You are on page 1of 11

คูมือการปฏิบัติงานกอสรางทางหลวง 

งานโครงสรางชั้นทาง
P- 3.2 งานรองพื้นทาง (Subbase)
P - 3.2.2 งานรองพื้นทางดินซีเมนต (Soil Cement Subbase)

บทนํา
งานรองพื้นทางดินซีเมนต หมายถึง การกอสรางชั้นรองพื้นทางบนชั้นวัสดุคัดเลือกหรือชั้นอื่นใดที่ไดเตรียมไวแลวดวยดิน
ผสมกับปูนซีเมนตและน้ําที่มีคุณภาพตามขอกําหนด โดยการเกลี่ยแตง และบดทับใหไดแนว ระดับ และรูปราง ตามที่
แสดงไวในแบบ

คูมือและขอกําหนดการปฏิบัติงาน
1. คูมือการควบคุมงานกอสรางทางหลวง เลมที่ 1 การบริหารโครงการ
2. คูมือการควบคุมงานกอสรางทางหลวง เลมที่ 2 การควบคุมงานกอสรางทาง
3. คูมือการควบคุมงานกอสรางทางหลวง เลมที่ 4 การควบคุมคุณภาพวัสดุ
4. รายละเอียดและขอกําหนดการกอสรางทางหลวง เลมที่ 1
5. คูมือเครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานกอสราง บูรณะและบํารุงรักษาทางหลวง ฉบับปพ.ศ. 2545

ขอมูลที่ตองใชในการปฏิบัติงาน
1. ผลสํารวจและศึกษาทางดานธรณีวิทยาและอื่นๆ ที่จําเปนกอนเริ่มดําเนินการที่ผูรับจางไดดําเนินการ
2. แบบกอสราง
3. ขอกําหนดวัสดุ

งานรองพื้นทาง (Subbase) Page 1


คูมือการปฏิบัติงานกอสรางทางหลวง 

มาตรฐานกรมทางหลวงที่เกี่ยวของ
มาตรฐานงานทาง ทล.-ม. 204/2533 มาตรฐานพื้นทางดินซีเมนต

มาตรฐานวิธีการทดลอง ทล.-ท. 102/2515 วิธีการทดลองหาคา Liquid Limit (LL.) ของดิน


ทล.-ท. 103/2515 วิธีการทดลองหาคา Plastic Limit (PL) และ Plasticity Index (PI) ของดิน
ทล.-ท. 105/2515 วิธีการทดลองหาคา Unconfined Compressive Strength ของดิน
ทล.-ท. 108/2517 วิธีการทดลอง Compaction Test แบบสูงกวามาตรฐาน
ทล.-ท. 205/2517 วิธีการทดลองหาขนาดเม็ดวัสดุ โดยผานตะแกรงแบบลาง
ทล.-ท. 207/2517 วิธีการทดลองหาคาความถวงจําเพาะของวัสดุชนิดเม็ดหยาบ
ทล.-ท. 209/2518 วิธีการทดลองหาคาความถวงจําเพาะและการดูดซึมน้ําของวัสดุ Aggregate ชนิดเม็ด
ละเอียด
ทล.-ท. 603/2517 วิธีการทดลองหาคาความแนนของวัสดุในสนามโดยใชทราย
ขอกําหนดวัสดุ -

แบบฟอร ม ที่ ใช ใ นการ -


ปฏิบัติงาน

งานรองพื้นทาง (Subbase) Page 2


คูมือการปฏิบัติงานกอสรางทางหลวง 

ขอปฏิบัติสําหรับการทํางาน

1. กอนการกอสราง
หัวขอ ขอปฏิบัติ
1.1 การคัดเลือกวัสดุ - ดินที่ใชผสมกับปูนซีเมนต ตองเปนวัสดุที่ปราศจากหนาดิน วัชพืช หรืออินทรียวัตถุอื่นๆ
และไมมีสารอื่นที่อาจเปนอันตรายตอคุณภาพของดินซีเมนตเจอปนอยู ในกรณีที่ไมไดระบุ
คุ ณ สมบั ติ ไ ว เ ป น อย า งอื่ น ดิ น ที่ ใ ช ทํ า ดิ น ซี เ มนต จะต อ งเป น ไปตามมาตรฐานที่ ทล.-ม.
206/2532 โดยมีคุณสมบัติดังตอไปนี้
• มีขนาดเม็ดโตสุดไมเกิน 50 มิลลิเมตร และผานตะแกรงเบอร 200 (ขนาด 0.075
มิลลิเมตร)ไมเกินรอยละ 40 เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 205/2517 “วิธีการทดลอง
หาขนาดเม็ดวัสดุโดยผานตะแกรงแบบลาง”
• มีคา Liquid Limit (LL) ไมเกินรอยละ 20 เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 102/2515
• มีคา Plasticity Index (PI) ไมเกินรอยละ 20 เมื่อทดลองตาม ทล.-ท. 103/2515
- ปูนซีเมนตที่ใชตองมีคุณภาพตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ปูนซีเมนตปอรตแลนด
มาตรฐานเลขที่ มอก. 15 หรือปูนซีเมนตผสม มาตรฐานเลขที่ มอก. 80 ปูนซีเมนตที่ใชอาจ
บรรจุอยูในไซโล หรือแบบบรรจุถุงก็ได ถาเปนแบบบรรจุถุง ผูรับจางจะตองจัดทําโรงเก็บ
ปูนซีเมนตที่เหมาะสมเพื่อปองกันไมใหปูนซีเมนตชื้น
• หามนําปูนซีเมนตที่จับตัวเปนกอนอยูมาใชงาน
• ปูนซีเมนตที่ใชตลอดงานตามสัญญาตองเปนตราและประเภทเดียวกัน เวน
แตจะไดรับความเห็นชอบจากนายชางผูควบคุมงานเปนอยางอื่น

- น้ําที่จะนํามาใชผสมหรือบมชื้นรองพื้นทางดินซีเมนต จะตองสะอาดปราศจากสารตางๆ เชน


เกลือ น้ํามัน กรด ดาง และอินทรียวัตถุ หรือสารอื่นใด ที่จะเปนอันตรายตอชั้นรองพื้น
ทางดินซีเมนต ทั้งนี้จะตองไดรับความเห็นชอบจากนายชางผูควบคุมงานกอนนํามาใชงาน

- หามใชน้ําทะเลในการผสมหรือบมชื้นรองพื้นทางดินซีเมนต
1.2 การตรวจสอบ กอนเริ่มงาน ผูรับ จางจะตองเตรีย มเครื่องจักรและเครื่ องมือ ตางๆที่จําเปนจะตองใช ในการ
เครื่องจักรและเครื่องมือ ดําเนินงานทางดานวัสดุและการกอสรางไวใหพรอมที่หนางาน ทั้งนี้ตองเปนแบบ ขนาดและอยู
ในสภาพที่ใชไดอยางมีประสิทธิภาพตามที่นายชางผูควบคุมงานเห็นสมควร

1.2.1 โรงผสมแบบติดตั้งกับที่ (Stationary Plant)


- วัส ดุ ต า งๆ ของสว นผสมดิน ซี เ มนต ให จั ดอั ต ราส วนเป น น้ํ าหนั ก ทั้ ง หมด โดยวั ส ดุ ดิ น
ปูนซีเมนตและน้ํา จะผสมรวมกันในโรงผสม การชั่งวัสดุตางๆ ที่ใชในการผสมดินซีเมนต
จะตองดําเนินการตามที่นายชางผูควบคุมเห็นสมควร
งานรองพื้นทาง (Subbase) Page 3
คูมือการปฏิบัติงานกอสรางทางหลวง 

1. กอนการกอสราง
หัวขอ ขอปฏิบัติ

- ปริมาณของวัสดุที่ใสเขาไปในเครื่องผสมจะตองไมมากเกินไป จนทําใหดินซีเมนตผสมไม
เขากันและถาหากพบวาดินซีเมนตผสมไมเขากัน ผูรับจางจะตองลดอัตราการใสวัสดุเขาไป
ในเครื่องผสมตามสัดสวนวัสดุแตละอยาง

- ผูรับจางอาจเลือกใชโรงผสมแบบชุด (Batch Mixer) หรือโรงผสมแบบผสมตอเนื่อ ง


(Continuous Mixer) ก็ได โดยเครื่องจักรที่จะใชงานจะตองไดรับความเห็นชอบจากนายชาง
ผูควบคุมงานกอน โรงผสมแบบชุดหรือผสมแบบตอเนื่องจะตองมีเครื่องปอนวัสดุ และ
มาตรวัดปริมาณวัสดุที่ผานเขาไปในเครื่องผสมตามปริมาณที่ไดกําหนดไวจากการออกแบบ

ก. โรงผสมดินซีเมนตแบบชุด
- โรงผสมแบบชุดจะประกอบดวย เครื่องผสมที่มีตัวผสมเหมาะสม ทําหนาที่คลุกเคลาดิน
ซี เ มนต ใ ห เ ข า กั น ได ดี จะต อ งมี เ ครื่ อ งจั บ เวลาของการผสมติ ด ตั้ ง อยู ใ นตํ า แหน ง ที่ ผู
ควบคุ ม สามารถจะมองเห็ น ไดอ ย า งชั ด เจน เครื่ อ งจั บ เวลาจะต อ งสามารถอ า นเวลา
ละเอียดถึง 2 วินาที นอกจากนี้โรงผสมจะตองติดตั้งเครื่องนับจํานวนชุดที่ผสมแลว
เสร็จติดกับโมดวย

- เวลาของการผสม ใหเริ่มนับเมื่อวัสดุทุกอยางถูกใสลงในหองผสม จนถึงเวลาเมื่อดิน


ซีเมนตถูกปลอยออกจากหองผสม การผสมจะตองดําเนินตอเนื่องกันไปจนกระทั่งดิน
ซีเมนตมีลักษณะคลุกเคลาเขากันอยางดี โดยสังเกตจากสีและลักษณะของผสมที่ควรจะ
กลมกลืนกันดี โดยปกติเวลาของการผสมไมควรจะนอยกวา 30 วินาที

- เครื่องชั่งที่ใชชั่งปูนซีเมนตในแตละชุดจะตองอานไดละเอียดกวาเครื่องชั่งที่ใชชั่งดิน

ข. โรงผสมดินซีเมนตแบบผสมตอเนื่อง
- โรงผสมแบบนี้จะตองจัดสัดสวนของดินและปูนซีเมนต โดยสงจากยุงผานสายพานหรือ
เครื่องปอนอื่นใดผานเขาไปยังโรงผสมอยางตอเนื่อง ปริมาณของดิน ปูนซีเมนต และ
น้ําจะถูกควบคุมโดยเครื่องควบคุมอัตโนมัติ ระบบการปอนดินเขาสูโรงผสมอาจจะเปน
ระบบทางกลหรื อ ทางไฟฟ า ก็ ไ ด แต ค วรจะเป น ระบบเดี ย วกั น กั บ ระบบการป อ น
ปูนซีเมนต

- ในการผสมดินซีเมนตแบบผสมตอเนื่อง ผูรับจางจะตองเตรียมเครื่องชั่งหามวลของดิน

งานรองพื้นทาง (Subbase) Page 4


คูมือการปฏิบัติงานกอสรางทางหลวง 

1. กอนการกอสราง
หัวขอ ขอปฏิบัติ
ปูนซีเมนต และน้ํา เพื่อตรวจสอบสวนผสมใหถูกตอง

1.2.2 โรงผสมแบบเคลื่อนที่ (Traveling Plant)


- โรงผสมแบบเคลื่อนที่ตองสามารถผสมดินกับปูนซีเมนตและน้ํา ใหมีลักษณะคลุกเคลาเขา
กันไดอยางสม่ําเสมอ ระหวางเคลื่อนที่ไปในหนางานสนาม ตองมีเครื่องปอนตักวัสดุเขา
หองผสมโดยอัตโนมัติไดอยางตอเนื่อง ปลอยวัสดุผสมออกจากโรงผสม มีทอพักน้ําหรือพน
สารชนิดเหลวอื่นใดเขาผสมกับดินและปูนซีเมนตในหองผสมไดในปริมาณที่ตองการ

- ดิ น ที่ จ ะถู ก ตั ก ป อ นเข า โรงผสมแบบเคลื่ อ นที่ จะต อ งได รั บ การคลุ ก เคล า ให มี ลั ก ษณะ
สม่ําเสมอกอนแลวกองเรียง (Windrow) ตลอดชวงที่ทําการผสมในแตละครั้ง ปูนซีเมนตที่ใช
ผสมกับดินจะตองคํานวณปริมาณใหพอเหมาะกับปริมาณของดิน แลวใชเครื่องโรยหรือกอง
เรียงกระจายไปบนชั้นของกองดินอยางสม่ําเสมอตลอดชวง

- โรงผสมแบบเคลื่อนที่ตองสามารถตักปอนวัสดุดินและปูนซีเมนตเขาผสมในหองผสมได
หมดทั้งกองเรียงในแนวที่เคลื่อนที่ผานไป สวนผสมดิน ปูนซีเมนต และน้ําที่ผสมเขากันดี
แลว จะปลอยออกรอการตีแผ เกลี่ยแตง บดทับ ในขั้นตอไป ทั้งนี้ อัตราความเร็วของการผสม
และการเคลื่อนที่ของโรงผสม ใหอยูในดุลยพินิจของนายชางผูควบคุมงาน

1.2.3 การผสมที่หนางาน (Mix – in – Place)


- เครื่องจักรที่ใชสําหรับผสมดินกับปูนซีเมนตที่หนางาน ตองเปนแบบที่มีใบมีดสําหรับผสม
ดินซีเมนตติดตั้งอยู และอาจมีทอพนสารชนิดเหลวอื่นใดเพื่อปรับปรุงคุณภาพดินตอเขากับที่
ผสมติดตั้งอยูหรือไมมีก็ได และตองเปนเครื่องจักรแบบที่ไดรับความเห็นชอบจากนายชางผู
ควบคุมงานแลววา สามารถผสมคลุกเคลาดินกับปูนซีเมนตใหเขากันอยางสม่ําเสมอได

- ดินที่จะผสมกับปูนซีเมนตตองไดรับการคลุกเคลาใหมีลักษณะสม่ําเสมอกันกอน แลวตีแผ
กระจายไปบนถนนตลอดชวงที่ทําการผสมในแตละครั้ง ปูนซีเมนตที่ใชผสมกับดินจะตอง
คํานวณปริมาณใหพอเหมาะกับปริมาณดิน แลวเกลี่ยกระจายอยางสม่ําเสมอไปบนผิวหนา
ของชั้นดินที่ไดเตรียมไวแลว จํานวนเที่ยวของการผสมขึ้นอยูกับชนิดและประสิทธิภาพของ
เครื่องจักรที่ใชผสม เชน เครื่องจักรที่มีใบมีดแบบหลายแกนหมุน (Multi – Rotor – Type)
ติด ตั้ ง อยู ส ามารถผสมดิ น ซี เ มนต ใ ห เ ข า กั น อย า งสม่ํ า เสมอเพี ย งการผสม 1-2 เที่ ย ว ส ว น
เครื่องจักรที่มีใบมีดแบบแกนหมุนเดี่ยว (Single – Rotor – Type) ติดตั้งอยูจะตองใชจํานวน
เที่ยวของการผสมหลายๆ เที่ยว จึงจะทําใหดินซีเมนตผสมเขากัน จํานวนเที่ยวของการผสม

งานรองพื้นทาง (Subbase) Page 5


คูมือการปฏิบัติงานกอสรางทางหลวง 

1. กอนการกอสราง
หัวขอ ขอปฏิบัติ
ไมวาเครื่องจักรชนิดใดก็ตามใหอยูในดุลยพินิจของนายชางผูควบคุมงาน หากดินที่ไดเตรียม
ไวถูกอัดแนนซึ่งเครื่องจักรที่ใชผสมดินซีเมนตไมสามารถผสมดินใหเขากับปูนซีเมนตและ
น้ําไดดีแลว ใหทําการขุดคุย (Scarify) ดินกอนการผสม อาจใชรถเกลี่ยชวยในการเกลี่ยผสม
ไดบาง แตหามใชรถเกลี่ยเปนเครื่องจักรผสมดินซีเมนตโดยตรง และหามทําการผสมดิน
ซีเมนตที่หนางาน หากไมมีเครื่องจักรที่ใชผสมดินซีเมนต

1.2.4 เครื่องชั่ง
- เครื่องชั่งที่ใชชั่งหามวลของดิน ปูนซีเมนตและน้ํา จะตองเป นแบบคาน มีความละเอีย ด
ผิดพลาดไมเกินรอยละ 0.5 ของมวลที่ชั่ง หามใชเครื่องชั่งซึ่งเปนแบบที่ใชสปริง กรณีควบคุม
ปริมาณน้ําโดยใชปริมาตร เครื่องมือควบคุมจะตองมีความละเอียดผิดพลาดไมเกินรอยละ 0.5
ของปริมาตรที่ตวง และผูรับจางจะตองจัดหาตุมน้ําหนักมาตรฐานขนาด 25 กิโลกรัม อยาง
นอย 10 ตุม ไวที่หนางานเพื่อใชตรวจสอบความถูกตองของเครื่องชั่ง การคิดน้ําหนัก
ปูนซีเมนตอาจจะใชวิธีชั่งโดยตรง หรือจากการนับจํานวนถุงบรรจุมาตรฐานก็ได โดยทั่วไป
ปูนซีเมนตในถุงมาตรฐานจะหนัก 50 กิโลกรัม ถาใชวิธีชั่งก็จะตองมีเครื่องชั่งและถังสําหรับ
ชั่งปูนซีเมนตตางหาก พรอมทั้งรางและเครื่องมืออื่นๆ เพื่อใชสําหรับปลอยใหปูนซีเมนตออก
จากถังชั่งไปสูหองผสม การดําเนินงานในเรื่องนี้ จะตองใชวิธีการที่เหมาะสมและไดรับความ
เห็นชอบจากนายชางผูควบคุมงาน
1.3 การออกแบบ - อัตราสวนผสมของปูนซีเมนตและน้ําที่ใชผสมกับดินนั้น นายชางผูควบคุมงานจะเปนผู
สวนผสมดินซีเมนต กําหนดใหที่ห นางาน และอาจจะสั่ งเปลี่ ย นแปลงได ขึ้น อยูกั บ การทดลองหาความตา น
แรงอัดของแทงตัวอยางดินซีเมนต ทั้งในหองทดลองและจากการทํารองพื้นทางในสนาม

- ในการออกแบบสวนผสมของดินซีเมนตเพื่อหาปริมาณของปูนซีเมนตที่จะผสมกับดินและ
น้ํา ใหถือเอาคา Unconfined Compressive Strength ของแทงตัวอยางดินซีเมนตที่ไดจากการ
ทดลองตาม ทล.-ท. 105/2517 “วิธีการทดลองหาคา Unconfined Compressive Strength ของ
ดิน” โดยอนุโลม ซึ่งแทงตัวอยางทดสอบจะถูกบดอัดในแบบตาม ทล.-ท. 108/2517 “วิธีการ
ทดลอง Compaction Test แบบสูงกวามาตรฐาน” ภายหลังการบมในถุงพลาสติกเพื่อไมให
ความชื้นเปลี่ยนแปลงนาน 7 วัน แลวนําไปแชน้ํานาน 2 ชั่วโมง จะตองมีคาไมนอยกวา 690
กิโลพาสคัล หรือตามที่กําหนดไวในแบบ

- ปริมาณน้ําที่ใชในการเตรียมแทงตัวอยางดินซีเมนต เพื่อการทดสอบหาความตานแรงอัดตาม
ทล.-ท. 105/2517 “วิธีการทดลองหาคา Unconfined Compressive Strength ของดิน” ใหใช
ปริมาณน้ําที่ Optimum Moisture Content ซึ่งหาไดจากการทดลองบดอัดดินตาม ทล.-ท.

งานรองพื้นทาง (Subbase) Page 6


คูมือการปฏิบัติงานกอสรางทางหลวง 

1. กอนการกอสราง
หัวขอ ขอปฏิบัติ
108/2517 “วิธีการทดลอง Compaction Test แบบสูงกวามาตรฐาน” ปริมาณน้ําที่ไดนี้ ใช
เปนแนวทางในการควบคุมการบดทับในสนามขณะทําการกอสรางชั้นรองพื้นทางดินซีเมนต
1.4 การทดลองในแปลง - กอนดําเนินการกอสรางชั้นรองพื้นทางดินซีเมนตผูรับจางจะตองทําการทดลองกอสรางใน
ทดลองแปลงแรก แปลงทดลองแปลงแรก โดยปริมาณปูนซีเมนตที่จะใชเปนสวนผสมดินซีเมนตระหวางการ
ทดลองกอ สรา งแปลงแรก จะหาไดจากการลองผสมดินซีเมนตในหองทดลอง โดยใช
ปูนซีเมนตในอัตราสวนตางๆ ที่ปริมาณน้ําที่ Optimum Moisture Content ตามสวนผสมดิน
ซีเมนตที่ไดออกแบบไว แลวเตรียมแทงตัวอยางทดสอบและบมอยูในถุงพลาสติก โดยไมให
ความชื้นเปลี่ยนแปลงตามวิธีการตางๆ เชนเดียวกับวิธีปฏิบัติในการออกแบบสวนผสมดิน
ซีเมนต และเลือกสวนผสมทดลองที่ใหคาความตานทานแรงอัดในชวงรอยละ 105 ถึงรอยละ
125 (โดยทั่วไปควรเลือกที่ประมาณคาตัวกลาง คือ รอยละ 115 ) ของคาความตานแรงอัดที่
690 กิโลพาสคัล หรือตามที่กําหนดไวในแบบ เปนสวนผสมที่จะใชระหวางการกอสรางใน
แปลงทดลองแปลงแรก ซึ่งควรจะมีความยาวประมาณ 200-500 เมตร

- ปูนซีเมนตที่ใชผสมในระหวางการกอสรางแปลงตอๆไป จะตองคิดเผื่อประสิทธิภาพของ
การผสมดวย เมื่อใชปริมาณปูนซีเมนตตามที่ไดเลือกไวแลวจากแปลงทดลองแปลงแรก
ประสิทธิภาพของการผสมสามารถคํานวณไดจากสูตรดังนี้
ประสิทธิภาพของการผสม = A/B
เมื่อ A = ความตานแรงอัดของดินซีเมนตจากการผสมในสนาม หาไดจากการทดลองแทง
ตัวอยางที่เตรียมจากสวนผสมในสนาม
เมื่อ B = ความตานแรงอัดของดินซีเมนตจากการผสมในหองทดลอง คือ คาความตาน
แรงอัดของดินซีเมนตที่ไดเลือกไวของแปลงทดลองแปลงแรก

- โดยทั่วไป การผสมในสนามจะมีประสิทธิภาพของการผสมนอยกวาการผสมในหองทดลอง
กลาวอีกนัยหนึ่ง แทงตัวอยางดินซีเมนตที่เตรียมจากการผสมในสนามจะใหคาความตาน
แรงอัดนอยกวาแทงตัวอยางดินซีเมนตที่เตรียมจากหองทดลอง เมื่อใชปริมาณปูนซีเมนต
เทากัน ดังนั้นจะเห็นไดวาปริมาณปูนซีเมนตที่ใชในการกอสรางจะตองเพิ่มขึ้น เพื่อใหไดคา
ความต า นแรงอั ด ตามที่ ต อ งการและปริ ม าณปู น ซี เ มนต ที่ ต อ งการเพิ่ ม ขึ้ น นี้ คื อ ปริ ม าณ
ปูนซีเมนต ณ จุดที่ไดทําการปรับคาความตานแรงอัดที่ไดจากการออกแบบสวนผสมดิน
ซีเมนตดวยประสิทธิภาพของการผสม

- เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงไมวาจะเปนแหลงวัสดุ เครื่องจักร เครื่องมือ หรือสิ่งอื่นใดที่มีผลทํา


ใหประสิทธิภาพของการผสมเปลี่ยนไป จะตองทําการตรวจสอบหาประสิทธิภาพของการ
งานรองพื้นทาง (Subbase) Page 7
คูมือการปฏิบัติงานกอสรางทางหลวง 

1. กอนการกอสราง
หัวขอ ขอปฏิบัติ
ผสมใหมทุกครั้ง เพื่อปรับสวนผสมใหถูกตองอยูเสมอ

- การบดทับและปริมาณน้ําที่เปลี่ยนแปลงไประหวางการกอสราง ก็มีผลทําใหตองมีการปรับ
ปริมาณปูนซีเมนตใหสอดคลองกับสภาพความเปนจริงดวย

งานรองพื้นทาง (Subbase) Page 8


คูมือการปฏิบัติงานกอสรางทางหลวง 

2. ระหวางการกอสราง
หัวขอ ขอปฏิบัติ
2.1 การควบคุมงาน - ปริมาณปูนซีเมนตที่ใชสําหรับแปลงกอสรางตอๆไปใหคิดเผื่อประสิทธิภาพของการผสมจาก
กอสราง ปริมาณปูนซีเมนตที่ใชในแปลงทดลองแปลงแรก ปริมาณน้ําที่ใชในการผสมดินซีเมนต
ในสนาม ใหใชที่ Optimum Moisture Content + 2 % โดยประมาณ เพื่อเผื่อไวสําหรับการ
สูญเสียความชื้นในขณะผสมและกอนการบดทับ

- กรณีโรงผสมแบบติดตั้งกับที่ ภายหลังที่ไดผสมดินซีเมนตเขากันดีแลว ใหใชเครื่องจักรที่


เหมาะสมขนดินซีเมนตจากโรงผสมไปปูลงบนพื้นชั้นดินเดิม หรือชั้นทางอื่นใดที่ไดเตรียม
ไวแลว ทําการบดทับใหแนนโดยใชเครื่องมือบดทับที่เหมาะสม ระยะเวลาตั้งแตเริ่มผสม
จนกระทั่งเสร็จการบดทับไมควรเกิน 2 ชั่วโมง

- กรณีโรงผสมแบบเคลื่อนที่ ภายหลังที่สวนผสมดิน ปูนซีเมนต และน้ํา ที่ผสมกันดีแลวถูก


ปลอยออกกองเรียงไปบนถนน ใหใชรถเกลี่ย ตีแผ เกลี่ยแตง แลวทําการบดทับใหแนน
โดยใช เ ครื่อ งมือ บดทับ ที่ เ หมาะสม ระยะเวลาตั้งแตสวนผสมถู กปลอ ยออกกองเรีย งไว
จนกระทั่งเสร็จการบดทับไมควรเกิน 2 ชั่วโมง

- ควรทําการพนน้ําเลี้ยงผิวหนาของรองพื้นทางดินซีเมนตในขณะบดทับ และภายหลังการบด
ทับใหชื้นอยูตลอดเวลา น้ําที่พนลงไปนี้ นอกจากจะชวยใหเกิดปฏิกิริยาระหวางปูนซีเมนต
ดิน และน้ําใหสมบูรณยิ่งขึ้น อันจะมีผลทําใหความตานแรงอัดของดินซีเมนตเพิ่มขึ้นแลว
ยังจะชวยลดรอยแตกผิวอันเนื่องจากการสูญเสียความชื้นหลังจากการบดทับดวย ภายหลังการ
บดทับ ใหทําการแตงระดับชั้นสุดทายทันที และใหทําการพนน้ําเลี้ยงผิวหนาของรองพื้น
ทางดินซีเมนตติดตอกันในชวง 3 วันแรก เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดังกลาวขางตน

- การกอสรางรองพื้นทางดินซีเมนต ใหกอสรางเปนชั้นๆ โดยใหมีความหนาหลังบดทับชั้น


ละไมเกิน 150 มิลลิเมตร ผูรับจางอาจกอสรางชั้นรองพื้นทางดินซีเมนต ใหมีความหนาแต
ละชั้นเกินกวา 150 มิลลิเมตรแตไมเกิน 200 มิลลิเมตร ก็ได ทั้งนี้ตองแสดงรายการเครื่องจักร
และเครื่องมือที่เหมาะสม แสดงวิธีการปฏิบัติงาน และตองกอสรางแปลงทดลองยาวประมาณ
200 – 500 เมตร เพื่อตรวจสอบคุณภาพ หากพบวาระหวางการกอสรางมีปญหาเกี่ยวกับความ
แน น ของรองพื้ น ทางดิ น ซี เ มนต ส ว นบนและส ว นล า งหรื อ ความต า นแรงอั ด ไม ไ ด ต าม
ขอกําหนด นายชางผูควบคุมงานอาจพิจารณาระงับการกอสรางรองพื้นทางดินซีเมนตที่หนา
ชั้นละมากกวา 150 มิลลิเมตร

งานรองพื้นทาง (Subbase) Page 9


คูมือการปฏิบัติงานกอสรางทางหลวง 

3. ภายหลังการกอสราง
หัวขอ ขอปฏิบัติ
3.1 การบมและการเปด ใหผูรับจางบมดินซีเมนตทุกชั้น โดยพนน้ําลงไปบนผิวหนาของดินซีเมนตที่กอสรางแลวให
การจราจร ผิวหนาชุมชื้นตลอดเวลาติดตอกันอยางนอยที่สุด 3 วัน และทิ้งไวไมนอยกวา 7 วัน นับจากวันที่
บดทับเสร็จ จึงจะกอสรางชั้นทางชั้นถัดไปได ในชวงเวลาของการบมหากมีความจําเปนใหเปด
การจราจรได
3.2 การเจาะเก็บตัวอยาง ผูรับจางจะตองจัดเตรียมเครื่องมือเจาะเก็บตัวอยางดินซีเมนตประจําไวที่หนางานเมื่อมีความ
ดินซีเมนต จําเปนตองเจาะเก็บตัวอยางดินซีเมนต
3.3 การตรวจสอบ - การตรวจสอบคาระดับ
ภายหลังการกอสราง งานรองพื้นทางดินซีเมนตที่กอสรางเสร็จเรียบรอยแลว จะตองมีรูปรางเรียบตามแบบ โดยเมื่อ
ทําการตรวจสอบดวยบรรทัด ยาว 3.00 เมตร ทั้ง ตามแนวขนานและตั้งฉากกับแนวศูนยกลางทาง
มีความแตกตางไมเกิน 10 มิลลิเมตร และมีคาระดับแตกตางไปจากคาระดับที่แสดงไวในแบบ
ไดไมเกิน 15 มิลลิเมตร การตรวจสอบคาระดับใหทําทุกระยะ 25 เมตร หรือนอยกวาตามที่นาย
ชางผูควบคุมงานเห็นสมควร ตอนใดที่ผิดจากนี้ใหแกไข โดยการปาดออก หรือรื้อแลวกอสราง
ใหม
- การทดสอบความหนาแนนการบดทับ (Field Density Test)
• งานรองพื้นทางดินซีเมนตตองบดทับใหไดความหนาแนนแหงสม่ําเสมอตลอด ไ ม ต่ํ า
กวารอยละ 95 ของความหนาแนนสูงสุดที่ไดจากการทดลองตัวอยางดินซีเมนตที่เก็บ
จากแหลงผลิต ตาม ทล.-ท. 108/2517 “วิธีการทดลอง Compaction Test แบบสูงกวา
มาตรฐาน”
• การทดสอบความหนาแนนของการบดทับใหดําเนินการทดสอบตาม ทล.-ท. 603/2517
“วิธีการทดลองหาคาความหนาแนนของวัสดุในสนามโดยใชทราย” ทุกระยะประมาณ
100 เมตร ตอ 1 ชองจราจรหรือประมาณพื้นที่ 500 ตารางเมตรตอ 1 หลุมตัวอยาง
- การทดสอบความตานแรงอัด
• ใหเตรียมตัวอยางทดสอบโดยการเก็บตัวอยาง 3 แทง (1 ชุด) ในชวงงานกอสรางแตละ
ชวง ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ของดินซีเมนตหนาไมเกิน 150 มิลลิเมตร พื้นที่ไมเกิน 1,500
ตารางเมตร
• ภายหลังการบดอัดใหดันตัวอยางดินซีเมนตออกจากแบบ และบมไวในถุงพลาสติกเพื่อ
ปองกันไมใหสูญเสียความชื้นเปนระยะเวลานาน 7 วัน เมื่อครบ 7 วัน ใหนําตัวอยาง
ทดสอบแตละชุดออกจากถุงพลาสติก แชน้ํานาน 2 ชั่วโมง จึงนําตัวอยางไปทดสอบ
ความตานทานแรงอัด ตาม ทล.-ท. 105/2517
• คาความตานแรงอัดเฉลี่ยของดินซีเมนตในชวงงานกอสรางแตละชวง จะตองไมนอย

งานรองพื้นทาง (Subbase) Page 10


คูมือการปฏิบัติงานกอสรางทางหลวง 

3. ภายหลังการกอสราง
หัวขอ ขอปฏิบัติ
กว า ที่ กํ า หนดไว ทั้ ง นี้ อ นุ ญ าตให มี แ ท ง ดิ น ซี เ มนต ที่ มี ค า ความต า นแรงอั ด ต่ํ า กว า ที่
กําหนดไวไดไมเกิน 1 แทง แตตองไมนอยกวารอยละ 85 ของคาที่กําหนด
- กรณีทีคาความหนาแนนการบดทับ หรือคาความตานแรงอัดต่ํากวาที่กําหนด
• ผู รั บ จ า งอาจขอให เ จาะเก็ บ ตั ว อย า งดิ น ซี เ มนต ช ว งที่ เ ป น ป ญ หา เพื่ อ นํ า ตั ว อย า งมา
ทดสอบความตานแรงอัดใหม โดยดําเนินการในลักษณะเดียวกับที่กําหนด
• ผลการทดสอบคา ความต านแรงอั ด โดยเฉลี่ย ของตัวอยา งทดสอบที่เจาะจากสนาม
จํานวน 3 แทง ที่อายุไมเกิน 28 วันจะตองไมนอยกวารอยละ 85 ของคาความตาน
แรงอัดที่กําหนด จึงจะถือวาดินซีเมนตชวงนั้นใชได
• ถาผลการทดสอบไมไดตามกําหนด ถือวาใชไมได ผูรับจางตองรื้อเอาดินซีเมนตในชวง
นั้นออกทิ้งไป และใหกอสรางขึ้นใหมใหไดตามขอกําหนด
• คาใชจายทั้งหมดในกรณีนี้เปนภาระของผูรับจางทั้งหมด

3.4 การวัดปริมาณงาน การวัดปริมาณงานรองพื้นทางดินซีเมนต ใหทําการวัดเมื่อไดทําการตรวจสอบคาระดับและ


และจายคางาน ทดสอบความแนนของการบดทับและทดสอบความตานแรงอัดถูกตองตามที่กําหนดแลว โดยวัด
เปนปริมาตรบดอัดแนนตามที่ไดกอสรางจริงตามแบบ ปริมาณงานมีหนวยเปนลูกบาศกเมตร

งานรองพื้นทาง (Subbase) Page 11

You might also like