You are on page 1of 9

กำรแข่ งขันเคมีโอลิมปิ กระดับชำติ ครั้งที่ 8

ณ คณะวิทยำศำสตร์ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ ำธนบุรี


วันอำทิตย์ ที่ 6 พฤษภำคม พ.ศ. 2555
เวลำ 08.30 – 13.30 น.

ข้ อสอบภาคปฏิบัติ

เลขประจำตัวสอบ..........................................
การแข่งขันเคมีโอลิมปิ กระดับชาติ ครั้งที่ 8 2

คำชี้แจงกำรสอบภำคปฏิบัติ

1. ข้อสอบภาคปฏิบตั ิมีคะแนนรวม 40 คะแนน คิดเป็ นร้อยละ 40 ของคะแนนทั้งหมด


2. ห้ามทุจริ ตในการสอบ หากทุจริ ต จะหมดสิ ทธิ์ในการแข่ งขันและจะถูกให้ ออกจากห้ องสอบทันที รวมทั้ง
ห้ามคุยหรื อปรึ กษากันในช่วงเวลาสอบ
3. ให้นกั เรี ยนตรวจสอบเอกสารก่อนลงมือทาดังนี้
3.1 ข้อสอบภาคปฏิ บต ั ิ 1 ชุด จานวน 9 หน้า (รวมปกและตารางธาตุ) ประกอบด้วย 2 การทดลอง นักเรี ยน
ทาการทดลองใดก่อนก็ได้
3.2 กระดาษคาตอบภาคปฏิบต ั ิ 1 ชุด จานวน 7 หน้า (รวมปก)
3.3 ตรวจเลขประจาตัวสอบในข้อสอบภาคปฏิบต ั ิ และกระดาษคาตอบภาคปฏิบตั ิให้ถูกต้องทุกหน้า
4. ให้อ่านข้อสอบทั้งในส่ วนกระดาษคาถามและกระดาษคาตอบก่อนลงมือทาปฏิบตั ิการ เพื่อวางแผนการทดลอง
5. ให้เริ่ ม สอบปฏิ บัติก ารได้เมื่ อกรรมการคุ ม สอบประกาศให้ “ลงมื อทา” และเมื่ อประกาศว่า “หมดเวลา”
นัก เรี ยนต้องหยุด ทาทัน ที และวางกระดาษค าถามและกระดาษค าตอบไว้บนโต๊ะ รอให้ก รรมการคุ ม สอบ
เก็บข้อสอบให้เรี ยบร้อย
6. ในระหว่างทาปฏิบตั ิการ นักเรี ยนสามารถขออนุญาตกรรมการคุมสอบออกไปรับประทานอาหารว่างในบริ เวณ
ที่จดั ให้
7. นักเรี ยนจะต้องสวมเสื้ อคลุมปฏิ บตั ิ การ และสวมแว่นตานิ รภัย (googles) หรื อแว่นสายตาของนักเรี ยน
ขณะที่ทาปฏิบตั ิการตลอดเวลา
8. การสอบปฏิบตั ิการจะไม่อนุญาตให้นกั เรี ยนเบิกสารเคมี สารตัวอย่าง รี เอเจนต์ หรื ออุปกรณ์อื่นใดเพิ่มเติม
กรณีที่จาเป็ นต้องเบิกให้แจ้งกรรมการคุมสอบ และจะถูกหัก 5 คะแนนต่อการเบิก 1 อย่าง
9. ให้เขียนตอบในกระดาษคาตอบด้ วยปากกาสี น้ำเงินหรื อดำเท่ ำนั้น โดยเขียนให้ตรงกับข้อและเขียนในกรอบ
ที่กาหนดให้ กรณีเขียนผิดให้ขีดฆ่าและเขียนใหม่ให้ชดั เจน ห้ามลบด้วยน้ ายาลบคาผิด การทดหรื อขีดเขียน
อย่างอื่นให้ทาในกระดาษคาถามเท่านั้น
10. การบันทึกผลการทดลองให้คานึงถึงเลขนัยสาคัญของอุปกรณ์ ชัง่ ตวง วัด
11. ให้นกั เรี ยนใช้อุปกรณ์ทดลอง สารเคมี เครื่ องเขียน เครื่ องคิดเลข และข้อมูลที่จดั เตรี ยมไว้ให้ ห้ามยืมผูอ้ ื่น
ใช้โดยเด็ดขาด
12. หลังส่ งข้อสอบแล้วให้นักเรี ยนล้างอุปกรณ์และเครื่ องแก้วทุกชนิ ด ที่ใช้ในการทาปฏิบตั ิการและเก็บไว้
ที่เดิม พร้อมทั้งทาความสะอาดโต๊ะปฏิบตั ิการให้เรี ยบร้อย
13. กรณีเกิดอุบตั ิเหตุใด ๆ ให้นกั เรี ยนแจ้งกรรมการคุมสอบเพื่อพิจารณาแก้ไขทันที
14. ห้ามนักเรี ยนนาเอกสารใด ๆ เข้าหรื อออกจากห้องสอบโดยเด็ดขาด

เลขประจำตัวสอบ..........................................
การแข่งขันเคมีโอลิมปิ กระดับชาติ ครั้งที่ 8 3

เลขประจำตัวสอบ..........................................
การแข่งขันเคมีโอลิมปิ กระดับชาติ ครั้งที่ 8 4

อุปกรณ์
ที่ รำยกำร จำนวน หน่ วย
อุปกรณ์ กำรทดลองที่ 1
1 หลอดหยดพลาสติก (บรรจุอยู่ในถุงพลาสติก) 12 หลอด
2 ถาดหลุม (96-well plate) 1 อัน
อุปกรณ์ กำรทดลองที่ 2
3 ปิ เปต (transfer pipet) ขนาด 25 mL 1 อัน
4 ปิ เปต (transfer pipet) ขนาด 10 mL 1 อัน
5 ขวดรู ปชมพู่ขนาด 250 mL 6 ใบ
6 บีกเกอร์ ขนาด 250 mL 2 ใบ
7 บีกเกอร์ ขนาด 100 mL 3 ใบ
8 บีกเกอร์ ขนาด 50 mL 5 ใบ
9 กระบอกตวง ขนาด 25 mL 2 อัน
10 กระบอกตวง ขนาด 10 mL 2 อัน
11 แท่งแก้วคน 3 อัน
12 กรวยแก้ว (  7 cm 2 อัน และ   4 cm 2 อัน) 3 อัน
13 กระดาษกรองเบอร์ 1 4 แผ่น
14 ขวดน้ ากลัน่ 1 ขวด
15 หลอดหยด (แก้ว 2 อัน พลาสติก 1 อัน) 3 อัน
16 ลูกยาง 2 ลูก
17 กระจกนาฬิกา 3 อัน
อุปกรณ์ บนโต๊ ะทดลอง
18 ที่จบั บิวเรต และขาตั้งพร้อมบิวเรต 1 ชุด
19 ห่วงวงกลม (2 อัน) และขาตั้ง (1 อัน) 1 ชุด
20 ฉลาก (label) 1 แผ่น
21 ขวดเก็บของเสี ย 1 ขวด

หมำยเหตุ
ให้นกั เรี ยนทิ้งของเสี ยในขวดเก็บของเสี ยเท่านั้น

เลขประจำตัวสอบ..........................................
การแข่งขันเคมีโอลิมปิ กระดับชาติ ครั้งที่ 8 5

สำรเคมี

ที่ รำยกำร ปริมำตร (mL)


กำรทดลองที่ 1
1 สารละลายตัวอย่างที่ 1 1.5
2 สารละลายตัวอย่างที่ 2 1.5
3 สารละลายโซเดียมซัลเฟต (Na2SO4) 2
4 สารละลายโซเดียมคาร์บอเนต (Na2CO3) 2
5 สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) 2
6 สารละลายโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) 2
7 สารละลายโพแทสเซียมโครเมต (K2CrO4) 2
8 สารละลายโพแทสเซียมไนเตรต (KNO3) 2
9 สารละลายแบเรี ยมไนเตรต (Ba(NO3)2) 2
10 สารละลายซิลเวอร์ไนเตรต (AgNO3) 2
11 สารละลายแคลเซียมไนเตรต (Ca(NO3)2) 2
12 สารละลายเลดเซียมไนเตรต (Pb(NO3)2) 2
กำรทดลองที่ 2
13 สารละลายตัวอย่าง 150
14 สารละลายโซเดียมไทโอซัลเฟต (Na2S2O3) 0.05xxx mol/L 80
15 สารละลายโพแทสเซียมโครเมต (K2CrO4) 4 % w/v 20
16 สารละลายแอซิเตตบัฟเฟอร์ pH 5 (HOAc/NaOAc) 80
17 สารละลายโซเดียมแอซิเตต (NaOAc) 5 % w/v 100
18 สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ (KI) 0.20 mol/L 50
19 สารละลายกรดไฮโดรคลอริ ก (HCl) 6 mol/L 80
20 สารละลายแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) 0.01xxx mol/L 60
21 สารละลาย Disodium ethylenediamine tetraacetate (EDTA) 0.01xxx mol/L 120
22 สารละลายบัฟเฟอร์ pH 10 (NH4OH/NH4Cl) 80
23 สารละลายอิริโอโครมแบลคที (EBT) 2
24 น้ าแป้ ง 10

เลขประจำตัวสอบ..........................................
การแข่งขันเคมีโอลิมปิ กระดับชาติ ครั้งที่ 8 6

กำรทดลองที่ 1 คุณภำพวิเครำะห์ (10 คะแนน)

วัตถุประสงค์
ให้วิเคราะห์หาชนิดของไอออนในสารละลายตัวอย่าง 2 ตัวอย่าง

วิธีกำรทดลอง
1. ทดสอบปฏิกิริย าของสารละลาย 10 ชนิ ด ที่ทราบชนิ ดของไอออนที ละ 1 คู่ ในถาดหลุมโดยใช้
ชนิ ดละ 2 หยด สังเกตผลการทดลองภายในเวลา 2 นาที และบันทึกผลการทดลองในตารางที่ 1
ดังนี้
• ถ้าเกิดตะกอนให้ใส่ เครื่ องหมายบวก (+)
• ถ้าไม่เกิดตะกอนให้ใส่ เครื่ องหมายลบ (–)
2. บันทึกรหัสของสารละลายตัวอย่าง 2 ตัวอย่าง และนาไปทดสอบโดยทาการทดลองเช่นเดียวกับ
ข้อ 1 บันทึกผลการทดสอบในตารางที่ 2

ข้อควรระวัง
K2Cr2O4 และ Pb(NO3)2 เป็ นสารที่เป็ นพิษต่อร่ างกาย ไม่ควรสัมผัสกับสารนั้นโดยตรง

สรุปผลกำรทดสอบ
ให้นกั เรี ยนสรุ ปผลการทดสอบว่าในสารละลายตัวอย่างทั้งสองมีไอออนชนิ ดใดลงในกระดาษคาตอบ
(คาตอบเป็ นไอออนใด ๆ ในสารละลาย 10 ชนิด)

เลขประจำตัวสอบ..........................................
การแข่งขันเคมีโอลิมปิ กระดับชาติ ครั้งที่ 8 7

กำรทดลองที่ 2 กำรวิเครำะห์ หำปริมำณตะกัว่ และสั งกะสี ในสำรละลำยตัวอย่ำง (30 คะแนน)

สารละลายผสมที่ มีตะกัว่ และสังกะสี สามารถวิเคราะห์หาปริ มาณตะกัว่ และสังกะสี ได้โดยนาไปหา


ปริ มาณรวมของทั้ง ตะกั่วและสังกะสี ปริ มาณของตะกั่วอย่างเดี ยว และนาไปหักลบกันเพื่อหาปริ มาณของ
สังกะสี
การหาปริ มาณของตะกัว่ ในสารละลายผสมทาได้โดยการตกตะกอนในรู ปเลด(II)โครเมต โดยการเติม
สารละลายโพแทสเซี ยมโครเมตในสารละลายตัวอย่างที่ pH 5 กรองและล้างตะกอนที่ ได้ จากนั้นละลาย
ตะกอนด้วยกรดไฮโดรคลอริ กเจือจาง นาสารละลายที่ได้ไปทาปฏิกิริยากับสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์
ที่มากเกินพอ ปริ มาณของไอโอดีนที่เกิดขึ้นจะขึ้นกับปริ มาณของเลด(II)โครเมต ซึ่งหาได้จากการไทเทรตด้วย
สารละลายมาตรฐานโซเดียมไทโอซัลเฟตโดยใช้น้ าแป้งเป็ นอินดิเคเตอร์ ปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องมีดงั นี้

Pb2+(aq) + CrO42–(aq) ⇌ PbCrO4(s)


2PbCrO4(s) + 4H3O+(aq) ⇌ 2Pb2+(aq) + H2Cr2O7(aq) + 5H2O(l)
H2Cr2O7(aq) + 12H3O+ (l) + 6I–(aq) ⇌ 2Cr3+(aq) + 19H2O(l) + 3I2(aq)
2S2O32–(aq) + I2(aq) ⇌ S4O62–(aq) + 2I–(aq)

การวิเคราะห์หาปริ มาณรวมของทั้ง ตะกั่วและสังกะสี ทาได้โดยการนาสารละลายตัวอย่างที่ pH 5


มาเติมสารละลายมาตรฐาน Disodium ethylenediamine tetraacetate (EDTA) มากเกินพอ เพื่อทาให้เกิด
สารประกอบเชิงซ้อนที่เสถียรของ Pb2+ และ Zn2+ ทาการไทเทรตย้อนกลับเพื่อหาปริ มาณ EDTA ที่เหลือด้วย
สารละลายมาตรฐานปฐมภูมิ CaCO3 โดยควบคุมสารละลายให้มี pH 10 และใช้อิริโอโครมแบลคที (EBT)
เป็ นอินดิเคเตอร์ จะทาให้ทราบปริ มาณรวมของทั้งตะกัว่ และสังกะสี

HO

N N SO3-

OH
NO2

รู ปที่ 1 โครงสร้างของอิริโอโครมแบลคทีในรู ป H2In–

เลขประจำตัวสอบ..........................................
การแข่งขันเคมีโอลิมปิ กระดับชาติ ครั้งที่ 8 8

ตอนที่ 1 กำรหำปริมำณตะกัว่ โดยกำรไทเทรตแบบไอโอโดเมตรี (11 คะแนน)


วิธีทดลอง
1. ปิ เปตสารละลายตัวอย่างปริ มาตร 25.00 mL ลงในบี ก เกอร์ ขนาด 100 mL และเติ ม สารละลาย
บัฟเฟอร์ HOAc/NaOAc pH 5 ปริ มาตร 10 mL คนให้สารละลายผสมกัน
2. ค่อย ๆ เติ ม สารละลาย K2CrO4 ความเข้ม ข้น 4 % w/v ปริ ม าตร 5 mL ลงไปในสารละลายใน
ข้อ 1 พร้ อมคนสารละลายเป็ นระยะเวลา 5 นาที และตั้ง ทิ้ ง ไว้เ ป็ นเวลาไม่ น้อยกว่า 30 นาที
เพื่อให้เกิดตะกอนอย่างสมบูรณ์ หากตะกอนเกิดไม่สมบูรณ์จะมีผลต่อการทดลองขั้นถัดไป
3. กรองตะกอน PbCrO4 ที่ ไ ด้ด้ว ยกระดาษกรองเบอร์ 1 ล้า งตะกอนด้ว ยสารละลาย NaOAc
ความเข้มข้น 5 % w/v ปริ มาตร 25 mL เพื่อกาจัด K2CrO4 ที่มากเกินพอ ใช้ตะกอนที่กรองได้ใน
การทดลองข้อ 4 ทิ้งสารละลายที่ผา่ นกระดาษกรองในขวดเก็บของเสี ย
4. ละลายตะกอนที่ อ ยู่บ นกระดาษกรองให้ห มดโดยหยดสารละลาย HCl ความเข้ม ข้น 6 mol/L
ปริ มาตร 20 mL และตามด้วยน้ ากลัน่ ปริ มาตร 20 mL รองรับสารละลายทั้งหมดด้วยขวดรู ปชมพู่
ขนาด 250 mL ที่สะอาด ได้สารละลายสี เหลืองเข้ม
5. เติมสารละลาย KI ความเข้มข้น 0.20 mol/L ปริ มาตร 10 mL ลงในสารละลายในข้อ 4 และเขย่า
ให้สารละลายผสมกัน ได้สารละลายสี น้ าตาลเข้ม
6. นาสารละลายไปไทเทรตทันทีดว้ ยสารละลายมาตรฐาน Na2S2O3 จนได้สารละลายสี น้ าตาลอ่อน
แล้ว จึ ง เติ ม น้ า แป้ ง ปริ ม าตร 2 mL ได้ส ารละลายสี น้ า เงิ น ท าการไทเทรตต่ อ ด้ว ยสารละลาย
Na2S2O3 จนถึงจุดยุติสีน้ าเงินหายไปได้สารละลายใสสี เขียว
7. บันทึกปริ มาตรของสารละลาย Na2S2O3 ที่ใช้ในการไทเทรต
8. ทาการทดลองซ้ าอีก 2 ครั้ง หาค่าเฉลี่ย

สรุปผลกำรทดลอง
ให้นกั เรี ยนแสดงการหาความเข้มข้นของ Pb2+ ในสารละลายตัวอย่าง ในกระดาษคาตอบ

เลขประจำตัวสอบ..........................................
การแข่งขันเคมีโอลิมปิ กระดับชาติ ครั้งที่ 8 9

ตอนที่ 2 กำรหำปริมำณตะกัว่ และสังกะสีในสำรละลำยตัวอย่ำงโดยกำรไทเทรตแบบย้อนกลับ (13 คะแนน)


วิธีทดลอง
1. ปิ เปตสารละลายตัวอย่างปริ ม าตร 10.00 mL ลงในขวดรู ปชมพู่ขนาด 250 mL เติมสารละลาย
บัฟเฟอร์ HOAc/NaOAc pH 5 ปริ มาตร 10 mL
2. ปิ เปตสารละลาย EDTA ความเข้มข้น 0.01xxx mol/L ปริ มาตร 25.00 mL ลงในขวดรู ปชมพู่ใน
ข้อ 1 เขย่าขวดให้สารละลายผสมกัน ตั้งทิ้งไว้เป็ นเวลา 5 นาที
3. เติ ม สารละลายบัฟ เฟอร์ NH4OH/NH4Cl pH 10 ปริ ม าตร 20 mL เขย่า และเติ ม อิ ริ โ อโครม
แบลคที 2-3 หยด ได้สารละลายสี ฟ้า
4. ไทเทรตสารละลายในข้อ 3 ด้ว ยสารละลายมาตรฐาน CaCO3 ความเข้ม ข้น 0.01xxx mol/L
จนถึงจุดยุติได้สารละลายที่เริ่ มมีสีแดงปน
5. บันทึกปริ มาตรของสารละลาย CaCO3 ที่ใช้ในการไทเทรต
6. ทาการทดลองซ้ าอีก 2 ครั้ง หาค่าเฉลี่ย

สรุปผลกำรทดลอง
ให้นกั เรี ยนแสดงการหาความเข้มข้นรวมของ Pb2+ และ Zn2+ และของ Zn2+ ในสารละลายตัวอย่าง ใน
กระดาษคาตอบ

คำถำมท้ำยกำรทดลองที่ 2 (6 คะแนน)
1. (1 คะแนน) ถ้าไม่ลา้ งตะกอน และมี K2CrO4 เหลืออยู่ จะทาให้ค่าของ Pb2+ มากกว่า น้อยกว่า หรื อเท่ากัน
กับค่าของ Pb2+ เมื่อล้างตะกอน เพราะเหตุใด
2. (2.25 คะแนน) ในระหว่ า งการละลายตะกอนของ PbCrO4 ด้ว ยกรด HCl ถ้า มี ต ะกอนสี ข าวเกิ ด ขึ้ น
ตะกอนที่เกิดขึ้นมีสูตรเคมีคืออะไร และการเกิดตะกอนนี้ มีผลต่อการหาปริ มาณตะกัว่ ในตัวอย่างโดยได้ค่า
มากกว่า น้อยกว่า หรื อเท่ากันกับค่าของ Pb2+ ที่ได้เมื่อไม่มีตะกอนนี้เกิดขึ้น เพราะเหตุใด
3. (1 คะแนน) ในการทดลองตอนที่ 1 ข้อ 6 สี เขียวในสารละลายหลังการไทเทรตเป็ นของสารใด
4. (0.75 คะแนน) ก่อนการไทเทรตกับสารละลาย Na2S2O3 ไอโอดีนที่เกิ ดขึ้นอยู่ในรู ปใด ซึ่ งจะเกิดขึ้นได้
เมื่อใด
5. (1 คะแนน) ให้วาดโครงสร้างของสารสี แดงที่จุดยุติของการไทเทรต

เลขประจำตัวสอบ..........................................

You might also like