแสตรง PWM มอเตอรความเร็วไฟควบคุมหรี่ LED จอแสดงผลดิจิตอล
Encoder มีคุณสมบัติดังนี้
2.4.1 พรอมกับปุม Start-stop และการควบคุมสวิตชภายนอกเพื่อควบคุมการทํางาน
2.4.2 ฟงกชันเริ่มตนมอเตอรออน เมื่อมอเตอรเริ่มตนกระแสจะเพิ่มขึ้นอยางชาๆและไมมี
กระแสไหลเขาซึ่งสามารถปกปองมอเตอรไดอยางมีประสิทธิภาพและยืดอายุการใชงาน
2.4.3 รอบการทํางาน รอบการทํางานบนและลาง และความถี่ในการทํางานสามารถตั้ง
คาเพื่อใหสามารถใชงานและใชมอเตอรนี้ขึ้นอยูกับลักษณะการทํางานนั้นๆ
2.4.4 ลู ก บิด เข า รหั ส แบบดิ จิ ตอลปรั บ ความเร็ว ของมอเตอรซึ่ ง มี ค วามแม น ยํ า และ
สม่ําเสมอกวาโพเทนชิออมิเตอรธรรมดา

รูปที่ 2.4 จุดตอสายไฟหลังเครื่อง


9

2.5 ชุดควบคุมความรอน
เครื่องวัดและควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Control) เปนเครื่องมือที่กํา จัดคาอุ ณ หภู มิ
ตามที่กําหนด สามารถควบคุมเพิ่มหรือลดอุณหภูมิ ตามชวงอุณหภูมิที่ตองการใชงาน ตามเวลาที่
กําหนดได ตัวอยางเชน การควบคุมความรอนของฮีตเตอร ควบคุมความเย็นในหองแชแข็ง เปนตน

รูปที่ 2.5 ตัวเครื่องชุดควบคุมความรอน


เพื่อการวัดและควบคุมอุณหภูมิในระบบไดอยางแมนยํา โดยไมตองใชคนควบคุมระบบตลอดเวลา
โดยการควบคุมอุณหภูมิตองอาศัยเซ็นเซอรวัดอุณหภูมิแบบตางๆสงคาอุณหภูมิที่วัดไดไปสู
ตัวควบคุมเพื่อรักษาอุณหภูมิใหอยูในชวงที่ตองการใชงาน เชน เทอรโมคัปเปลหรือ RTD ตาม
อินพุตที่เลือกใชงาน มาเปรียบเทียบกับอุณหภูมิที่ตองการควบคุมหรือจุดที่ตองการ และสงคําสั่งไปยัง
อุปกรณที่เราตองการควบคุม ตัวควบคุมอุณหภูมิเปนสวนหนึ่งของระบบควบคุมทั้งหมด
การเลือกใชงานจะขึ้นอยูกับความเหมาะสมของลักษณะงานที่ตองการใชงาน
2.5.1 การควบคุมแบบ On/Off เปนการควบคุมที่งา ยที่สุดจากทั้ง 3 แบบโดยการนําเอาตพุต
จาก Temperature Control ที่ มีส ถานะ เป ด (on) หรื อ ปด (off) เท า นั้ น จะไม มีส ถานะกลาง
หลักการทํางาน On หรือ Off สําหรับการควบคุมความรอน หรือความเย็น และจะทําซ้ําอยางนี้ไป
เรื่อยๆ เรียกวา “วนลูปการทํางาน” (Loop) ในกรณีมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว
ทําใหห นา คอนแทคเตอรเ กิดการเปลี่ยนแปลงสถานะอยางรวดเร็วอาจเกิดความเสียหายได เพื่ อ
ป อ งกั น ความเสี ย หายต อ หน าคอนแทคเตอร ดั ง นั้ น จึ ง มี ก ารหน ว งเวลาระหว า งการเป ดหรือปด
(On/Off) หรื อ เรี ย กว า “ฮิ ส เทอรี ซิ ส ” (Hysteresis) การหน ว งเวลา On/Off จะป อ งกั น การ
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยางรวดเร็ว ซึ่งอาจทํา ให อุป กรณที่ตออยูกับเครื่องควบคุม เสียหายได เชน
Relay เปนตน
2.5.2 การควบคุ ม อุ ณ หภู มิ แ บบ Proportional ออกแบบมาเพื่ อ แทนการควบคุ ม แบบ
On/Off โดยการควบคุมแบบ Proportional ลดพลังงานที่จายใหกับฮีตเตอรเมื่ออุณหภูมิเขาใกลจุดที่
ต อ งการใชง าน (SV) ผลของการทํ า ให ฮีต เตอรทํ า งานช าลง เพื่ อ ไมใ ห เ กิ ด การ Overshoot ของ
อุณหภูมิใชงาน (SV) แตจะเขาใกลอุณหภูมิใชงาน (SV) และรักษาอุณหภูมิใหคงที่ การกําหนด "Time
10

Proportioning" นี้จะเปลี่ยนอัตราสวนของเวลา "เปด" และเวลา "ปด" ในการควบคุมอุณหภูมิ แบบ


Proportional นั้นเกิดขึ้นจากคา "proportional band" ซึ่งจะทํางานเมื่อเขาใกลอุณหภูมิใชงาน (SV)
หากเลยจากคา proportional band ไปแลว จะเปลี่ยนเปนการควบคุมแบบ On/Off ที่อุณหภูมิใช
งาน (SV) (จุดตรงกลางของ proportional band) ทํางานแบบ On /Off มีอัตราสวนคือ 1:1 นั่นคือ
เวลา On และเวลา Off เทากัน หากอุณหภูมิแตกตางจากจุดที่กําหนดไวมาก เวลา On และเวลา Off
จะแปรผันตามสัดสว น ความแตกตางของอุณหภูมิ หากอุณหภูมิต่ํา กวาอุณหภูมิใชงาน (SV) การ
ทํางานจะ On นานขึ้น หากอุณหภูมิสูงเกินไปการทํางานจะ Off นานขี้นดวย

รูปที่ 2.6 รูปแสดงการเกิด Overshoot


2.5.3 การควบคุ ม อุ ณ หภู มิ แ บบ PID ประกอบไปด ว ย proportional, integral และ
derivative การควบคุมแบบ PID เปนการควบคุม proportional ที่เพิ่มสองรายการซึ่งจะชวยควบคุม
แบบอัตโนมัติโดยการชดเชยคาที่เปลี่ยนแปลงในระบบ

รูปที่ 2.7 รูปแสดงการควบคุมอุณหภูมิแบบ PID


11

การปรับ integral และ derivative จะแสดงในหนวยของเวลา โดยการปรับ proportional, integral


และ derivative จะตอ งถูก ปรับ ทีละตัว ใชร ะบบในการทดลองขอผิดพลาดจะทําให ก ารควบคุม
แมนยําและเสถียรที่สุด การควบคุมอุณหภูมิแบบ PID ใชไดดีในระบบที่คอนขางเล็กซึ่งตอบสนองเร็ว
ตอพลังงานที่เพิ่มเขามาในระบบ

2.6 ชุดตั้งเวลา
ไทมเมอร (TIMER) หรือ อุปกรณในการตั้งเวลา คืออุปกรณทางไฟฟาที่ใชในการควบคุมเวลา
การทํางานของอุปกรณตางๆ ใหเปนไปตามที่ผูใชงานตองการ ซึ่งสวนมาก ไทมเมอร (TIMER) จะมีใช
ในงานอุตสาหกรรมเกือบทุกประเภท ดังนั้น ไทมเมอร (TIMER) จึงมีความสําคัญกับเครื่องจักรใน
โรงงานมาก เพราะสามารถกําหนดเวลาการทํางานของเครื่องจักร และอุปกรณตางๆได ไทมเมอร
(TIMER) นั้นในปจจุบันมีหลายแบบหลายยี่หอ ในแตละยี่หอ KKmol รุน Digital Time Delay Relay

รูปที่ 2.8 ตัวเครื่องชุดตั้งเวลา


4
4

สรุปผลอภิปรายผลและขอเสนอแนะ
สรุปผลการวิจัย
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคของการวิจัยเพื่อสรางเครื่องผลิตเสน filament จากขวดพลาสติก
เหลือใช เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องผลิตเสน filament จากขวดพลาสติกเหลือใช
เพื่อศึกษาความพึงพอใจตอเครื่องผลิตเสน filament จากขวดพลาสติกเหลือใช และเพื่อเปนแนวทาง
ในการนําขวดพลาสติกเหลือใชมารีไซเคิลใหมใหเกิดประโยชนสูงสุด
1. ประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องผลิตเสน filament จากขวดพลาสติกเหลือใช
1.1 ขนาดเสนผานศูนยกลางของเสน filament จากขวดพลาสติกเหลือใช มีขนาด
เสนผานศูนยกลางอยูระหวาง 1.70 - 1.80 มม. รวมถึงคาเฉลี่ยขนาดเสนผานศูนยกลางของ
เสน filament แตละเสนอยูระหวาง 1.72 - 1.78 มม. และคาเฉลี่ยของเสนผานศูนยกลาง
รวมทั้งหมดของเสน filament ที่ผลิตไดคือ 1.75 มม.
1.2 ความเร็ว สูง สุดในการผลิตเสน filament โดยที่เสน filament ที่ผ ลิตไดยังมี
คุณภาพดีคือ 12.4 ซม./นาที ซึ่งตองใชความเร็วรอบของมอเตอรที่ 74 เปอรเซ็นต และใช
อุณหภูมิของหัวทําความรอนที่ 185 องศาเซลเซียส
2. ความพึงพอใจตอเครื่องผลิตเสน filament จากขวดพลาสติกเหลือใช
ในการศึกษาครั้งนี้ใชแบบสอบถามตามมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ (rating
scales) ตามวิธีของลิเคิรท (Likert) สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลคือ คาเฉลี่ย (x) และสวน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน(standard deviation) และแปลความหมายของคะแนนเฉลี่ยถือเกณฑ
ของ ดร.บุญ ชม ศรีสะอาด ใชกลุมตัวอยาง คือ นักเรีย น นักศึก ษา สาขาวิช าเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร และสาขาวิชาชางกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ พบวา คาเฉลี่ยของ
ระดับคะแนนความพึงพอใจของกลุมตัวอยางทั้งสองสาขาวิชา จํานวน 30 คน ที่มีตอเครื่อง
เทา กับ 4.36 และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.76 ซึ่งแปลความหมายไดวา กลุม
ตัวอยางทั้งสองสาขาวิชา จํานวน 30 คน มีความพึงพอใจตอการใชงานในภาพรวมอยู
ในระดับ มาก ( 𝑥̅ = 4.36 และ S.D.= 0.76)
13

3.2อภิปรายผล
เครื่องผลิตเสน filament จากขวดพลาสติกเหลือใช มีคาเฉลี่ยของระดับคะแนนความพึง
พอใจของประชากรในภาพรวมอยูในระดับ ดี
ขนาดเสนผา นศูนย ก ลางของเส น filament จากขวดพลาสติ ก เหลื อ ใช มีขนาดเส นผ า น
ศูนยกลางอยูระหวาง 1.70 - 1.80 มม. และคาเฉลี่ยของเสนผานศูนยกลางรวมทั้งหมดคือ 1.75 มม.
ซึ่งเปนขนาดมาตรฐานของเสน filament
ความเร็วสูงสุดในการผลิตเสน filament คือ 12.4 ซม./นาที
ความเคน แรงดึง (Tensile Stress) ของเสน filament จากขวดพลาสติกเหลือใช เทากับ
9.17 กก./ตร.มม.

3.3 ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช
3.3.1 ผลการวิจัยอาจการเปลี่ยนแปลงไปตามชนิดของพลาสติก
3.3.2 ผลการวิจัยเปนทดลองกับขวดพลาสติกแบบสุมชนิดพลาสติก

3.4 ขอเสนอแนะในการทําวิจยั ครั้งตอไป


3.4.1 ควรมีกลไกการจัดเรียงเก็บเสน filament ที่ผลิตแลวใหมวนเก็บอยางเปนระเบียบ
3.4.2 ควรมีอุปกรณครอบปดหัวทําความรอน เพื่อปองกันผูใชงาน
3.4.3 ควรใชระบบควบคุมอุณหภูมิของหัวทําความรอนที่แมนยํามากกวาเดิม
15

บรรณานุกรม

รศ.บรรเลง ศรนิล//(2548).//เทคโนโลยีพลาสติก.//พิมพครั้งที่/1.//กรุงเทพ:/สงเสริมเทคโนโลยี
(ไทย-ญี่ปุน), สมาคม
บริษัท นีโอเทค จํากัด. เครื่องพิมพ 3 มิติ สืบคน 21 พฤศจิกายน 2565
จาก https://www.print3dd.com/all-articles-2/
บริษัท พลวัตร จํากัด. เสน filament สืบคน 22 พฤศจิกายน 2565
จาก https://x3dtechnology.com/pages/filament-guide
นาย พงปกรณ ทาจีน.ขวดพลาสติก สืบคน 24 พฤศจิกายน 2565
จาก https://sites.google.com/site/jatfluk/home
บริษัท ดอลลี่ โซลูชั่น จํากัด. ชุดควบคุมมอเตอร สืบคน 25 พฤศจิกายน 2565 จาก
https://www.autoslidedoor.com/อุปกรณประตูอัตโนมัติ/การทํางานของชุดควบคุมA1-
dc-motor-brush/
บริษัท เอสซีเอ็ม อลีอันซ จํากัด. ชุดควบคุมความรอน สืบคน 25 พฤศจิกายน 2565 จาก
http://www.scmashopping.com/article/48/เครื่องวัดและควบคุมอุณหภูม-ิ คือ-อะไร
บริษัท เคคูล โปรดักส จํากัด. ชุดตั้งเวลา สืบคน 26 พฤศจิกายน 2565 จาก
https://manuals.plus/th/icstation/digital-timer-relay-ac-85-265v-
manual#axzz7mNSR9M8J
16

ภาคภนวก
17

ประวัติผจู ัดทํา

ชื่อ-นามสกุล นายวรวุฒิ บุญยู


รหัสนักศึกษา 66301280017
วันเดือนปเกิด 20 มกราคม พ.ศ. 2548 อายุ 18
ที่อยูปจ จุบัน บานเลขที่ 288/184 ถ.ทุงศรีเมือง ต.กาฬสินธุ อ.เมืองกาฬสินธุ จ.กาฬสินธุ
รหัสไปรษณีย 46000
เบอรโทรศัพท 080-464-3425
Email worawut6912@gmail.com
Facebook Worawut Boonyoou
ประวัติการศึกษา 2565 ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 3 วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ
ความชํานาญเฉพาะดาน ขายรหัสเกมออนไลน

You might also like