You are on page 1of 28

จำนวนเต็ม

1.1 จำนวนเต็ม (Integer) คือ จำนวนที่ไม่มเี ศษส่วนและทศนิยมรวมอยูใ่ นจำนวนนัน


้ ซึง่ แบ่งออกเป็ น

− จำนวนเต็มบวก (Positive integer) หรือ จำนวนธรรมชำติ (Natural number) หรือ จำนวนนับ (Counting
number) คือ จำนวนเต็มที่มีค่ำมำกกว่ำ 0 ซึ่งจะอยู่ทำงด้ำนขวำของ 0 บนเส้นจำนวน ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 5, …

− จำนวนเต็มลบ (Negative integer) คือ จำนวนเต็มที่มีคำ่ น้อยกว่ำ 0 ซึง่ จะอยู่ทำงด้ำนซ้ำยของ 0 บนจำนวน ได้แก่
- 1, - 2, - 3, - 4, - 5, …

− จำนวนเต็มศูนย์ (Zero) ได้แก่ 0

จำนวนเต็มศูนย์ (Zero)
จำนวนเต็มลบ (Negative integer) จำนวนเต็มบวก (Positive integer)

-7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 7

1.2 กำรบวก (Addition) จำนวนเต็ม

− เมื่อตัวเลขสองจำนวนที่มี เครื่องหมำยเหมือนกัน บวกกัน ค่ำจะเสริมกัน และมีเครื่องหมำยตำมเดิม


เช่น
4+5 =9 5+4 =9
(- 4) + (- 5) = - 9 (-5) + (- 4) = - 9

− เมื่อตัวเลขสองจำนวนที่มี เครื่องหมำยต่ำงกัน บวกกัน ค่ำจะลดทอนกันและกัน และมีเครื่องหมำยตำมตัวที่มำกกว่ำ


เช่น
4 + (- 5) = - 1 5 + (- 4) = 1
(- 4) + 5 = 1 (- 5) + 4 =-1

1
1.3 กำรลบ (Subtraction) จำนวนเต็ม

− กำรลบกันของจำนวนนัน้ จริงๆแล้วคือกำรบวกด้วยจำนวนลบ ดังนัน้ ให้เขียนเป็ นกำรบวกของจำนวนลบแล้วใช้


หลักกำรบวก หรือถ้ำเจอเครื่องหมำยซ้อนกันให้ใช้หลักกำรเจอกันของเครื่องหมำย เช่น

5-4 = 5 + (- 4) =1 4-5 = 4 + (- 5) = -1
-5-4 = (- 5) + (- 4) = -9 -4-5 = (- 4) + (- 5) = -9
5 - (- 4) = 5+4 =9 4 - (- 5) = 4+5 =9
- 5 - (- 4) = (- 5) + 4 = -1 - 4 - (- 5) = (- 4) + 5 =1

การเจอกันของเครื่องหมาย
• เครื่องหมำยเหมือนกัน (+,+ / -,-) เจอกันเป็ น +
• เครื่องหมำยต่ำงกัน (+,- / -,+) เจอกันเป็ น –
+ (+ a) = + a - (- a) = + a
- (+ a) = - a + (- a) = - a

1.4 กำรคูณ (Multiplication) และกำรหำร (Division) จำนวนเต็ม

− สำหรับกำรคูณและกำรหำรให้มองแยกระหว่ำงตัวเลขกับเครื่องหมำย ทำกำรคูณหรือหำรตัวเลขได้ตำมปกติ ส่วน


เครื่องหมำยให้ตอบตำมหลักกำรคูณและหำรกันของเครื่องหมำย

การคูณและหารกันของเครื่องหมาย
• เครื่องหมำยเหมือนกัน (+,+ / -,-) คูณ/หำรกันเป็ น +
• เครื่องหมำยต่ำงกัน (+,- / -,+) คูณ/หำรกันเป็ น –
(+ a) x (+ b) = + ab (- a) x (- b) = + ab
(+ a) x (- b) = - ab (- a) x (+ b) = - ab
a a
(+ a) ÷ (+ b) = + b (- a) ÷ (- b) = + b
a a
(+ a) ÷ (- b) = - b (- a) ÷ (+ b) = - b

2
แบบฝึ กหัดที่ 1 จงหำผลลัพท์จำกกำรบวก

1. 23 + 56 = 11. 73 + (- 16) + 23 =

2. 458 + 12 = 12. (- 55) + (- 12) + (- 11) =

3. (- 13) + (- 4) = 13. (- 142) + (- 18) + 15 =

4. (- 2) + (- 16) = 14. 28 + (- 19) + (- 4) =

5. 12 + (- 11) = 15. (- 29) + 10 + 18 =

6. 54 + (- 32) = 16. (- 256) + (- 128) + 45 =

7. (- 7) + 31 = 17. (- 888) + (- 99) + 64 =

8. (- 19) + 212 = 18. 53 + (- 72) + 7 =

9. 458 + 11 = 19. 8 + (- 546) + (- 8) =

10. (- 43) + (- 78) = 20. (- 23) + (- 47) + 11 =

แบบฝึ กหัดที่ 2 จงหำผลลัพท์จำกกำรลบ

1. 73 - 56 = 11. 43 - (- 12) - 5 =

2. 458 - 12 = 12. (- 75) - (- 32) - (- 1) =

3. (- 43) - (- 14) = 13. (- 12) - (- 118) - 18 =

4. (- 22) - (-16) = 14. 48 - (- 15) - 6 =

5. 82 - (- 11) = 15. (- 39) - 15 - (- 14) =

6. 54 - (- 31) = 16. (- 556) - (- 120) - 13 =

7. (- 4) - 71 = 17. (- 8) - (- 199) - 46 =

8. (- 29) - 312 = 18. 73 - (- 82) - 14 =

9. 38 - 11 = 19. 452 - (- 46) - 31 =

10. (- 13) - (- 28) = 20. (- 63) - (- 67) - (- 9) =

3
แบบฝึ กหัดที่ 3 จงหำผลลัพท์จำกกำรคูณและกำรหำร

1. 2 x 5 = 16. 42 x (- 5) x (- 4) =

2. 4 x 18 = 17. (- 7) x (- 32) x (- 1) =

3. (- 3) x (- 14) = 18. (- 2) x (- 118) x (- 1) =

4. (- 22) x (- 6) = 19. 8 x (- 15) x 3 =

5. 2 x (- 11) = 20. (- 39) x 5 x (- 2) =

6. 4 x (- 31) = 21. (- 556) x (- 20) x 2 =

7. (- 4) x 71 = 22. (- 80) x (- 19) x (- 3) =

8. (- 24) ÷ 3 = 23. 73 x (- 8) x 2 =

9. 22 ÷ 11 = 24. 42 ÷ (- 3) ÷ (- 2) =

10. (- 16) ÷ (- 8) = 25. (- 88) ÷ (- 4) ÷ (- 2) =

11. 48 ÷ (- 6) = 26. 256 ÷ 8 ÷ (- 2) =

12. (- 98) ÷ (- 14) = 27. 195 ÷ (- 13) ÷ 5 =

13. 42 ÷ (- 7) = 28. (- 525) ÷ (- 5) ÷ (- 7) =

14. 65 ÷ 13 = 29. 99 ÷ (- 3) ÷ (- 11) =

15. 27 ÷ (- 9) = 30. 120 ÷ 5 ÷ 6 =

4
1.5 สมบัติ (Properties) ของกำรบวกและกำรคูณจำนวนเต็ม

− สมบัติกำรสลับที่ (Commutative property) หมำยถึง เมื่อสลับตำแหน่งระหว่ำงจำนวนที่อยู่หน้ำและหลัง


เครื่องหมำยแล้วผลลัพท์จะยังคงมีค่ำเท่ำเดิม

− สมบัติกำรเปลี่ยนกลุ่ม (Associative property) หมำยถึง เมื่อมีจำนวนหลำยๆจำนวน สำมำรถเลือกกลุ่มไหนก่อนก็


ได้และผลลัพท์จะยังคงมีคำ่ เท่ำเดิม

− สมบัติกำรแจกแจง (Distributive property) หมำยถึง กำรคูณกระจำยเข้ำไปในวงเล็บให้ครบทุกตัว

− เอกลักษณ์ (Identity) หมำยถึง จำนวนที่เมื่อกระทำตำมเครื่องหมำยนัน้ ๆกับอีกจำนวนอื่นจำนวนหนึ่ง ผลลัพท์จะได้


เป็ น จำนวนอื่นนัน้

− อินเวอร์ส (Inverse) หมำยถึงจำนวนสองจำนวนที่เมื่อนำทัง้ สองมำกระทำตำมเครื่องหมำย ได้ผลลัพท์เป็ นจำนวนที่


เป็ นเอกลักษณ์ของเครื่องหมำยนัน้ จำนวนสองจำนวนนัน้ จะถูกเรียกว่ำเป็ น อินเวอร์สของกันและกัน

สมบัติ กำรบวก กำรคูณ


กำรสลับที่ a+b=b+a axb=bxa

กำรเปลี่ยนกลุ่ม a + (b + c) = (a + b) + c a x (b x c) = (a x b) x c

เอกลักษณ์ เอกลักษณ์กำรบวกคือ 0 เอกลักษณ์กำรคูณคือ 1


0+a=a 1xa=a
อินเวอร์ส a และ - a เป็ นอินเวอร์สของกันละกัน a และ
1
𝑎
เป็ นอินเวอร์สกำรคูณของกันและกัน
a + (- a) = 0 1
ax𝑎=1

กำรแจกแจง a (b + c) = ab + ac

!
เครื่องหมำยอยู่หน้ำเลขตัวไหนเป็ นของตัวนัน้
ตัวเลขไปไหนเครื่องหมำยไปด้วย

+5-3=-3+5

5
แบบฝึ กหัดที่ 4 จงเติมตัวเลขลงในช่องว่ำง โดยกำรใช้สมบัติกำรสลับที่

1. 23 + 56 = 56 + ___ 11. 73 - 16 = - 16 + ___

2. 458 + 12 = 12 + ___ 12. - 55 + 12 = 12 + ___

3. (- 13) + (- 4) = (- 4) + ___ 13. - 142 - 18 = - 18 + ___

4. (- 2) + (- 16) = (- 16) + ___ 14. 28 - 19 = -19 + ___

5. 12 + (- 11) = (- 11) + ___ 15. - 29 + 10 = 10 + ___

6. 54 x - 32 = - 32 x ___ 16. - 256 - 128 = - 128 + ___

7. - 7 x 31 = 31 x ___ 17. - 888 + 99 = 99 + ___

8. - 19 x 212 = 212 x ___ 18. 53 - 72 = - 72 + ___

9. - 458 x - 11 = 11 x ___ 19. 8 + 546 = 546 + ___

10. - 43 x - 78) = - 78 x ___ 20. - 23 - 47 = - 47 + ___

แบบฝึ กหัดที่ 5 จงเติมตัวเลขลงในช่องว่ำง โดยกำรใช้สมบัติกำรเปลี่ยนกลุ่ม

1. (23 + 56) + 21 = ___ + (56 + ___) 6. (54 x - 32) x - 4 = 54 x (___ x ___)

2. (- 4 + 458) + 12 = ___ + (___ + 12) 7. - 7 x (31 x 65) = ___ x (___x 65)

3. - 13 (- 4 + 5) = (- 13 + ___) + ___ 8. (- 19 x 212) x 61 = ___ x (212 x___)

4. (- 2 + 16) - 7 = ___ + (16 +___) 9. (- 458 x - 11) x 3 = ___ x (___x 3)

5. 12 + (- 11 + 89) = (12 + ___) + ___ 10. - 43 x (- 78 x 67) = - 43 x (___x___)

6
แบบฝึ กหัดที่ 6 จงเติมตัวเลขลงในช่องว่ำง โดยกำรใช้สมบัติกำรแจกแจง

1. 5(6 + 4) = ___+___ = ___ 16. (- 25 - 73) (- 6) = ___+___ = ___

2. 7(- 1 + 5) = ___+___ = ___ 17. 4 (15 + 12 + 8) = ___+___ + ___ = ___

3. (15 + 4)3 = ___+___ = ___ 18. (- 3) (5 + 7 + 18) = ___+___ + ___ = ___

4. (- 21 + 7)4 = ___+___ = ___ 19. 5 (- 45 + 12 + 13) = ___+___ + ___ = ___

5. - 4 (5 + 3) = ___+___ = ___ 20. (- 11) (23 - 64 + 31) = ___+___ + ___ = ___

6. - 7 (- 7 + 2) = ___+___ = ___ 21. 7 (- 48 - 15 + 36) = ___+___ + ___ = ___

7. (6 + 7) (-2) = ___+___ = ___ 22. (- 6) (- 16 - 15 + 11) = ___+___ + ___ = ___

8. (- 18 +3) (- 2) = ___+___ = ___ 23. 3 (- 28 - 64 - 13) = ___+___ + ___ = ___

9. 8 (5 - 16) = ___+___ = ___ 24. (- 2) (- 4 - 18 - 33) = ___+___ + ___ = ___

10. 11 (- 54 - 27) = ___+___ = ___ 25. a (b + c) = ___+___

11. (98 - 44)7 = ___+___ = ___ 26. (a + b) (c) = ___+___

12. (- 41 - 68)9 = ___+___ = ___ 27. (- a) (b - c) = ___+___

13. - 4 (48 - 74) = ___+___ = ___ 28. (- a + b) (-c) = ___+___

14. - 8 (- 156 - 126) = ___+___ = ___ 29. a (- b - c) = ___+___

15. (78 - 52) (- 3) = ___+___ = ___ 30. (- a - b) (- c) = ___+__

แบบฝึ กหัดที่ 7 จงหำผลลัพท์

(−4)(45−31+8) 6. - 2 [((- 40) + 15) + ((- 27) + 11)] =


1. 57−23
= ___

−54−33+120 7. - 720 ÷ - 2 ÷ - 3 ÷ - 4 ÷ -5 =
2. = ___
(42−3⋅39)
8. (a + b) (c - d) =
(2⋅4⋅5+6)
3. 10
= ___
9. (bc + a) ÷ (- a - bc) =
1000+100+10
4. = ___ 𝑎+(𝑏−𝑐𝑑)
10 10. =
(−𝑎−𝑏)−(−2𝑐𝑑+𝑏+𝑎)
(−84+32)(−125⋅3)
5. 7800
= ___

7
แบบทดสอบท้ายบท: จำนวนเต็ม
1. จำนวนเต็มที่อยู่ระหว่ำง 3 และ 4 มีกี่จำนวน

2. จงหำผลบวกของจำนวนเต็มที่อยูร่ ะหว่ำง - 4 ถึง 7

3. จงหำผลคูณของจำนวนเต็มที่อยูร่ ะหว่ำง - 14 ถึง 5

4. จงหำจำนวนที่แทนในตัวแปรแล้วทำให้ประโยคเป็ นจริง

4.1. (5 x 14) + (5 x 33) = 5 x A

4.2. (35 x A) - (17 x 2) = 18 x 2

4.3. (- 48 x 15) + (A x 15) = 18 x 15

4.4. A x 8 = (100 x 8) + (75 x 8) - (25 x 8)

8
5. 101 + 102 + 103 + … + 200 มีค่ำเท่ำใด

6. จงหำผลบวกของจำนวนที่เป็ นเลขคู่ท่อี ยู่ระหว่ำง 22 ถึง 315

7. 1 - 2 + 3 - 4 + 5 - 6 + … + 59 - 60 + 61 มีคำ่ เท่ำใด

8. มีจำนวนนับกี่จำนวนที่อยู่ระหว่ำง 100 ถึง 1000 และ หำรด้วย 7 ลงตัว

9. จงหำผลบวกของจำนวนนับที่มีคำ่ ไม่เกิน 362 ที่เป็ นพหุคณ


ู ของ 6

10. จำนวนนับตัง้ แต่ 1000 ถึง 10000 มีกี่จำนวนที่หำรด้วย 8 แล้วเหลือเศษ 3

9
การสร้างทางเรขาคณิต
2.1 รูปเรขำคณิตพืน้ ฐำน

− จุด (Point)
▪ ใช้เพื่อแสดงตำแหน่ง โดยไม่คำนึงถึงขนำดและรูปร่ำงของจุด
▪ เขียนตัวอักษรกำกับไว้เมื่อต้องกำรระบุช่ือจุด
● A แทนจุด A ● B แทนจุด B

− เส้นตรง (Line, Straight line)


▪ ปลำยเส้นตรงจะมีหวั ลูกศรทัง้ สองข้ำง หมำยถึงควำมยำวของเส้นตรงสำมำรถต่อออกไปได้ไม่จำกัด
▪ เส้นตรง AB หรืออำจเรียกว่ำ เส้นตรง BA เขียนแทนด้วย 𝐴𝐵
⃡ , 𝐵𝐴

A B
▪ มีเส้นตรงเพียวเส้นเดียวเท่ำนัน้ ที่ลำกผ่ำนจุดสองจุดที่กำหนด

A B
▪ ถ้ำเส้นตรงสองเส้นตัดกันจะเกินจุดตัดเพียวจุดเดียวเท่ำนัน้

Y
A
B
X
− ส่วนของเส้นตรง (Line segment)
▪ ส่วนหนึ่งของเส้นตรงที่มจี ดุ ปลำยสองจุด
▪ ส่วนของเส้นตรง AB หรืออำจเรียกว่ำ ส่วนของเส้นตรง BA เขียนแทนด้วย AB, BA

A B
▪ ควำมยำมส่วนของเส้นตรง AB เขียนแทนด้วย m(AB) หรือ AB หรืออำจใช้ตวั พิมพ์เล็กเขียนแทนควำม
ยำวส่วนของเส้นตรงได้เช่นกัน 𝑚(AB) = AB = 𝑎

A a B

10
− รังสี (Ray)
▪ เป็ นเหมือนส่วนของเส้นตรงที่มีจดุ ปลำยเพียงจุดเดียว และมีควำมยำวไม่จำกัดไปในทิศทำงของหัวลูกศร
▪ รังสี AB เขียนแทนด้วย AB ซึ่งไม่เหมือนกับ รังสี BA เพรำะกำรกำหนดชื่อรังสีจะขึน้ ต้นด้วยด้ำนปลำยที่
เป็ นจุดแล้วตำมด้วยปลำยที่เป็ นลูกศร

A B
− มุม (Angle)
▪ เกิดจำกรังสีหรือส่วนของเส้นตรงสองเส้นที่มีจดุ ปลำยร่วมกัน
▪ ชื่อของรังสีหรือส่วนของเส้นตรงทัง้ สองจะเป็ นแขนของมุม
▪ ชื่อของมุมจะขึน้ ต้นและลงท้ำยด้วยชื่อปลำยแขนของมุมที่ไม่ใช่จดุ ร่วมแล้วจุดปลำยร่วมอยู่ตรงกลำง หรือ
อำจจะเขียนแค่จดุ ที่เป็ นจุดร่วม เขียนแทนด้วย BÂC หรือ CÂB หรือ Â
C

A B
▪ ขนำดของมุมเขียนแทนด้วย m(BÂC) หรือสำมำรถใช้ช่ือของมุมแทนขนำดของมุมได้เช่นกัน
C

A B
2.2 กำรสร้ำงพืน้ ฐำนทำงเรชำคณิต

− กำรสร้ำงส่วนของเส้นตรงให้ยำวเท่ำกับส่วนของเส้นตรงที่กำหนดให้
1) กำงวงเวียนให้เท่ำกับส่วนของเส้นตรงที่กำหนดให้
2) เขียนส่วนโค้งบนเส้นที่ตอ้ งกำร

A B M N

11
− กำรแบ่งครึง่ ส่วนของเส้นตรงที่กำหนดให้
1) กำงวงเวียนให้ยำวกว่ำครึง่ หนึ่งของส่วนของเส้นตรง แล้วใช้ปลำยทัง้ สองของส่วนของเส้นตรงเป็ นจุดหมุน
เพื่อเขียนส่วนโค้งให้ตดั กันทัง้ ด้ำนบนและด้ำนล่ำงของส่วนของเส้นตรง

M N

2) ลำกเส้นเชื่อมจุดตัดทัง้ สองจุด จุดที่เส้นเชื่อมตัดกับส่วนของเส้นตรงนัน้ จะเป็ นจุดกึง่ กลำง

M N

− กำรสร้ำงมุมให้มีขนำดเท่ำกับขนำดของมุมที่กำหนดให้
1) กำงวงเวียนกว้ำงพอควร จำกนัน้ ใช้จดุ ยอดมุมเป็ นจุดหมุนเพื่อเขียนส่วนโค้งคร่อมมุมที่กำหนดให้ เพื่อให้
เกิดจุดตัดที่แขนของมุมทัง้ สอง

A B

12
2) ใช้วงเวียนที่กว้ำงเท่ำเดิมเขียนส่วนโค้งลงบนเส้นที่ตอ้ งกำรเพื่อให้เกิดจุดตัด
3) กำงวงเวียนให้กว้ำงเท่ำกับระยะห่ำงระหว่ำงจุดตัดทัง้ สอง แล้วใช้จดุ ตัดที่เกิดขึน้ บนเส้นที่ตอ้ งกำรจะสร้ำง
มุมเป็ นจุดหมุนเพื่อสร้ำงจุดตัดกับส่วนโค้งในข้อ 2)
4) ลำกเส้นเชื่อมระหว่ำงจุดปลำยของส่วนของเส้นตรงกับจุดตัดที่เกิดขึน้ จำกข้อ 3)

N O

− กำรแบ่งครึง่ มุมที่กำหนดให้
1) กำรวงเวียนยำวพอควร จำกนัน้ ใช้จดุ ยอดมุมเป็ นจุดหมุนเพื่อเขียนส่วนโค้งคร่อมมุมที่กำหนดให้ เพื่อให้เกิด
จุดตัดที่แขนของมุมทัง้ สอง
2) ให้มองจุดตัดทัง้ สองเป็ นจุดปลำยส่วนของเส้นตรง หลังจำกนัน้ ใช้วิธีเดียวกับกำรแบ่งครึง่ ส่วนของเส้นตรง
เพียงแต่เขียนส่วนโค้งให้เกิดจุดตัดเพียงจุดเดียว
3) ลำกเส้นเชื่อมจำกจุดยอดมุมกับจุดตัดที่เกิดขึน้ จำกข้อ 2)

A B

− กำรสร้ำงเส้นตัง้ ฉำกจำกจุดภำยนอกมำยังเส้นตรง
1) กำงวงเวียนให้กว้ำงกว่ำระยะห่ำงจำกจุดถึงเส้นตรงพอควร จำกนัน้ เขียนส่วนโค้งให้เกิดจุดตัดกับเส้นตรง
สองจุด
2) ใช้สองจุดนัน้ เสมือนจุดปลำยส่วนของเส้นตรง แล้วทำวิธีเดียวกับกำรแบ่งครึง่ ส่วนของเส้นตรงเพียงแต่เขียน
ส่วนโค้งให้เกิดจุดตัดเพียงจุดเดียว
13
3) ลำกเส้นเชื่อมจำกจุดที่กำหนดให้กบั จุดตัด

A B

− กำรสร้ำงเส้นตัง้ ฉำกจำกจุดภำยในเส้นตรง
1) กำงวงเวียนให้กว้ำงพอควร ใช้จดุ ที่กำหนดให้เป็ นจุดหมุนเพื่อเขียนส่วนโค้งให้เกิดจุดตัดบนเส้นตรงสองจุด
2) ใช้สองจุดนัน้ เสมือนจุดปลำยส่วนของเส้นตรง แล้วทำวิธีเดียวกับกำรแบ่งครึง่ ส่วนของเส้นตรงเพียงแต่เขียน
ส่วนโค้งให้เกิดจุดตัดเพียงจุดเดียว
3) ลำกเส้นเชื่อมจำกจุดที่กำหนดให้กบั จุดตัด

A B

14
2.3 กำรสร้ำงรูปเรขำคณิต

− กำรสร้ำงมุม 90°
1) กำหนดจุดยอดมุมบนเส้นตรงแล้วใช้วิธีเดียวกับกำรสร้ำงเส้นตัง้ ฉำกจำกจุดภำยในเส้นตรง

A B

− กำรสร้ำงมุม 60°
1) กำหนดจุดยอดมุมบนเส้นตรง กำงวงเวียนให้กว้ำงพอควร ใช้จดุ ที่กำหนดเป็ นจุดหมุนเพื่อเขียนครึง่ วงกลม
บนเส้นตรง
2) ใช้จดุ ที่ตดั กับเส้นตรงเป็ นจุดหมุนเพื่อเขียนส่วนโค้งด้วยวงเวียนที่ควำมกว้ำงเท่ำเดิมให้เกิดจุดตัดกับครึง่
วงกลม
3) ลำกเส้นเชื่อมระว่ำงจุดตัดนัน้ กับจุดที่กำหนดในข้อ 1)

A B

− กำรสร้ำงมุมอื่นๆ สำมำรถสร้ำงได้ดว้ ยกำรบวกหรือลบหรือแบ่งครึง่ กันของมุมต่ำงๆเช่น 30° ใช้กำรแบ่งครึง่ มุม 60°,


45° ใช้กำรแบ่งครึง่ มุม 90°, 75° ใช้กำรบวกกันของ 60° กับ 15°

15
− กำรสร้ำงเส้นตรงที่ขนำนกับเส้นตรงที่กำหนดให้
1) กำหนดจุดบนเส้นตรงสองจุด ใช้หลักกำรกำรสร้ำงเส้นตัง้ ฉำกกับทัง้ สองจุด
2) จำกนัน้ กำงวงเวียนให้เท่ำกับระยะห่ำงระหว่ำงเส้นตรงกับเส้นขนำนที่จะสร้ำง ใช้จดุ ที่กำหนดขึน้ ทัง้ สองจุด
เป็ นจุดหมุนเพื่อเขียนส่วนโค้งให้ตดั เส้นตัง้ ฉำกที่สร้ำงขึน้ ทัง้ สองเส้น
3) ลำกเส้นเชื่อมระหว่ำงจุดตัดทัง้ สอง

A B

− กำรสร้ำงรูปทำงเรขำคณิตอื่นๆ: ต้องเข้ำใจในคุณสมบัติและเงื่อนไขของรูปนัน้ ๆที่จะสร้ำงให้ครบถ้วนแล้วมองแยก


เป็ นทีละจุด ทีละมุม ทีละเส้น ทำแต่ละที่ให้ตรงกับเงื่อนไขแล้วจึงสร้ำงรูปนัน้

16
แบบทดสอบท้ายบท: การสร้างทางเรขาคณิต
1. จงเปรียบเทียบรูปเรขำคณิตทัง้ สองพร้อมเขียนชื่อของรูปที่มีขนำดมำกกว่ำ
1.1. ____

A B X Y
1.2. ____

A B X Y
1.3. ____
C
X

A B Y Z

2. จงสร้ำงรูปเรขำคณิตที่มขี นำดเท่ำกับรูปที่กำหนดให้
2.1.

A B

2.2.

A C

17
2.3.

A C

3. จงสร้ำงรูปเรขำคณิตตำมที่กำหนด

3.1. เส้นตรงที่ผ่ำนจุด A, จุด B, และจุด c

A C
B

3.2. เส้นควำมสูงของสำมเหลี่ยมทัง้ สำมเส้น

3.3. มุม 22.5°, 75°, และ 135°

A B A B A B

18
3.4. สำมเหลี่ยมด้ำนเท่ำ โดยมีควำมยำวด้ำนเท่ำกับ AB

A B

3.5. สำมเหลี่ยมหน้ำจั่วที่มีมมุ ยอดเป็ น 90° และฐำนยำวเป็ นครึง่ หนึ่งของ MN

M N

3.6. สี่เหลี่ยมผืนผ้ำที่มีดำ้ นกว้ำงยำวเท่ำกับ XY ส่วนด้ำนยำวมีขนำดเป็ น 1.5 เท่ำของด้ำนกว้ำง

X Y

3.7. ห้ำเหลี่ยมที่มีมมุ ภำยในมุมหนึ่งกว้ำงเท่ำกับมุม 𝐴̂ และด้ำนที่ประกอบมุม 𝐴̂ ยำวเท่ำกับ PQ

P Q

19
3.8. รูปหกเหลี่ยมด้ำนเท่ำที่มีควำมยำวด้ำนเป็ นหนึ่งในสี่ของ JK

J K

3.9. วงกลมที่ถกู ตัดแบ่งออกเป็ น 8 ส่วนเท่ำๆกันโดยมีเส้นผ่ำนศูนย์กลำงเท่ำกับ EF

E F

3.10. สี่เหลี่ยมคำงหมูท่ม
ี ีควำมสูงเท่ำกับควำมยำวฐำนและเท่ำกับ UV และมีมมุ ที่ฐำนมุมหนึ่ง เท่ำกับ Â ส่วนอีกมุมหนึ่ง
มีขนำดเป็ นสองเท่ำของ Â

U V

20
เลขยกกำลัง
3.1 ควำมหมำยของเลขยกกำลัง

กำหนดให้ 𝑎 แทนจำนวนใดๆ และ n แทนจำนวนเต็มบวกแล้ว

𝑎𝑛 = 𝑎 × 𝑎 × 𝑎 × … × 𝑎

n ตัว

โดยที่ 𝑎𝑛 เรียกว่ำ เลขยกกำลัง (Exponential notation)


𝑎 เรียกว่ำ ฐำน (Base)
n เรียกว่ำ เลขชีก้ ำลัง (Exponent)

แบบฝึ กหัดที่ 1 จงเขียนจำนวนต่อไปนีใ้ ห้อยู่ในรูปของเลขยกกำลัง

1. 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 x 2 = 6. 0.43 x 0.43 x 0.43 x 0.43 x 0.43 =

2. 3 x 3 x 3 x 3 x 3 = 7. (𝑥 + 𝑦)(𝑥 + 𝑦)(𝑥 + 𝑦) =

3. (- 7) x (- 7) = 8. 𝑎 × 𝑎 × 𝑎 × 𝑎 × 𝑎 × 𝑏 × 𝑏 × 𝑏 =

4. (- 4) x (- 4) x (- 4) x (- 4) = 9. −(𝑚 × 𝑚 × 𝑛 × 𝑛 × 𝑛 × 𝑜 × 𝑜) =
5 5 5 5 5 𝑝×𝑝×𝑝×𝑝×𝑞×𝑞
5. 8
× × × ×
8 8 8 8
= 10. ×5×5×5×𝑟 =
𝑟×𝑟×𝑟

แบบฝึ กหัดที่ 2 จงกระจำยเลขยกกำลังต่อไปนีใ้ ห้เป็ นรูปกำรคูณ

1. 47 = 3 7
6. (− 7) =
2. 54 =
7. −65 =
3. (−5)4 =
8. −(−2)7 =
1 6
4. (2) = 9. 𝑎4 𝑏 3 =

5. (0.124)7 = 10. (𝑥 + 𝑦)2 =

21
3.2 กำรคูณและกำรหำรเลขยกกำลัง มีสมบัตด
ิ งั ต่อไปนี ้

เมื่อกำหนดให้ 𝑎, 𝑏 ≠ 0 และ 𝑚, 𝑛 เป็ นจำนวนเต็มบวก

1. 𝑎𝑚 × 𝑎𝑛 = 𝑎𝑚+𝑛

2. 𝑎𝑚 ÷ 𝑎𝑛 = 𝑎𝑚−𝑛

3. 𝑎0 = 1 !
00 ไม่นิยำม

1
4. 𝑎−𝑛 =
𝑎𝑛

5. (𝑎𝑚 )𝑛 = 𝑎𝑚𝑛

6. (𝑎𝑏)𝑛 = 𝑎𝑛 × 𝑏 𝑛

𝑎 𝑛 𝑎𝑛
7. ( ) =
𝑏 𝑏𝑛

แบบฝึ กหัดที่ 3 จงทำให้เลขยกกำลังต่อไปนีอ้ ยูใ่ นรูปอย่ำงง่ำย

1. 34 × 33 = 11. 89 ÷ 84 =

2. (−7)6 × (−7)8 = 12. 32 ÷ 37 =

3. 4 × 43 × 45 = 13. (−5)4 ÷ 57 =

4. (−1)(−1)3 = 14. 12−4 ÷ 1212 =

5. −(−1)4 (−1)8 = 15. 6−5 =

6. −(−1)3 (−1)8 = 16. (−4)−3 =

7. 5 ⋅ 25 ⋅ 57 = 17.
74
=
73

8. 82 ⋅ 8 ⋅ 24 = 94
18. 9−5
=
2 −4 7
9. 6 ⋅ 6 ⋅6 =
125
19. 58
=
10. (−3)100 =
(−6)12
20. (−6)9
=

22
(−3)5 41. (0.2)5 =
21. − (−3)14 =

42. (0.25)−3 =
24
22. − (−2)11 =
1 −3
43. (0.125)2 ÷ ( ) =
510 5
23. − 53 =
0.145 ⋅.0147
44. 0.14 8
=
(−4)−6
24. (−4)−3
=
(−5)3 ⋅28
45. 72
=
25. (−51)0 =
3−4 ⋅54
26. −12 0
= 46. =
9−3

27. −(−4)0 = 47. −𝑎4 × 𝑎7 =

50 48. 𝑎−2 × 𝑎10 =


28. 122
=
49. 𝑎6 ÷ 𝑎3 =
29. (54 )3 =
50. 𝑎2 ÷ 𝑎−9 =
30. (13−2 )7 =
51. −(𝑎𝑏)4 =
31. (8−4 )−6 =
52. (𝑎2 ⋅ 𝑏 3 )2 =
32. ((−5)3 )−2 =
53. (−(−𝑎)5 𝑏 2 𝑐)7 =
33. 23 × 33 =
54. (7𝑎)2 × −𝑎3 =
34. 510 × 210 =
55. −2𝑎3 × (−3𝑎)2 =
35. 7 × (−3)4
4
=
56. 4𝑎7 × 8𝑏 2 =
36. 125 × 4−5 =
64
57. =
1 3 (4𝑥 3 𝑦 4 )3
37. (6) =
𝑥 6𝑦3
58. =
1 −4 𝑥2
38. (5) =
1 2
59. (𝑥 4 𝑦3 𝑧9 ) =
6 2
39. (− 21) =
(2𝑥)2 6𝑦 4 𝑧 14
60. =
10 −5 (2𝑥 3 𝑦 −2 𝑧 6 )2
40. (− 4 ) =

23
3.3 สัญกรณ์วิทยำศำสตร์ (Scientific notation)

− ใช้สำหรับกำรเขียนจำนวนที่มคี ่ำมำกๆหรือมีค่ำน้อยๆ ซึง่ จะมีจำนวนหลักหรือตำแหน่งจุดทศนิยมที่มำก


โดยมีรูปทั่วไปคือ

A x 10𝑛 เมื่อ 1 ≤ A < 10 และ n เป็ นจำนวนเต็ม

เช่น 500 เขียนเป็ น 5 x 102


!
4,000,000 เขียนเป็ น 4 x 106 นับเลขยกกำลังของ 10 ได้จำกจำนวนจุดทศนิยมที่เลื่อนไป
312,000 เขียนเป็ น 3.12 x 105 ถ้ำเลื่อนแล้วค่ำลดลง เลขชีก้ ำลังจะเป็ น + แต่
0.00005 เขียนเป็ น 5 x 10−5 ถ้ำเลื่อนแล้วค่ำมำกขึน้ เลขชีก้ ำลังจะเป็ น -
0.000457 เขียนเป็ น 4.57 x 10−4
0.01243 เขียนเป็ น 1.243 x 10−2

แบบฝึ กหัดที่ 4 จงเขียนจำนวนต่อไปนีใ้ ห้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยำศำสตร์

1. 20 = 6. 0.35 =

2. 1500 = 7. 0.0003 =

3. 13400 = 8. 0.020014 =

4. 1234980 = 9. 0.0000212 =

5. 756000000 = 10. 000000000031 =

แบบฝึ กหัดที่ 5 จงเขียนจำนวนต่อไปนีใ้ นรูปแบบทั่วไป

1. 106 = 6. 10−5 =

2. 2 x 103 = 7. 7.999 x 10−6 =

3. 3.14 x 104 = 8. 8.411 x 10−7 =

4. 6.212 x 107 = 9. 3.0001 x 10−4 =

5. 5.001 x1012 = 10. 1.2 x 10−5 =

24
แบบทดสอบท้ายบท: เลขยกกำลัง
1. 2−1 × 3 × 8 × 27 × 23 × 30 มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด

−3 5
23 ×3−4 2−3 ×32
2. ( 2−2 ×3 ) ÷ ( 2×3−1 ) มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด

3. กำหนด n เป็ นจำนวนเต็มบวก ซึง่ 𝑛200 < 7300 แล้ว n ที่มีคำ่ มำกที่สดุ เป็ นเท่ำใด

25
4. ให้ A = 2−2 × [2−2 × (2−2 × (2−2 )−2 )−2 ]−2 และ B = 2−2 ÷ [2−2 ÷ (2−2 ÷ (2−2 )2)2 ]2 จงหำค่ำของ
A+B

0
2𝑛+1
5. [2𝑛 − 2
] มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด

1 1 1
𝑏+𝑐 𝑎−𝑏 𝑐+𝑎 𝑏−𝑐 𝑎+𝑏 𝑐−𝑎
6. จงทำหำรูปอย่ำงง่ำยของ (𝑥 𝑐−𝑎 ) ⋅ (𝑥 𝑎−𝑏) ∙ (𝑥 𝑏−𝑐)

26
7. ถ้ำ125−𝑘 = 8 จงหำค่ำของ 55𝑘

1
1 2
1 2
11 1 2
8. กำหนดให้ 𝑎 = 16 จงหำค่ำของ 𝑎16 ⋅ [𝑎 (𝑎 (𝑎 2))]

2 4
9. ถ้ำผลสำเร็จของ (0.000243)(0.0016) (1500)
(6000)3 (0.00002)4 (0.0027)2
คือ 1.25 × 10𝑛 แล้ว n เท่ำกับเท่ำใด

27
10. กำหนดให้ a เป็ นเลขโดดในหลักหน่วยของ 31000 และ b เป็ นเลขโดดในหลักหน่วยของ 71000 จงหำค่ำของ a + b

11. กำหนดให้ 2𝑥 = 45 , 2𝑦 = 56 , 2𝑧 = 109 แล้ว ค่ำของ 𝑥 + 2𝑦 + 𝑧 มีคำ่ เป็ นเท่ำใด

12. กำหนด 𝑧 𝑥 = 𝑥, 𝑦 𝑦 = 𝑥, 𝑧 𝑦 = 𝑦 ค่ำของ 𝑥𝑦 2 𝑧 4 + 𝑥 + 𝑦 2 + 𝑧 4 เป็ นเท่ำใด

28

You might also like