You are on page 1of 47

จำนวน

เชิงซ้อน

19 Jun 2022
สารบัญ

จำนวนเชิงซ้อน ...................................................................................................................................................................................1
สังยุค และกำรหำร .............................................................................................................................................................................4
รำกที่สอง ............................................................................................................................................................................................8
ค่ำสัมบูรณ์ ..........................................................................................................................................................................................9
กรำฟของจำนวนเชิงซ้อน ............................................................................................................................................................... 18
รูปเชิงขัว้ ........................................................................................................................................................................................... 22
รำกที่ 𝑛 ............................................................................................................................................................................................ 29
สมกำรพหุนำม ................................................................................................................................................................................ 33
จำนวนเชิงซ้อน 1

จำนวนเชิงซ้อน

ตอน ม.4 เรำได้เรียนเรื่องจำนวนจริงมำแล้ว โดยจำนวนจริง ก็คือ จำนวนที่มีอยู่จริง บนเส้นจำนวน


ในเรื่องนี ้ เรำจะรูจ้ กั จำนวนอีกประเภท เรียกว่ำ “จำนวนจินตภำพ” ซึ่งเป็ นจำนวนที่ “ไม่มีอยู่จริง” แต่เรำ “สมมติให้มี”
โดยเรื่องนี ้ จะสมมติว่ำมีจำนวนที่เรียกว่ำ i ซึ่งมีสมบัติว่ำ i2 = −1
ปกติแล้ว จะเห็นว่ำผลลัพธ์จำกกำรยกกำลังสอง ไม่มีทำงเป็ นค่ำลบได้ ดังนัน้ i จึงเป็ นจำนวนที่ไม่มีอยู่จริง
เรำเรียกชื่อของ i แบบเป็ นทำงกำรว่ำ “หน่วยจินตภำพ”

ตัวอย่ำง จงหำค่ำของ i7
วิธีทำ จำกสมบัติของ i จะได้ i2 = −1
ต้องกำรหำ i7 → จะพยำยำมจัดรูป i7 ให้เป็ น i2 เพื่อใช้สมบัติท่ีมีได้
จะเห็นว่ำ i7 = i6 ∙ i1
= (i2 )3 ∙ i
= (−1)3 ∙ i = −i
ดังนัน้ จะได้ i7 = −i #

“จำนวนเชิงซ้อน” คือ จำนวนที่ประกอบด้วยทัง้ จำนวนจริง และจำนวนจินตภำพ


โดยเรำจะสำมำรถเขียน จำนวนเชิงซ้อน ในรูป 𝑎 + 𝑏i โดยที่ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริง ได้เสมอ
ส่วนจริง ส่วนจินตภำพ
 เรียก 𝑎 ว่ำ “ส่วนจริง” แทนด้วยสัญลักษณ์ Re
 เรียก 𝑏 ว่ำ “ส่วนจินตภำพ” แทนด้วยสัญลักษณ์ Im

เช่น Re(1 + 3i) = 1 Re(4i − 3) = −3


Im(5 − 2i) = −2 Im(3) = 0

ถ้ำส่วนจริงเท่ำกับ 0 เรำจะเรียกว่ำ “จำนวนจินตภำพแท้”


ถ้ำส่วนจินตภำพเป็ น 0 เรำจะเรียกว่ำ “จำนวนจริง”
หมำยเหตุ: ในเรื่องนี ้ เรำนิยมใช้ 𝑧 เป็ นตัวแปร แทนจำนวนเชิงซ้อน
และเรำสำมำรถใช้สญ ั ลักษณ์ (𝑎, 𝑏) แทน 𝑎 + 𝑏i ได้

ตัวอย่ำง ให้ 𝑧 = (−2, 1) จงหำ Re(𝑧)


วิธีทำ จำนวนเชิงซ้อน (−2, 1) ก็คือ −2 + i นั่นเอง
ดังนัน้ Re(𝑧) = −2 #
2 จำนวนเชิงซ้อน

จำนวนเชิงซ้อนสองจำนวน จะ “เท่ำกัน” ได้ ต้องมีทงั้ ส่วนจริงและส่วนจินตภำพเหมือนกัน


นั่นคือ 𝑎 + 𝑏i = 𝑐 + 𝑑i ก็เมื่อ 𝑎 = 𝑐 และ 𝑏 = 𝑑 เท่ำนัน้
อย่ำงไรก็ตำม จำนวนเชิงซ้อนไม่มสี มบัติกำรเทียบมำกกว่ำน้อยกว่ำ
นั่นคือ เรำจะไม่สำมำรถบอกได้ว่ำ 2 − i กับ 1 + i อันไหนมำกกว่ำกัน

จำนวนเชิงซ้อนสองจำนวน บวก/ลบกัน ให้เอำส่วนจริง บวก/ลบ ส่วนจริง ส่วนจินตภำพ บวก/ลบ ส่วนจินตภำพ เช่น


(3 + 2i) + (1 − 4i) = 4 − 2i
(1 + i) − (3i − 2) = 1 + i − 3i + 2 = 3 − 2i
2(i − 1) − 3(−i + 2) = 2i − 2 + 3i − 6 = −8 + 5i

จำนวนเชิงซ้อนสองจำนวน คูณกัน ให้กระจำยเหมือนกระจำยพหุนำม เช่น


(3 + 2i)(1 − 4i) = 3 − 12i + 2i − 8i2 (2 + i)3 = (2 + i)(2 + i)(2 + i)
= 3 − 12i + 2i + 8 = (4 + 2i + 2i + i2 )(2 + i)
= 11 − 10i = (4 + 2i + 2i − 1)(2 + i)
= (3 + 4i)(2 + i)
= 6 + 3i + 8i + 4i2
= 6 + 3i + 8i − 4
= 2 + 11i

ตัวอย่ำง ถ้ำ 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจำนวนจริง และ (𝑥 + 2i)(1 + i) − (3 − i) = 3 + 𝑦i − 𝑥i แล้วจงหำค่ำของ 𝑥 และ 𝑦


วิธีทำ ข้อนี ้ ต้องจัดให้อยู่ในรูปอย่ำงง่ำย แล้วสรุปว่ำส่วนจริงเท่ำกับส่วนจริง และ ส่วนจินตภำพเท่ำกับส่วนจินตภำพ
(𝑥 + 2i)(1 + i) − (3 − i) = 3 + 𝑦i − 𝑥i
𝑥 + 𝑥i + 2i + 2i2 − (3 − i) = 3 + 𝑦i − 𝑥i
𝑥 + 𝑥i + 2i − 2 − 3 + i = 3 + 𝑦i − 𝑥i
𝑥 − 5 + 𝑥i + 3i = 3 + 𝑦i − 𝑥i
(𝑥 − 5) + (𝑥 + 3)i = 3 + (𝑦 − 𝑥)i
ส่วนจริงต้องเท่ำกัน จะได้ 𝑥 − 5 = 3 ดังนัน้ 𝑥 = 8
ส่วนจินตภำพต้องเท่ำกัน จะได้ 𝑥 + 3 = 𝑦 − 𝑥
8+3 = 𝑦−8
19 = 𝑦
ดังนัน้ จะได้คำตอบคือ 𝑥 = 8 และ 𝑦 = 19 #

แบบฝึกหัด
1. จงหำผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี ้
1. (1 + 2i) + (2 − 3i) 2. (i − 2) − (3 − 2i)

3. i(i + 1)(i + 2) 4. (2i − 1)3


จำนวนเชิงซ้อน 3

5. (1 + i)4 6. (1 − i)10

2. จงหำค่ำ 𝑎, 𝑏 ∈ ℝ ที่ทำให้สมกำรต่อไปนีเ้ ป็ นจริง


1. 𝑎 + 2i = 2 + 𝑏i 2. 𝑎 + 𝑏i − 2𝑎i = 𝑏 + 1 + i + 𝑎i

3. 𝑎 – i = 𝑏i 4. 𝑎i + 𝑏 = 𝑎2 + 𝑏2

5. (𝑎 + i)2 = 8 + 𝑏i

3. ถ้ำ (1 + 𝑏𝑖 )3 = −107 + 𝑘𝑖 เมื่อ 𝑏, 𝑘 เป็ นจำนวนจริง และ 𝑖 = √−1 แล้วค่ำของ |𝑘| เท่ำกับเท่ำใด
[PAT 1 (ต.ค. 53)/48]
4 จำนวนเชิงซ้อน

สังยุค และกำรหำร

“สังยุคของ 𝑧” แทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑧̅ หมำยถึง กำรเปลี่ยนเครื่องหมำยส่วนจินตภำพ เป็ นตรงข้ำม


เช่น สังยุคของ 2 + 3i = ̅̅̅̅̅̅̅̅
2 + 3i = 2 − 3i
สังยุคของ 3 − 5i = ̅̅̅̅̅̅̅̅
3 − 5i = 3 + 5i
สังยุคของ i − 3 = ̅̅̅̅̅̅
i−3 = −i − 3
3 ̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅
3 3
สังยุคของ − i+5
2
= − i+5
2
=
2
i+5
สังยุคของ 2i ̅
= 2i = −2i

ตัวอย่ำง ให้ 𝑧 = 2 + i จงหำค่ำของ 𝑧 + 𝑧̅ และ 𝑧 ∙ 𝑧̅


วิธีทำ จะได้ 𝑧̅ = 2 − i
ดังนัน้ 𝑧 + 𝑧̅ = (2 + i) + (2 − i) = 4
และ 𝑧 ∙ 𝑧̅ = (2 + i)(2 − i) = 4 − i2 = 5 #

(น + ล)(น − ล) = น2 − ล2

จำกตัวอย่ำงที่ผ่ำนมำ จะเห็นว่ำ ถ้ำนำ 𝑧 กับ 𝑧̅ มำบวกหรือคูณกัน ส่วนจินตภำพจะตัดกันหำยไปหมดเสมอ


กล่ำวคือ (𝑎 + 𝑏i) + (𝑎 − 𝑏i) = 2𝑎
และ (𝑎 + 𝑏i) ∙ (𝑎 − 𝑏i) = 𝑎 2 − 𝑏2 i2 = 𝑎 2 + 𝑏2
ซึ่งเรำจะใช้สมบัตินีใ้ นกำรคำนวณ “ผลหำร” ของจำนวนเชิงซ้อน
𝑧1
ในกำรหำผลหำร 𝑧1 ÷ 𝑧2 เรำจะเปลี่ยนรูปกำรหำร ให้เป็ นเศษส่วน 𝑧2
แล้วคูณทัง้ เศษและส่วน ด้วย สังยุคของ 𝑧2
เช่น (2 + i) ÷ (1 − i) = 2+i 1−i
2+i 1+i
= ×
1−i 1+i
2+2i+i+i2 2+2i+i−1 1+3i 1 3
= 12 −i2
= 1+1
= 2
= 2
+ 2i

ปกติแล้ว นักคณิตศำสตร์จะ “ไม่ชอบให้ตวั ส่วนติด i” ด้วย (คล้ำยๆกับที่ไม่ชอบให้ตวั ส่วนติดรูท)


ดังนัน้ ถ้ำคำตอบเป็ นเศษส่วน ต้องกำจัด i ในตัวส่วนด้วยกำรคูณเศษและส่วนด้วยสังยุค ก่อนตอบเสมอ

ตัวอย่ำง จงหำอินเวอร์สกำรคูณ ของ 2 − i


วิธีทำ อินเวร์สกำรคูณ คือ ตัวที่มำคูณแล้วหักกันเป็ นเอกลักษณ์กำรคูณ (= 1)
1
จะได้คำตอบ คือ 2−i นั่นเอง แต่ก่อนตอบ ต้องทำส่วนให้ไม่ติด i ก่อน
1 1 2+i 2+i 2+i
จะได้ 2−i
=
2−i
×
2+i
=
4−i2
=
5
#
จำนวนเชิงซ้อน 5

1+i i
ตัวอย่ำง จงหำค่ำของ i−1
− i+2

วิธีทำ 1+i i
− i+2 =
(1+i)(i+2)−(i)(i−1)
(i−1)(i+2)
i−1
(i+2+i2 +2i)−(i2−i) (i+2−1+2i)−(−1−i) i+2−1+2i+1+i 2+4i
= i2+2i−i−2
= −1+2i−i−2
= −1+2i−i−2
= −3+i

จะเห็นว่ำตัวส่วน มี i อยู่ ต้องกำจัด i โดยคูณทัง้ เศษและส่วนด้วยสังยุค


2+4i −3−i −6−2i−12i−4i2 −6−2i−12i+4 −2−14i 2 14 1 7
จะได้ −3+i
× −3−i = 9+3i−3i−i2
= 9+3i−3i+1
= 10
= − 10 − 10 i = − 5 − 5 i #

สมบัติท่ีสำคัญของ 𝑧̅ มีดงั นี ้
 สังยุคซ้อน 2 ครัง้ จะกลับไปได้เท่ำเดิม ( 𝑧̅̅ = 𝑧 )
 สังยุค สำมำรถกระจำยใน บวก ลบ คูณ หำร ยกกำลัง ได้
̅̅̅̅̅̅̅̅
𝑧 + 𝑤 = 𝑧̅ + 𝑤
̅ 𝑧̅̅̅̅̅̅
∙ 𝑤 = 𝑧̅ ∙ 𝑤
̅ ̅̅̅̅̅̅
(𝑧 𝑛 ) = (𝑧̅)𝑛
𝑧 − 𝑤 = 𝑧̅ − 𝑤
̅̅̅̅̅̅̅̅ ̅ ̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅
(𝑧 ÷ 𝑤) = 𝑧̅ ÷ 𝑤
̅ ̅̅̅̅̅̅̅
(𝑧 −1 ) = (𝑧̅)−1

ตัวอย่ำง ให้ 𝑧1 = 2 − 3i และ 𝑧2 = 4 + 5i จงหำค่ำของ ̅̅̅̅̅̅̅̅̅


𝑧1 + 𝑧̅2
วิธีทำ ลุยแจกสังยุคเข้ำไปก่อน จะได้ไม่ตอ้ งคิดสังยุคหลำยรอบ
̅̅̅̅̅̅̅̅̅
𝑧1 + 𝑧̅2 = 𝑧̅1 + 𝑧2 = 2 + 3i + 4 + 5i = 6 + 8i #

ตัวอย่ำง ให้ 𝑧1 𝑧̅2 = 3 + i จงหำค่ำของ 𝑧̅1 𝑧2


วิธีทำ ข้อนี ้ ต้องสังเกตว่ำ 𝑧1 𝑧̅2 กับ 𝑧̅1 𝑧2 มีบำร์ตรงข้ำมกัน ดังนัน้ ถ้ำลุยแจกสังยุคเข้ำไปใน 𝑧1 𝑧̅2 จะได้ 𝑧̅1 𝑧2
กล่ำวคือ ̅̅̅̅̅̅
𝑧1 𝑧̅2 = 𝑧̅1 𝑧2 นั่นคือ จะได้ 𝑧1 𝑧̅2 กับ 𝑧̅1 𝑧2 เป็ นคู่สงั ยุคกันนั่นเอง
ดังนัน้ 𝑧̅1 𝑧2 = ̅̅̅̅̅̅
3+i = 3–i #

แบบฝึกหัด
1. จงหำผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี ้
1 2+3i
1. 1−3i 2. i

i−4 1+i
3. 2i
4. 2−i
6 จำนวนเชิงซ้อน

3+2i i
5. 2i−1
6. i − i−1

1 i i 2−i
7. i−1
− 2+i 8. 2i−1
+ 2i

2. จงหำอินเวอร์สกำรคูณ ของ 2+i

3. กำหนดให้ 𝑧 −1 = 3 − 2i จงหำค่ำของ 𝑧̅
จำนวนเชิงซ้อน 7

4. ให้ 𝑧1 และ 𝑧2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อน ถ้ำ 𝑧1−1 = 35 − 45 𝑖 เมื่อ 𝑖 2 = −1 และ 5𝑧1 + 2𝑧2 = 5
แล้ว 𝑧̅2 เท่ำกับเท่ำใด (เมื่อ 𝑧̅2 แทน สังยุค (conjugate) ของ 𝑧2 ) [PAT 1 (ก.ค. 53)/15]

5. กำหนดให้ 𝑧 = 𝑥 + 𝑦iเป็ นจำนวนเชิงซ้อน เมื่อ 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจำนวนจริงที่สอดคล้องกับสมกำร


)3
𝑥 (3 + 5i) + 𝑦(1 − i = 3 + 7i ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้ำง [PAT 1 (มี.ค. 57)/14]
1. Im iz  = −Re(i𝑧) 2. 1𝑧 = 8−6i 7
8 จำนวนเชิงซ้อน

รำกที่สอง

ในคณิตศำสตร์พืน้ ฐำน เรำได้เรียนกำรหำรำกที่สองของจำนวนจริงไปแล้ว


(เช่น รำกที่สองของ 9 คือ ±3 เพรำะ (±3)2 = 9 เป็ นต้น)
ในหัวข้อนี ้ เรำจะเรียนกำรหำรำกที่สองของจำนวนเชิงซ้อนที่อยู่ในรูป 𝑎 + 𝑏i

เช่นถ้ำต้องกำรหำรำกที่สองของ 3 + 4i แปลว่ำอยำกได้จำนวนเชิงซ้อนที่ยกกำลังสองแล้วได้ 3 + 4i
วิธีแบบตรงไปตรงมำ คือกำรแก้สมกำร (𝑥 + 𝑦i)2 = 3 + 4i
โดยกำรกระจำยฝั่ งซ้ำย แล้วสร้ำงระบบสมกำรจำกส่วนจริงและส่วนจินตภำพ

อย่ำงไรก็ตำม เรำมีสตู รลัดสำหรับหำรำกที่สองของ 𝑎 + 𝑏i ดังนี ้


1. หำค่ำ 𝑟 = √𝑎2 + 𝑏2
𝑟+𝑎 𝑟−𝑎
2. พิจำรณำเครื่องหมำยของ 𝑏 → ถ้ำ 𝑏 เป็ น บวก ให้ตอบ ±(√ 2
+√ 2
i)

𝑟+𝑎 𝑟−𝑎
→ ถ้ำ 𝑏 เป็ น ลบ ให้ตอบ ±(√
2
−√
2
i)

ตัวอย่ำง จงหำรำกที่สองของ 3 + 4i
วิธีทำ จะได้ 𝑎 = 3 และ 𝑏 = 4 ดังนัน้ 𝑟 = √32 + 42 = 5
𝑟+𝑎 𝑟−𝑎
เนื่องจำก 𝑏=4 เป็ นบวก ต้องใช้สตู ร ±(√ 2
+√ 2
i)

5+3 5−3
จะได้รำกที่สองคือ ±(√
2
+√
2
i) = ±(2 + i) #

ตัวอย่ำง จงหำรำกที่สองของ −4i


วิธีทำ จะได้ 𝑎 = 0 และ 𝑏 = −4 ดังนัน้ 𝑟 = √02 + (−4)2 = √16 = 4
𝑟+𝑎 𝑟−𝑎
เนื่องจำก 𝑏 = −4 เป็ นลบ ต้องใช้สตู ร ±(√ 2
−√ 2
i)

4+0 4−0
จะได้รำกที่สองคือ ±(√ 2
−√ 2
i) = ±(√2 − √2i) #

แบบฝึกหัด
1. จงหำรำกที่สองของจำนวนต่อไปนี ้
1. −5 + 12i 2. 4 − 3i
จำนวนเชิงซ้อน 9

ค่ำสัมบูรณ์

“ค่ำสัมบูรณ์” ของจำนวนเชิงซ้อน 𝑎 + 𝑏i เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ |𝑎 + 𝑏i| หำได้จำกสูตร √𝑎2 + 𝑏2


เช่น |2 + 3i| = √22 + 32 = √13 |1 − i| = √12 + (−1)2 = √2
|−4 − 3i| = √(−4)2 + (−3)2 = √25 = 5
|2i| = √02 + (2)2 = √4 = 2 |−3| = √(−3)2 + (0)2 = √9 = 3

ตัวอย่ำง กำหนดให้ |𝑧 − 4| = 2|𝑧 − 1| จงหำ |𝑧|


วิธีทำ ให้ 𝑧 = 𝑎 + 𝑏i จะได้ 𝑧 − 4 = (𝑎 − 4) + 𝑏i ดังนัน้ |𝑧 − 4| = √(𝑎 − 4)2 + 𝑏2
จะได้ 𝑧 − 1 = (𝑎 − 1) + 𝑏i ดังนัน้ |𝑧 − 1| = √(𝑎 − 1)2 + 𝑏2
แทนในโจทย์ จะได้ √(𝑎 − 4)2 + 𝑏2 = 2√(𝑎 − 1)2 + 𝑏2
(𝑎 − 4)2 + 𝑏2 = 4((𝑎 − 1)2 + 𝑏2 )
𝑎2 − 8𝑎 + 16 + 𝑏2 = 4𝑎2 − 8𝑎 + 4 + 4𝑏2
12 = 3𝑎2 + 3𝑏2
4 = 𝑎2 + 𝑏2

ดังนัน้ |𝑧| = √𝑎2 + 𝑏2 = √4 = 2 #

สมบัติท่ีสำคัญของค่ำสัมบูรณ์ มีดงั นี ้
 |𝑧| = |−𝑧| = |𝑧̅| = |−𝑧̅|
เช่น |2 + 3i| = |−2 − 3i| = |2 − 3i| = |−2 + 3i|
เพรำะตอนคิดค่ำสัมบูรณ์ เรำต้องยกกำลังสองทัง้ ส่วนจริงและส่วนจินตภำพ
ดังนัน้ บวก หรือ ลบ หรือ สังยุค ก็ได้ค่ำสัมบูรณ์เท่ำกัน

 ค่ำสัมบูรณ์ กระจำยในกำรคูณ หำร ยกกำลัง ได้หมด แต่กระจำยในบวกลบไม่ได้


สมับตั ินี ้ มีประโยชน์มำก เพรำะจะช่วยให้เรำหำค่ำสัมบูรณ์ได้โดยไม่ตอ้ งคูณจำนวนเชิงซ้อน
(3+i)(2−i)21 |3+i||2−i|21
เช่น |(2i−1)18(i+1)−5 | = |2i−1|18|i+1|−5
21
(√32 +12 )(√22 +(−1)2 )
= 18 −5
(√22 +(−1)2 ) (√12+12 )
21
(√10)(√5)
= 18 −5
(√5) (√2)
3 5 3 5
= (√10)(√5) (√2) = (√2 × 5)(√5) (√2) = 23 × 52 = 200
อย่ำงไรก็ตำม ค่ำสัมบูรณ์กระจำยในกำรบวกลบไม่ได้
กล่ำวคือ |(3 + i) − (2 − i)| ≠ |3 + i| − |2 − i|
ถ้ำเจอกำรบวกลบ เรำจะพยำยำมจัดรูปให้อยู่ในรูปกำรคูณหำรก่อน
เช่น |(2 − 3i)2 − (1 − i)2 | = | น2 − ล2 | = |(น − ล)(น + ล)|
= |((2 − 3i) − (1 − i))((2 − 3i) + (1 − i))|
= |(1 − 2i)(3 − 4i)| = √5 ∙ 5 = 5√5
10 จำนวนเชิงซ้อน

 อย่ำงไรก็ตำม สำหรับกำรบวกลบ จะมีสมบัติ |𝑧 + 𝑤 | ≤ |𝑧 | + |𝑤 |


และ |𝑧 − 𝑤| ≥ ||𝑧| − |𝑤|| (เหมือนตอนเรียนเรื่องจำนวนจริง)

 |𝑧|2 = 𝑧 ∙ 𝑧̅ เพรำะต่ำงก็เท่ำกับ 𝑎2 + 𝑏2 ทัง้ คู่


สูตรนีจ้ ะใช้กำจัดค่ำสัมบูรณ์ของกำรบวกลบจำนวนเชิงซ้อน ที่เป็ นจุดอ่อนของสูตรที่แล้วได้
เช่น |𝑧 + 𝑤|2 = (𝑧 + 𝑤)( ̅̅̅̅̅̅̅̅ 𝑧+𝑤)
= (𝑧 + 𝑤)(𝑧̅ + 𝑤
̅)
= 𝑧𝑧̅ + 𝑧𝑤
̅ + 𝑧̅𝑤 + 𝑤𝑤
̅ |𝑧 + 𝑤|2 = |𝑧|2 + |𝑤|2 + (𝑧𝑤
̅ + 𝑧̅𝑤)
|𝑧 − 𝑤|2 = |𝑧|2 + |𝑤|2 − (𝑧𝑤
̅ + 𝑧̅𝑤)
= |𝑧|2 + 𝑧𝑤
̅ + 𝑧̅𝑤 + |𝑤|2

สังเกตว่ำ 𝑧𝑤̅ กับ 𝑧̅𝑤 เป็ นสังยุคกันด้วย ( 𝑧𝑤̅ 𝑧̅𝑤 )


= ̅̅̅̅
ดังนัน้ ถ้ำรู ต้ วั หนึ่ง ก็จะหำอีกตัวหนึ่งได้

ตัวอย่ำง กำหนดให้ |𝑤| = 3 , |𝑧 | = 4 , และ 𝑤


̅𝑧 = 3 + i จงหำค่ำของ |𝑤 + 𝑧 |2
วิธีทำ 𝑤
̅𝑧 = 3 + i |𝑤 + 𝑧 |2 = |𝑤 |2 + 𝑤
̅𝑧 + 𝑤𝑧̅ + |𝑧|2
̅𝑧 = ̅̅̅̅̅̅
̅̅̅̅
𝑤 3+i = 32 + 3 + i + 3 − i + 42
𝑤𝑧̅ = 3 − i = 31
#

แบบฝึกหัด
1. จงหำค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนต่อไปนี ้
1. 5 + 12i 2. −3 + 4i

3. 1−i 4. 2i

5. −√3 − i 6. −20

7. (1 + 3i) − (2 + i) 8. (1 + 3i)(2 + i)
จำนวนเชิงซ้อน 11

1
9. (1 + i)5 10. 8i−6

(1−i)15
11. (1+𝑖)9
12. (3 − 2i)2 − (2 − 3i)2

2. จงหำ |𝑧| เมื่อกำหนด 𝑧 ดังต่อไปนี ้


2√2+i
1. 𝑧(2 − i)2 = (1 + i)3 2. 𝑧
= 1 + √2i

2+2√3i
3. 𝑧 2 = √3 + i 4. 𝑧 3 (1−i)
= 1

3. กำหนดให้ |𝑧 + 2| = √2|𝑧 + 1| แล้ว จงหำ |𝑧 |


12 จำนวนเชิงซ้อน

4. ให้ 𝑧1 และ 𝑧2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนใดๆ และ 𝑧̅2 แทนสังยุค (conjugate) ของ 𝑧2


ถ้ำ 5𝑧1 + 2𝑧2 = 5 และ 𝑧̅2 = 1 + 2𝑖 เมื่อ 𝑖 2 = −1 แล้ว ค่ำของ |5𝑧1−1 | เท่ำกับเท่ำใด
[PAT 1 (มี.ค. 53)/34]

5. กำหนดให้ 𝑧 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับสมกำร 𝑧̅ − 1 − 4i = 3i(𝑧 − i) ข้อใดต่อไปนีไ้ ม่ถกู ต้อง


[PAT 1 (เม.ย. 57)/21]
1. 𝑧 + 𝑧̅ = i(𝑧 − 𝑧̅) 2. |𝑧 + 2| = 2
3. 𝑧̅2 − 8i = 0 4. 𝑧(1 − i)3 − 8i = 0

1 −1
6. กำหนดให้ 𝑧 = (i − i+2) จงหำค่ำของ | 16𝑧 2 − 8𝑧 + 3 − 8i | [PAT 1 (ธ.ค. 54)/34]
จำนวนเชิงซ้อน 13

7. ข้อใดต่อไปนีถ้ ูกต้องบ้ำง [PAT 1 (ต.ค. 53)/13]


1. ถ้ำ 𝑧 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับสมกำร 𝑧 2 = 2+𝑖
2−𝑖
+
3+4𝑖
1+2𝑖
+
5+15𝑖
3−𝑖
เมื่อ 𝑖 = √−1
แล้วค่ำสัมบูรณ์ของ 𝑧 เท่ำกับ √37
2. ถ้ำ 𝑥 และ 𝑦 เป็ นจำนวนจริงที่สอดคล้องกับสมกำร −5+2𝑖
𝑥+𝑦𝑖
10
= 𝑖(𝑖+1)(𝑖+2)(𝑖+3)(𝑖+4)
แล้ว ค่ำของ 𝑥 + 𝑦 = 15

8. ถ้ำ 𝑧 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับสมกำร 𝑧|𝑧| + 2𝑧 + i = 0 แล้ว


ส่วนจินตภำพของ 𝑧 มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด [A-NET 51/1-5]

9. ให้ 𝑅 แทนเซตของจำนวนจริง ให้ 𝑧1 = 𝑎 + 𝑏i และ 𝑧2 = 𝑐 + 𝑑i เป็ นจำนวนเชิงซ้อน


โดยที่ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 ∈ 𝑅 − {0} และ i = √−1
สมมติว่ำ มีจำนวนจริง 𝑡 และ 𝑠 ที่ว่ำ 𝑧12 + 𝑧22 = 𝑡 และ 𝑧1 − 𝑧2 = 𝑠 ข้อใดต่อไปนีถ้ ูกต้องบ้ำง
[PAT 1 (มี.ค. 58)/13]
1. |𝑧1 | = |𝑧2 | 2. Im(𝑧1 𝑧2 ) = 0
14 จำนวนเชิงซ้อน

10. ให้ 𝐴 เป็ นเซตของจำนวนเชิงซ้อน 𝑧 ทัง้ หมดที่สอดคล้องกับ 2|𝑧| − 3𝑧 = 9i – 2


(1+i)𝑧
และ 𝐵 = { |𝑤|2 | 𝑤 = 2+i เมื่อ 𝑧 ∈ 𝐴 } เมื่อ i2 = −1
ผลบวกของสมำชิกทัง้ หมดในเซต 𝐵 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 55)/33]

11. กำหนดให้ 𝑧 เป็ นจำนวนเชิงซ้อน ที่สอดคล้องกับสมกำร |𝑧| + 2𝑧̅ − 3𝑧 = 3 − 45i เมื่อ |𝑧| แทนค่ำสัมบูรณ์
(absolute value) ของ 𝑧 และ 𝑧̅ แทนสังยุค (conjugate) ของ 𝑧 ค่ำของ |𝑧̅|2 เท่ำกับเท่ำใด
[PAT 1 (พ.ย. 57)/9]

12. กำหนดให้ 𝐴 เป็ นเซตของจำนวนเชิงซ้อนทั้งหมดที่สอดคล้องกับสมกำร 3|𝑧|2 − (28 − i)𝑧 + 4𝑧 2 = 0


และให้ 𝐵 = { |𝑧 + i| | 𝑧 ∈ 𝐴 } ผลบวกของสมำชิกทัง้ หมดในเซต 𝐵 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 57)/32]
จำนวนเชิงซ้อน 15

13. กำหนดให้ 𝑧1 , 𝑧2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง |𝑧1 + 𝑧2 | = 3 และ 𝑧1 ∙ 𝑧̅2 = 3 + 4i


ค่ำของ |𝑧1 |2 + |𝑧2 |2 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ก.ค. 52)/27]

14. กำหนดให้ 𝑧1 และ 𝑧2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อน


โดยที่ |𝑧1 + 𝑧2 | = 3 และ |𝑧1 − 𝑧2 | = 1 (เมื่อ |𝑧| แทนค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน 𝑧)
ค่ำของ |𝑧1 |2 + |𝑧2 |2 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 55)/32]

15. ให้ 𝑧1 และ 𝑧2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อน โดยที่ |𝑧1 | = √2 , |𝑧2 | = √3 และ |𝑧1 − 𝑧2 | = 1
แล้วค่ำของ |𝑧1 + 𝑧2 | เท่ำกับเท่ำใด เมื่อ |𝑧| เทนค่ำสัมบูรณ์ของ 𝑧 [PAT 1 (พ.ย. 57)/33]
16 จำนวนเชิงซ้อน

16. กำหนดให้ 𝑧1 และ 𝑧2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง |𝑧1 + 𝑧2 |2 = 5 และ |𝑧1 − 𝑧2 |2 = 1


ค่ำของ |𝑧1 |2 + |𝑧2 |2 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 52)/27]

17. กำหนดให้ 𝑧1 และ 𝑧2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อน โดยที่ |𝑧1 | = |𝑧1 + 𝑧2 | = 3 และ |𝑧1 − 𝑧2 | = 3√3
|11𝑧̅1|−|5𝑧2 |
ค่ำของ |𝑧 เท่ำกับเท่ำใด (𝑧̅ แทนสังยุค (conjugate) ของ 𝑧) [PAT 1 (มี.ค. 54)/35]
1 𝑧̅2+𝑧̅1 𝑧2|

18. กำหนดให้ 𝑧 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับสมกำร 2|𝑧 + 1| = |𝑧 + 4|


ค่ำของ |𝑧̅| เท่ำกับเท่ำใด (เมื่อ 𝑧̅ แทนสังยุต (conjugate) ของ 𝑧) [PAT 1 (ต.ค. 55)/35]
จำนวนเชิงซ้อน 17

19. กำหนดให้ 𝑧 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับสมกำร 𝑧 4 + 1 = 0


2
ค่ำของ |𝑧 + 1𝑧| เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ก.ค. 52)/26]

20. ให้ 𝑧1 , 𝑧2 , 𝑧3 , … เป็ นลำดับของจำนวนเชิงซ้อน โดยที่


𝑧1 = 0
𝑧𝑛+1 = 𝑧𝑛2 + 𝑖 สำหรับ 𝑛 = 1, 2, 3, … เมื่อ 𝑖 = √−1
ค่ำสัมบูรณ์ของ 𝑧111 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 53)/16]

21. กำหนดให้ 𝑎, 𝑏 และ 𝑧 เป็ นจำนวนเชิงซ้อน โดยที่ |𝑎| ≠ |𝑏| , |𝑎| ≠ 1 และ |𝑏| ≠ 1
ถ้ำ |𝑎𝑧 + 𝑏| = |𝑏̅𝑧 + 𝑎̅| แล้ว |𝑧| เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 54)/13]
18 จำนวนเชิงซ้อน

กรำฟของจำนวนเชิงซ้อน

ตอนเรียนเรื่องจำนวนจริง เรำจะใช้เส้นจำนวนเพื่อบอกตำแหน่งของจำนวนต่ำงๆ
ในเรื่องจำนวนเชิงซ้อน จะใช้เส้นจำนวนไมได้แล้ว เพรำะจำนวนจินตภำพไม่ได้มีอยู่จริงบนเส้นจำนวน

ในกำรบอกตำแหน่งของจำนวนเชิงซ้อน เรำจะใช้ระนำบ X-Y เพื่อบอกตำแหน่งแทน


โดยตำแหน่งของ 𝑎 + 𝑏i จะอยู่ท่ีพิกดั (𝑎, 𝑏) บนระนำบ X-Y
เรำเรียกภำพแสดงพิกดั (𝑎, 𝑏) บนระนำบ X-Y ว่ำ “กรำฟของจำนวนเชิงซ้อน”
และบำงที เรำจะลำกลูกศรจำกจุด (0, 0) ไปยังพิกัดที่พล็อตด้วย (ถ้ำจุดที่พล็อตไม่เยอะเกินไป)
ซึ่งจะเห็นว่ำ ควำมยำวลูกศรนี ้ จะเท่ำกับ √𝑎2 + 𝑏2 ซึ่งเท่ำกับค่ำสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน

เนื่องจำกส่วนจริง (𝑎) จะกลำยเป็ นพิกัดทำงแกน X ดังนัน้ เรำนิยมเรียกแกน X ว่ำ “แกนจริง”


ทำนองเดียวกันส่วนจินตภำพ (𝑏) จะกลำยเป็ นพิกัดทำงแกน Y ดังนั้น เรำนิยมเรียกแกน Y ว่ำ “แกนจินตภำพ”
อย่ำงไรก็ตำม ในเรื่องนี ้ เรำมักจะใช้ตวั แปร 𝑥, 𝑦 แทน 𝑎, 𝑏
นั่นคือ นิยมใช้ 𝑥 + 𝑦i แทนที่จะเป็ น 𝑎 + 𝑏i เพื่อให้ตวั อักษรตรงกับแกนที่จะเอำไปพล็อต

ตัวอย่ำง จงเขียนจุดแสดงจำนวนเชิงซ้อน 2 + i , i − 1 , 1 − 2i บนระนำบ X-Y เดียวกัน


วิธีทำ เปลี่ยนจำนวนเชิงซ้อนให้อยู่ในรูป 𝑥 + 𝑦i ก่อน
Y (แกนจินตภำพ)
2 + i = (2, 1)
2 i − 1 = −1 + i = (−1, 1)
−1 + i 2+i 1 − 2i = (1, −2)
1
X (แกนจริง)
−2 −1 1 2
−1
−2 1 − 2i

นำจุดทัง้ สำม ไปพล็อตบนแกน X-Y จะได้ดงั รูป #

ตัวอย่ำง จงเขียนกรำฟของจำนวนเชิงซ้อนทั้งหมดที่สอดคล้องกับสมกำร |𝑧| = 3


วิธีทำ ให้ 𝑧 = 𝑥 + 𝑦i จะได้ |𝑧| = √𝑥2 + 𝑦 2
ดังนัน้ เรำจะต้องเขียนพิกดั (𝑥, 𝑦) ทัง้ หมด ที่ทำให้ √𝑥2 + 𝑦 2 = 3
หรือก็คือ 𝑥2 + 𝑦 2 = 32
จำกควำมรูเ้ รื่อง ภำคตัดกรวย พิกดั (𝑥, 𝑦) ที่สอดคล้องกับ 𝑥2 + 𝑦 2 = 32 จะเรียงเป็ นกรำฟวงกลมรัศมี 3

ดังนัน้ จำนวนเชิงซ้อนทัง้ หมดที่สอดคล้องกับ สมกำร |𝑧| = 3 จะเรียงเป็ นวงกลมดังรูป #


จำนวนเชิงซ้อน 19

ตัวอย่ำง จงเขียนกรำฟของจำนวนเชิงซ้อนทั้งหมดที่สอดคล้องกับอสมกำร |𝑧 − 2 + i| < 2


วิธีทำ ให้ 𝑧 = 𝑥 + 𝑦i นำไปแทนในอสมกำร
| 𝑧 − 2 + i| <2
|𝑥 + 𝑦i − 2 + i| <2
|(𝑥 − 2) + (𝑦 + 1)i| <2
√(𝑥 − 2)2 + (𝑦 + 1)2 <2
(𝑥 − 2)2 + (𝑦 + 1)2 < 22

−1 2

ซึ่งจะได้เป็ นพืน้ ที่ภำยในวงกลมรัศมี 2 ที่มีจดุ ศูนย์กลำงอยู่ท่ี (2, −1) ดังรู ป #

แบบฝึกหัด
1. จงเขียนกรำฟของจำนวนเชิงซ้อนทั้งหมด ที่สอดคล้องกับเงื่อนไขต่อไปนี ้
1. 𝑧 = 1 + i 2. 𝑧 = 2i − 1

3. |𝑧 | = 1 4. | 𝑧 − i| = 2

5. |𝑧 − 1 + 2i| = 1 6. 𝑧 ∙ 𝑧̅ = 2
20 จำนวนเชิงซ้อน

7. 𝑧 + 𝑧̅ = 6 8. 𝑧 − 𝑧̅ + 2i = 0

9. Im(𝑧) < 2 10. | 𝑧 + i| − 1 ≤ 1

11. |𝑧| < |𝑧 + 4| 12. |𝑧 − i| ≥ |𝑧 + 1|

2. กรำฟของจุด 𝑧 ทัง้ หมดในระนำบเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับสมกำร (𝑧 + i)(𝑧̅ − i) = 1 เป็ นรูปใดต่อไปนี ้


[A-NET 49/1-15]
1. เส้นตรง 2. วงกลม 3. วงรี 4. ไฮเพอร์โบลำ
จำนวนเชิงซ้อน 21

3. ถ้ำ 𝑧 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนที่อยู่ในควอดรันต์ (quadrant) ที่หนึ่งบนระนำบเชิงซ้อน


(𝑧+1)(1+i)
โดยที่ |𝑧(1+i)+5+i| = 1 และ |𝑧| = √65 แล้วผลบวกของส่วนจริงและส่วนจินตภำพของ 𝑧 เท่ำกับเท่ำใด
[PAT 1 (มี.ค. 56)/35]
22 จำนวนเชิงซ้อน

รูปเชิงขัว้

ในหัวข้อที่แล้ว เรำได้รูว้ ่ำจำนวนเชิงซ้อน สำมำรถแสดงเป็ นจุดบนระนำบ X - Y ได้


ซึ่งปกติ เรำจะบอกตำแหน่งของ 𝑧 = 𝑥 + 𝑦i ด้วยคู่อนั ดับ (𝑥, 𝑦)
อย่ำงไรก็ตำม แทนที่จะใช้ค่อู นั ดับ (𝑥, 𝑦) เรำสำมำรถบอกด้วยอีกวิธี ที่เรียกว่ำ “รูปเชิงขั้ว” ได้

ในรูปเชิงขัว้ จะมี 2 สิ่งที่เรำจะสนใจ คือ (𝑥, 𝑦)


1. ระยะห่ำง 𝑟 จำกจุด (0, 0) ถึง 𝑧 𝑟
2. มุม 𝜃 ที่ 𝑧 ทำกับแกน X บวก 𝜃
(เรียก 𝜃 นีว้ ่ำ “อำร์กิวเมนต์” ของ 𝑧)

กำรวัดมุมอำร์กิวเมนต์ของ 𝑧 จะวัดแบบเดียวกับเรื่องตรีโกณมิติ
กล่ำวคือ เริ่มจำกแกน X บวก วัดไปทำงทวนเข็มนำฬิกำ (จะวัดตำมเข็มนำฬิกำก็ได้ แต่มุมจะติดลบ)
และถ้ำเกิน 360° (หรือ 2π) จะวนกลับมำเป็ น 0° ใหม่

สูตรสำหรับหำค่ำ 𝑟 คือ 𝑟 = √𝑥 2 + 𝑦 2
𝑦
สูตรสำหรับหำค่ำ 𝜃 คือ tan 𝜃 = 𝑥 (ผสมกับกำรดูรูปว่ำ 𝜃 อยู่ในจตุภำคไหน)
เมื่อได้ค่ำ 𝑟 และ 𝜃 เรำจะเขียน 𝑧 ใน “รูปเชิงขัว้ ” ได้ในรูป 𝑟(cos 𝜃 + i sin 𝜃) หรือ 𝑟 cis 𝜃

ตัวอย่ำง จงเขียน 𝑧 = 1 + √3i ในรูปเชิงขัว้


วิธีทำ ก่อนอื่น ต้องหำ 𝑟 กับ 𝜃 ก่อน
2
จะได้ 𝑟 = √𝑥2 + 𝑦 2 = √12 + √3 = √1 + 3 = √4 = 2
และหำ 𝜃 จำกสูตร tan 𝜃 = 𝑦𝑥 = √3 1
= √3 จะได้ 𝜃 = 60°, 240°
แต่ 𝑧 = 1 + √3i = (1, √3) อยู่ในจตุภำคที่ 1 ดังนัน้ 𝜃 = 60°
ดังนัน้ 𝑧 เขียนในรูปเชิงขัว้ ได้เป็ น 2(cos 60° + i sin 60°) หรือ 2 cis 60° #

ตัวอย่ำง จงเขียน 𝑧 = 1 − i ในรูปเชิงขัว้


วิธีทำ จะได้ 𝑟 = √𝑥2 + 𝑦 2 = √12 + (−1)2 = √1 + 1 = √2
และหำ 𝜃 จำกสูตร tan 𝜃 = 𝑦𝑥 = −1 1
= −1 จะได้ 𝜃 = 135°, 315°
แต่ 𝑧 = 1 − i = (1, −1) อยู่ในจตุภำคที่ 4 ดังนัน้ 𝜃 = 315°
ดังนัน้ 𝑧 เขียนในรูปเชิงขัว้ ได้เป็ น √2(cos 315° + i sin 315°) หรือ √2 cis 315° #

ตัวอย่ำง จงเขียน −3i ในรูปเชิงขัว้


วิธีทำ ข้อนีจ้ ะทำแบบข้อที่แล้วก็ได้ แต่ถำ้ สังเกตดีๆ จะพบว่ำ −3i = 0 − 3i = (0, −3) 𝜃
𝑟
ซึ่งจำกรูป จะเห็นชัดอยู่แล้ว ว่ำ 𝑟 = 3 และ 𝜃 = 270° (0, −3)
ดังนัน้ −3i = 3(cos 270° + i sin 270°) หรือ 3 cis 270° #
จำนวนเชิงซ้อน 23

ตัวอย่ำง จงเขียน 2(cos 60° − i sin 60°) ให้อยู่ในรูปเชิงขัว้


วิธีทำ ข้อนี ้ ดูเผินๆ เหมือนอยู่ในรูปเชิงขั้วแล้ว แต่จริงๆไม่ใช่
รูปเชิงขัว้ จะต้องเป็ น 𝑟(cos 𝜃 + i sin 𝜃) สังเกตว่ำ เครื่องหมำยระหว่ำง cos 𝜃 กับ i sin 𝜃 ต้องเป็ น +
เรำจะทำให้เครื่องหมำยตรงกลำงเป็ น + โดยใช้สตู ร − sin 𝜃 = sin(−𝜃) เพื่อหด − ไปไว้ใน 𝜃
จำกนัน้ เรำจะใช้สตู ร cos 𝜃 = cos(−𝜃) เพื่อแปลงมุมหลัง cos ให้เท่ำกับมุมที่เปลี่ยนไปของ sin
2(cos 60° − i sin 60°) = 2(cos 60° + i sin(−60°))
= 2(cos(−60°) + i sin(−60°))
นั่นคือ จะแปลงเป็ นเชิงขัว้ ได้เป็ น 2(cos(−60°) + i sin(−60°)) หรือ 2 cis(−60°) #

ในทำงกลับกัน ถ้ำเรำมีจำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขัว้ เรำสำมำรถแปลงกลับไปเป็ นรูปพิกดั ฉำกปกติได้


โดยคำนวณค่ำ cos 𝜃 กับ sin 𝜃 แล้วกระจำย 𝑟 เข้ำไป

ตัวอย่ำง จงแปลงรูปเชิงขัว้ 𝑧 = 2 cis 300° กลับเป็ นรูปพิกด


ั ฉำก
วิธีทำ 𝑧 = 2 cis 300°
= 2(cos 300° + i sin 300°)
1 √3
= 2 (2 + i (− 2
)) = 1 − √3i #

แบบฝึกหัด
1. จงแปลงจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี ้ ให้อยู่ในรูปเชิงขัว้
1. 1 + i 2. √3 − i

1
3. √2i − √2 4. −2−
√3
2
i

5. 3√3 − 3i 6. −2i
24 จำนวนเชิงซ้อน

7. 1 8. −5

9. cos 60° + i sin 60° 10. cos 60° − i sin 60°

11. − cos 60° + i sin 60° 12. −cos 60° − i sin 60°

2. จงแปลงจำนวนต่อไปนี ้ ให้อยู่ในรูป 𝑎 + 𝑏i
3𝜋 3𝜋
1. 2(cos 30° + i sin 30°) 2. √2(cos 2
+ i sin 2
)

3. 1 cis 135° 4. 3 cis 0°


จำนวนเชิงซ้อน 25

รูปเชิงขัว้ จะมีขอ้ ดีคือ “สังยุค คูณ หำร ยกกำลัง” ได้ง่ำย ดังนี ้


 สังยุค ให้เปลี่ยน 𝜃 เป็ นลบของของเดิม เช่น
̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅
2 cis 60° = 2 cis(−60°)
̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅
1 cis 20° = 1 cis(−20°)
̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅
5 cis(−50°) = 5 cis 50°

 คูณ ให้เอำ 𝑟 มำคูณกัน และเอำ 𝜃 มำบวกกัน เช่น


(2 cis 60°) × (3 cis 10°) = 6 cis 70°
(5 cis(−20°)) × (2 cis 10°) = 10 cis(−10°)
(2 cis 260°) × (12 cis 310°) = 24 cis 570° = 24 cis 210°

 หำร ให้เอำ 𝑟 มำหำรกัน และเอำ 𝜃 มำลบกัน เช่น


12 cis 60°
3 cis 10°
= 4 cis 50°
5 cis(−20°) 5
= − cis(−30°)
−2 cis 10° 2

 ยกกำลัง 𝑛 ให้เอำ 𝑟 มำยกกำลัง 𝑛 และเอำ 𝜃 มำคูณ 𝑛 เช่น


(2 cis 60°)3 = 23 cis 180° = 8 cis 180°
(−1 cis 45°)10 = (−1)10 cis 450° = 1 cis 90°

20
i
ตัวอย่ำง จงหำค่ำของ (− √3 2
+ 2)
วิธีทำ ข้อนีจ้ ะยกกำลังตรงๆก็ได้ แต่เหนื่อยหน่อย
i
เนื่องจำกรูปเชิงขัว้ เป็ นรูปที่ยกกำลังง่ำย เรำจะแปลง − √3
2
+ 2 เป็ นเชิงขัว้ ก่อน ค่อยยกกำลัง
2 2
1 3 1
จะได้ √3
𝑟 = √(− 2 ) + (2) = √4 + 4 = √1 = 1
1
1 i
และ tan 𝜃 = 2
√3
=−
√3
ดังนัน้ 𝜃 = 150°, 330° แต่ − √3
2
+ 2 อยู่ในจตุภำคที่ 2 ดังนัน
้ 𝜃 = 150°

2
20
i
ดังนัน้ (− √3
2
+ 2) = (1 cis 150°)20 = 120 cis 3000° = 1 cis 120°
1 √3
= 1(cos 120° + i sin 120°) = − 2 + 2
i #

4
ตัวอย่ำง กำหนดให้ 𝑧 = 1 + i จงหำค่ำของ 𝑧𝑧̅ 2
วิธีทำ เปลี่ยน 1 + i เป็ นรูปเชิงขัว้ จะได้ 𝑟 = √12 + 12 = √2
จะได้ tan 𝜃 = 11 = 1 และเนื่องจำก 1 + i อยู่ใน Q1 ดังนัน้ 𝜃 = 45°
ดังนัน้ 𝑧 = √2 cis 45° และจะได้ 𝑧̅ = √2 cis(−45°)
4
𝑧4 (√2 cis 45°) 4 cis 180°
ดังนัน้ 𝑧̅ 2
= 2 = 2 cis(−90°)
= 2 cis 270° = −2i #
(√2 cis(−45°))

และถ้ำสังเกตดีๆ จะพบว่ำ จำนวนเชิงซ้อน มีหลำยอย่ำงที่คล้ำยกับเวกเตอร์


เพรำะ จำนวนเชิงซ้อน มีวิธีกำร บวก ลบ หำค่ำสัมบูรณ์ และมีกำรใช้มมุ 𝜃 เหมือนกันกับเรื่องเวกเตอร์
ดังนัน้ เรำสำมำรถใช้ควำมรูใ้ นเรื่องเวกเตอร์ มำช่วยในกำรทำโจทย์เรื่องจำนวนเชิงซ้อนได้ดว้ ย
26 จำนวนเชิงซ้อน

แบบฝึกหัด
3. จงหำผลลัพธ์ในรูป 𝑎 + 𝑏i
2𝜋
(3 cis )(4 cis(−40°))
1. (2 cis 20°)(3 cis 25°) 2. 3
6 cis(−10°)

3. (2 cis 78°)5 4. (1 − i)10

̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅
2 cis 50°
5. 2 cis 40°
6. (2 cis 25°)3 ∙ ̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅̅
(1 cis 5°)9

4. กำหนดให้ 𝑤, 𝑧 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนซึ่ง 𝑤̅ = 𝑧 − 2i และ |𝑤|2 = 𝑧 + 6


ถ้ำอำร์กิวเมนต์ของ 𝑤 อยู่ในช่วง [0, 𝜋2] และ 𝑤 = 𝑎 + 𝑏i เมื่อ 𝑎, 𝑏 เป็ นจำนวนจริง แล้ว 𝑎 + 𝑏 มีค่ำเท่ำใด
[PAT 1 (ต.ค. 52)/2-13]
จำนวนเชิงซ้อน 27

𝑛
𝑖√2
5. ถ้ำ 𝑛 เป็ นจำนวนเต็มบวกที่นอ้ ยที่สดุ ที่ทำให้ (
√2
2
+ 2) =1 เมื่อ 𝑖 2 = −1 แล้ว 𝑛 มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด
[PAT 1 (ก.ค. 53)/33]

6. ให้ 𝑧1 , 𝑧2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อน ซึ่ง 𝑧1 𝑧2 = 2i และ 𝑧1−1 = cos 𝜋6 − i sin 𝜋6 แล้ว


2
|𝑧1 +
√3
𝑧 |
2 2
มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด [A-NET 50/1-16]
28 จำนวนเชิงซ้อน

7. กำหนดให้ จำนวนเชิงซ้อน 𝑧1 , 𝑧2 , 𝑧3 เป็ นจุดยอดของรูปสำมเหลี่ยมด้ำนเท่ำรูปหนึ่ง


ถ้ำ 𝑧𝑧3 −𝑧1 𝜋
= cos + i sin
𝜋
แล้ว ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้ำง
2 −𝑧1 3 3
1. 𝑧𝑧3 −𝑧 2 𝜋
= cos + i sin
𝜋
1 −𝑧2 3 3
2. 𝑧12 + 𝑧22 + 𝑧32 = 𝑧1 𝑧2 + 𝑧2 𝑧3 + 𝑧3 𝑧1

8. กำหนดให้ 𝑧1 , 𝑧2 , 𝑧3 , 𝑧4 และ 𝑧5 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนที่ต่ำงกันทัง้ หมด โดยที่ค่ำสัมบูรณ์ของแต่ละจำนวนมีค่ำ


เท่ำกับหนึ่ง และ 𝑧1 + 𝑧2 + 𝑧3 + 𝑧4 + 𝑧5 = 0 จงหำส่วนจริงของ 𝑧1𝑧+𝑧2 + 𝑧2𝑧+𝑧3 + 𝑧3𝑧+𝑧4 + 𝑧4𝑧+𝑧5 + 𝑧5𝑧+𝑧1
3 4 5 1 2
จำนวนเชิงซ้อน 29

รำกที่ 𝑛

ในหัวข้อก่อนหน้ำนี ้ เรำได้เรียนกำรหำรำกที่ 2 ของจำนวนวเชิงซ้อนในรูป 𝑎 + 𝑏i มำแล้ว


หัวข้อนี ้ จะขยำยจำก รำกที่ 2 เป็ นรำกที่ 𝑛 โดยใช้ “รูปเชิงขั้ว” มำช่วย
โดย รำกที่ 𝑛 ของจำนวนเชิงซ้อน 𝑧 จะมี “𝑛 คำตอบ” เสมอ (ยกเว้น กรณี 𝑧 = 0)

กำรหำ รำกที่ 𝑛 ของ 𝑧 จะมีขนั้ ตอนกำรหำดังนี ้


1. แปลง 𝑧 เป็ นรูปเชิงขัว้ ให้อยู่ในรูป 𝑟 cis 𝜃
2. รำกตัวที่ 1 จะได้จำกกำรนำ 𝑟 มำถอดรำกที่ 𝑛 และ เอำ 𝜃 มำหำร 𝑛
นั่นคือ จะได้รำกตัวที่ 1 เท่ำกับ 𝑛√𝑟 cis 𝜃𝑛
3. รำกตัวที่ 2 หำได้โดย เพิ่มมุมของรำกตัวที่ 1 ไปอีก 360°
𝑛
(หรือ 2𝜋
𝑛
)
รำกตัวที่ 3 หำได้โดย เพิ่มมุมของรำกตัวที่ 2 ไปอีก 360°
𝑛
(หรือ 2𝜋
𝑛
)
รำกตัวที่ 4 หำได้โดย เพิ่มมุมของรำกตัวที่ 3 ไปอีก 360°
𝑛
(หรือ 2𝜋
𝑛
)
… (ไปเรื่อยๆ จนกว่ำจะได้ครบ 𝑛 รำก)
4. ในข้อ 3 เรำจะได้คำตอบเป็ นรูปเชิงขัว้ ซึ่งบำงทีคณ
ุ ครูจะไม่ชอบ
ในบำงครัง้ เรำอำจต้องแปลงคำตอบ (ถ้ำแปลงได้) ที่เป็ นรูปเชิงขัว้ เหล่ำนี ้ กลับไปเป็ นรูป 𝑥 + 𝑦i ด้วย

ตัวอย่ำง จงหำรำกที่ 4 ของ −1


วิธีทำ ขัน้ แรก แปลง −1 เป็ นเชิงขัว้ ก่อน
จะเห็นว่ำ −1 = −1 + 0i = (−1, 0) (−1, 0)
𝜃
ได้ 𝑟 = 1 และ 𝜃 = 180° ได้เลย ไม่ตอ้ งใช้สตู ร 𝑟
ดังนัน้ แปลง −1 เป็ นเชิงขัว้ ได้ 1 cis 180°
ดังนัน้ รำกตัวแรก คือ 4√1 cis 180° 4
= 1 cis 45°
รำกตัวถัดไป ได้จำกกำรเพิ่มมุม ไปทีละ 360° 𝑛
ข้อนีใ้ ห้หำรำกที่ 4 ซึ่งจะได้ 𝑛 = 4 ดังนัน้ 360°
𝑛
360°
= 4 = 90°
จะได้รำกตัวที่ 2 คือ 1 cis (45° + 90°) = 1 cis 135°
จะได้รำกตัวที่ 3 คือ 1 cis (135° + 90°) = 1 cis 225°
จะได้รำกตัวที่ 4 คือ 1 cis (225° + 90°) = 1 cis 315°
ครบ 4 ตัว ก็หยุด (รำกที่ 4 จะมี 4 คำตอบ)
ดังนัน้ รำกที่ 4 ของ −1 คือ 1 cis 45° , 1 cis 135° , 1 cis 225° , และ 1 cis 315°
ขัน้ สุดท้ำย แปลงรำกทัง้ 4 กลับเป็ นรูปปกติ
√2 √2
1 cis 45° = 1(cos 45° + i sin 45°) = 2
+ 2i
√2 √2
1 cis 135° = 1(cos 135° + i sin 135°) = − + i
2 2
√2 √2
1 cis 225° = 1(cos 225° + i sin 225°) = − 2 − 2 i
√2 √2
1 cis 315° = 1(cos 315° + i sin 315°) = 2
− 2i #
30 จำนวนเชิงซ้อน

ตัวอย่ำง จงหำค่ำ 𝑧 ที่ทำให้ 𝑧 3 = √3 − i


วิธีทำ ข้อนีโ้ จทย์ให้หำว่ำอะไร ยกกำลัง 3 แล้วได้ √3 − i นั่นคือ เรำต้องหำรำกที่ 3 ของ √3 − i นั่นเอง
2
แปลง √3 − i เป็ นเชิงขัว้ จะได้ 𝑟 = √(√3) + (−1)2 = √3 + 1 = √4 = 2
และ tan 𝜃 = −1 √3
จะได้ 𝜃 = 150°, 330° แต่ √3 − i อยู่ในจตุภำคที่ 4 ดังนัน้ 𝜃 = 330°
นั่นคือ แปลง √3 − i เป็ นเชิงขัว้ ได้ 2 cis 330°
ดังนัน้ จะได้รำกตัวแรก คือ 3√2 cis 330°3
3 3
= √2 cis 110° = √2(cos 110° + i sin 110°)
รำกตัวถัดไป ให้เพิ่มมุมไปอีก 360°𝑛
360°
= 3 = 120°
ดังนัน้ รำกตัวที่สอง คือ 3√2 cis (110° + 120°) = 3√2 cis 230° = 3√2(cos 230° + i sin 230° )
และรำกตัวที่สำม คือ 3√2 cis (230° + 120°) = 3√2 cis 350° = 3√2(cos 350° + i sin 350°)
ครบ 3 รำก ก็หยุด #

แบบฝึกหัด
1. จงหำค่ำในแต่ละข้อต่อไปนี ้
1. รำกที่ 2 ของ −1 2. รำกที่ 2 ของ 4i

1
3. รำกที่ 2 ของ 2

√3
2
i 4. รำกที่ 3 ของ 1
จำนวนเชิงซ้อน 31

5. รำกที่ 3 ของ −27i 6. รำกที่ 4 ของ −1

7. รำกที่ 4 ของ −8 + 8√3i

2. จงแก้สมกำรต่อไปนี ้
1. 𝑧 2 = i 2. 𝑧 3 − 8𝑖 = 0
32 จำนวนเชิงซ้อน

3. กำหนดให้ 𝑧1 , 𝑧2 , 𝑧3 เป็ นรำกของสมกำร (𝑧 + 2i)3 = 8i จงหำค่ำของ |𝑧1 | + |𝑧2 | + |𝑧3 |


[PAT 1 (ธ.ค. 54)/14]

4. กำหนดให้ 𝑧 = 𝑎 + 𝑏i โดยที่ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริงที่ 𝑎𝑏 > 0 และ i = √−1


2
ถ้ำ 𝑧 3 = i แล้วค่ำของ |i𝑧 5 + 2| เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 58)/29]
จำนวนเชิงซ้อน 33

สมกำรพหุนำม

สมกำรพหุนำม คือ สมกำรที่อยู่ในรูป “พหุนำม = 0” เช่น 2𝑥4 + 𝑥3 − 7𝑥2 − 4𝑥 − 4 = 0


ในเรื่องจำนวนจริง เรำได้เรียนวิธีแก้สมกำรพวกนีไ้ ปแล้ว โดยจะต้องแยกตัวประกอบ แล้วหำคำตอบจำกแต่ละตัวประกอบ
ถ้ำพจน์ในพหุนำมมีเลขชีก้ ำลังมำกกว่ำ 2 เรำมักต้องใช้ “ทฤษฏีเศษ” และกำร “หำรสังเครำะห์” เพื่อแยกตัวประกอบ

ตัวอย่ำง จงแก้สมกำร 2𝑥4 + 𝑥3 − 7𝑥2 − 4𝑥 − 4 = 0


วิธีทำ แยกตัวประกอบ 2𝑥4 + 𝑥3 − 7𝑥2 − 4𝑥 − 4 โดยใช้ทฤษฎีเศษก่อน
2𝑥 4 + 𝑥 3 − 7𝑥 2 − 4𝑥 − 4 = 0
1, 2 1, 2, 4
1
ดังนัน้ “ตัวน่ำสงสัย” คือ ±1 , ±2 , ±4 และ
เรำต้องเอำพวกนีไ้ ปแทนในพหุนำม ว่ำอันไหนได้ 0
±
2
1: 2(1)4 + (1)3 − 7(1)2 − 4(1) − 4 = −8 ใช้ไม่ได้
−1: 2(−1) + (−1) − 7(−1) − 4(−1) − 4 = −6 ใช้ไม่ได้
4 3 2

2: 2(2)4 + (2)3 − 7(2)2 − 4(2) − 4 = 0 ได้แล้ว


จำกนัน้ เอำ 2 ไปหำรสังเครำะห์
2 2 1 −7 −4 −4
4 10 6 4
2 5 3 2 0
ดังนัน้ 2𝑥 + 𝑥 − 7𝑥 − 4𝑥 − 4 = (𝑥 − 2)(2𝑥 3 + 5𝑥 2 + 3𝑥 + 2)
4 3 2

ต่อไปแยกตัวประกอบของ 2𝑥3 + 5𝑥2 + 3𝑥 + 2 ด้วยวิธีเดิม


1, 2 1, 2

จะได้ “ตัวน่ำสงสัย” คือ ±1 , ±2 และ ± 12


ตัวที่ใช้ไม่ได้ในรอบที่แล้ว (คือ 1 กับ −1) ตัดออกไปได้เลย ดังนัน้ รอบนีเ้ รำจะเริ่มจำก 2
2: 2(2)3 + 5(2)2 + 3(2) + 2 = 44 ใช้ไม่ได้
−2: 2(−2)3 + 5(−2)2 + 3(−2) + 2 = 0 ได้แล้ว
จำกนัน้ เอำ −2 ไปหำรสังเครำะห์
−2 2 5 3 2
−4 −2 −2
2 1 1 0
ดังนัน้ 2𝑥 + 𝑥 − 7𝑥 − 4𝑥 − 4 = (𝑥 − 2)(2𝑥 3 + 5𝑥 2 + 3𝑥 + 2)
4 3 2

= (𝑥 − 2)(𝑥 + 2)(2𝑥 2 + 𝑥 + 1)
พอเลขชีก้ ำลังจะลดเหลือ 2 ก็หยุดทฤษฎีเศษได้ จำกนัน้ จะได้คำตอบของสมกำรดังนี ้
𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0
2
(𝑥 − 2)(𝑥 + 2)(2𝑥 + 𝑥 + 1) = 0 −𝑏±√𝑏2 −4𝑎𝑐
→ 𝑥= 2𝑎
−1±√12 −4(2)(1) −1±√−7
𝑥=2 𝑥 = −2 𝑥= =
2(2) 4
(เป็ นคำตอบไม่ได้ เพรำะในรู ทติดลบ)
ดังนัน้ คำตอบของสมกำรนีจ้ งึ มีแค่ 2 กับ −2 #
34 จำนวนเชิงซ้อน

โจทย์ท่ีแสดงให้ดู เป็ นโจทย์ในเรื่อง “จำนวนจริง”


ดังจะเห็นได้ว่ำเรำไม่ยอมให้ −1±√−74
เป็ นคำตอบ เพรำะจำนวนจริงไม่ยอมให้ในรูทติดลบ
แต่ถำ้ เรำเจอโจทย์นีใ้ นเรื่องจำนวนเชิงซ้อน เรำจะยอมให้ในรู ทติดลบได้
−1±√−7
โดยถ้ำในรูทติดลบ เรำจะใช้ i มำเขียนแทน นั่นคือ 4
เขียนใหม่ได้เป็ น −1±√7i
4

ตัวอย่ำง จงแก้สมกำร 2𝑧 4 + 𝑧 3 − 7𝑧 2 − 4𝑧 − 4 = 0
วิธีทำ ทำเหมือนกับข้อที่แล้ว ยกเว้นว่ำครำวนี ้ ในรูทติดลบได้ แต่ตอ้ งเขียนตอบในรูป i
−1+√7i
ดังนัน้ คำตอบของสมกำรนี ้ คือ 2 , −2 ,
4
และ −1−√7i
4
#

ในเรื่องนี ้ เรำมักจะเจอแต่พหุนำมที่มีสมั ประสิทธิ์เป็ นจำนวนจริง


เช่น 2𝑧 4 + 𝑧 3 − 7𝑧 2 − 4𝑧 − 4 มีสมั ประสิทธิ์คือ 2 , 1 , −7, −4 และ −4 ซึ่งล้วนแต่เป็ นจำนวนจริง
ในกรณีนี ้ คำตอบที่ติด i จะ “มำเป็ นคู่ๆ” กล่ำวคือ ถ้ำ 𝑎 + 𝑏i เป็ นคำตอบ จะได้ 𝑎 − 𝑏i เป็ นคำตอบด้วยเสมอ

ในสมกำรพหุนำม ที่มีสมั ประสิทธิ์เป็ นจำนวนจริง


ถ้ำ 𝑧 เป็ นคำตอบของสมกำรแล้ว สังยุคของ 𝑧 จะเป็ นคำตอบด้วย

ตัวอย่ำง กำหนดให้ 2 และ 1 − i เป็ นคำตอบของสมกำร 𝑓(𝑥) = 0 ถ้ำ 𝑓(𝑥) เป็ นพหุนำมดีกรี 3 ซึ่ง 𝑓(3) = 10
แล้ว จงหำค่ำของ 𝑓(0)
วิธีทำ ก่อนอื่น ต้องรูก้ ่อน ว่ำ “ดีกรี” ของพหุนำม คือ “เลขชีก้ ำลังมำกสุด” ของพจน์ในพหุนำม
ข้อนี ้ 𝑓(𝑥) มีดีกรี 3 นั่นคือ 𝑓(𝑥) ต้องอยู่ในรูป 𝑎𝑥3 + 𝑏𝑥2 + 𝑐𝑥 + 𝑑 = 0
จำกกำรที่โจทย์บอกว่ำ 1 − i เป็ นคำตอบ เรำจะสรุปได้ทนั ที ว่ำ 1 + i ก็ตอ้ งเป็ นคำตอบด้วย
ดังนัน้ คำตอบของสมกำร จะมี 2 , 1 − i และ 1 + i เรำจะใช้คำตอบเหล่ำนี ้ ย้อนกลับไปหำ 𝑓(𝑥)
ก่อนที่จะได้สำมตัวนีเ้ ป็ นคำตอบ สมกำรควรมีหน้ำตำคล้ำยๆแบบนี ้
𝑘(𝑥 − 2)(𝑥 − 1 + i)(𝑥 − 1 − i) = 0

𝑥=2 𝑥 =1−i 𝑥 =1+i


เมื่อ 𝑘 เป็ นตัวเลขอะไรก็ได้
ที่ 𝑘 ต้องเป็ นตัวเลข เพรำะจะมีตัวแปร 𝑥 มำกกว่ำนีไ้ ม่ได้แล้ว ไม่งนั้ คูณออกมำ ดีกรีจะเกิน 3
ดังนัน้ 𝑓(𝑥) ก็คือ 𝑘(𝑥 − 2)(𝑥 − 1 + i)(𝑥 − 1 − i)
แต่โจทย์บอกว่ำ 𝑓(3) = 10 ดังนัน้
𝑓(𝑥) = 𝑘(𝑥 − 2)(𝑥 − 1 + i)(𝑥 − 1 − i)
𝑓(3) = 𝑘(3 − 2)(3 − 1 + i)(3 − 1 − i)
10 = 𝑘(1)(2 + i)(2 − i)
10 = 𝑘(4 − i2 )
10 = 5𝑘 ใช้สตู ร (น + ล)(น − ล) = น2 − ล2
10
𝑘 = 5 =2
จะได้ 𝑓(𝑥) = 2(𝑥 − 2)(𝑥 − 1 + i)(𝑥 − 1 − i) และจะหำค่ำ 𝑓(0) ได้ดงั นี ้
𝑓(0) = 2(0 − 2)(0 − 1 + i)(0 − 1 − i)
จำนวนเชิงซ้อน 35

= 2(−2)(−1 + i)(−1 − i)
= 2(−2)((−1)2 − i2 )
= 2(−2)(1 + 1)
= 2(−2)(2) = −8 #

ควำมรูเ้ กี่ยวกับ ผลบวกรำก ผลคูณรำก ที่เรียนมำในเรื่องจำนวนจริง ก็ยงั คงใช้ได้ในเรื่องจำนวนเชิงซ้อน


สมกำรดีกรี 𝑛 จะมีคำตอบได้ไม่เกิน 𝑛 ตัว และถ้ำสมกำรพหุนำมดีกรี 𝑛 มีคำตอบ 𝑛 ตัวแล้ว
สปส ตัวที่ 2
ผลบวกของคำตอบทัง้ หมด =−
สปส ตัวแรก
สปส ตัวสุดท้ำย
ผลบวกของสองคำตอบคูณกัน สปส ตัวที่ 3
= + สปส ตัวแรก
ผลคูณของคำตอบทัง้ หมด = (−1)𝑛 ∙ สปส ตัวแรก

สปส ตัวที่ 4
ผลบวกของสำมคำตอบคูณกัน = − สปส ตัวแรก

เช่น 𝑥 3 − 7𝑥 2 + 14𝑥 − 8 = 0 ผลบวกคำตอบ = − −7


1
= 7 (= 1 + 2 + 4)

(𝑥 − 1)(𝑥 − 2)(𝑥 − 4)
ผลบวกสองคำตอบคูณกัน = + 141 = 14 (= 1×2 + 1×4 + 2×4)
คำตอบ คือ 1, 2, 4 ผลคูณคำตอบ = (−1)3 (−8
1
)=8 (= 1×2×4)

4𝑥 4 − 5𝑥 2 + 1 = 0 ผลบวกคำตอบ = − 04 = 0 (= −1 + 1 − + )
1
2
1
2
ผลบวกสองคำตอบคูณกัน = + −5
4
= −4
5

4𝑥 4 − 0𝑥 3 − 5𝑥 2 + 0𝑥 + 1 1 1 1 1 1 1
(= −1 ∙ 1 + −1 ∙ − 2 + −1 ∙ 2 + 1 ∙ − 2 + 1 ∙ 2 + − 2 ∙ 2 )
0
(𝑥 + 1)(𝑥 − 1)(2𝑥 + 1)(2𝑥 − 1) ผลบวกสำมคำตอบคูณกัน = −
4
= 0
คำตอบ คือ −1 , 1 , − 12 , 12 1 1 1 1
(= −1 ∙ 1 ∙ − 2 + −1 ∙ 1 ∙ 2 + −1 ∙ − 2 ∙ 2 + 1 ∙ − 2 ∙ 2)
1 1

1 1
ผลคูณคำตอบ = (−1)4 ( ) =
4 4
(= −1 ∙ 1 ∙ − 2 ∙ 2)
1 1

ตัวอย่ำง ถ้ำ 𝑧1 , 𝑧2 , 𝑧3 และ 𝑧4 เป็ นคำตอบที่แตกต่ำงกันของสมกำร 2𝑧 4 + 𝑧 3 − 7𝑧 2 − 4𝑧 − 4 = 0 แล้ว จงหำ


ค่ำของ 𝑧1 + 𝑧1 + 𝑧1 + 𝑧1
1 2 3 4
1
วิธีทำ จำกสูตร ผลบวก ผลคูณ คำตอบ จะได้ 𝑧1 + 𝑧2 + 𝑧3 + 𝑧4 = −2
−7 7
𝑧1 𝑧2 + 𝑧1 𝑧3 + 𝑧1 𝑧4 + 𝑧2 𝑧3 + 𝑧2 𝑧4 + 𝑧3 𝑧4 = + = −
2 2
−4
𝑧1 𝑧2 𝑧3 + 𝑧1 𝑧2 𝑧4 + 𝑧1 𝑧3 𝑧4 + 𝑧2 𝑧3 𝑧4 = − = 2
2
−4
𝑧1 𝑧2 𝑧3 𝑧4 = + = −2
2
1 1 1 1 𝑧2 𝑧3 𝑧4 + 𝑧1 𝑧3 𝑧4 + 𝑧1 𝑧2 𝑧4 + 𝑧1 𝑧2 𝑧3 2
ดังนัน้ 𝑧1
+𝑧 +𝑧 +𝑧 = 𝑧1 𝑧2 𝑧3 𝑧4
= −2
= −1 #
2 3 4
36 จำนวนเชิงซ้อน

แบบฝึกหัด
1. จงหำคำตอบของสมกำรต่อไปนี ้
1. 𝑥2 + 3𝑥 + 6 = 0 2. 𝑥 2 − 2𝑥 + 2 = 0

3. 3𝑥 3 − 2𝑥 2 + 𝑥 = 0 4. 𝑥 2 = −2

5. 𝑥3 = 1 6. 𝑥3 + 𝑥2 + 𝑥 + 1 = 0

7. 𝑥 3 + 3𝑥 2 + 5𝑥 + 3 = 0 8. 𝑥3 − 𝑥2 − 4 = 0

2. ถ้ำ 𝑧1 , 𝑧2 , 𝑧3 เป็ นรำกของสมกำร 2𝑧 3 − 3𝑧 2 − 5𝑧 + 1 = 0 แล้ว จงหำค่ำของ


1. 𝑧1 + 𝑧2 + 𝑧3 2. 𝑧1 𝑧2 + 𝑧1 𝑧3 + 𝑧2 𝑧3
จำนวนเชิงซ้อน 37

1 1 1
3. 𝑧1 𝑧2 𝑧3 4. 𝑧1
+
𝑧2
+
𝑧3

3. ถ้ำ 1−i เป็ นคำตอบหนึ่งของสมกำร 𝑥 3 − 3𝑥 2 + 𝑎𝑥 − 2 = 0 แล้ว จงหำค่ำ 𝑎

4. ถ้ำ 2 − i เป็ นคำตอบหนึ่งของสมกำร 𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 5 = 0 เมื่อ 𝑎,𝑏∈R แล้ว


จงหำอีก 2 คำตอบที่เหลือ

5. ถ้ำ i + 1 เป็ นคำตอบหนึ่งของสมกำร 𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 4𝑥 + 𝑏 = 0 เมื่อ 𝑎,𝑏∈R แล้ว


จงหำอีก 2 คำตอบที่เหลือ
38 จำนวนเชิงซ้อน

6. ถ้ำ 3 และ 2i + 1 เป็ นคำตอบของสมกำร 𝑥 4 + 𝑎𝑥 3 + 𝑏𝑥 2 + 𝑐𝑥 + 6 = 0 เมื่อ 𝑎,𝑏,𝑐 ∈R แล้ว จง


หำอีก 2 คำตอบที่เหลือ

7. ถ้ำ i − 2 และ 1 − 2i เป็ นคำตอบของสมกำร 𝑥5 + 5𝑥4 + 𝑎𝑥3 + 𝑏𝑥2 + 𝑐𝑥 + 𝑑 = 0


เมื่อ 𝑎 , 𝑏 , 𝑐 , 𝑑 ∈ R แล้ว จงหำอีก 3 คำตอบที่เหลือ

8. จงหำสมกำรดีกรีต่ ำสุด ที่มีสมั ประสิทธิ์เป็ นจำนวนจริง และมี i และ 1+i เป็ นคำตอบ

9. กำหนดให้ −1 และ 2 − i เป็ นคำตอบของสมกำร 𝑓(𝑥) = 0 ถ้ำ 𝑓(𝑥) เป็ นพหุนำมดีกรี 3 ที่มีสมั ประสิทธิ์เป็ น
จำนวนจริง ซึ่ง 𝑓(1) = 20 แล้ว จงหำค่ำของ 𝑓(0)
จำนวนเชิงซ้อน 39

10. ถ้ำ 𝑓(𝑥) เป็ นพหุนำมดีกรี 3 ที่มีสมั ประสิทธิ์เป็ นจำนวนจริง โดยที่ 𝑥 − 2 และ 𝑥 + 1 + i เป็ นตัวประกอบของ
𝑓 (𝑥) และ 𝑓 (0) = −12 แล้ว จงหำว่ำ 𝑓 (𝑥) หำรด้วย 𝑥 − 1 เหลือเศษเท่ำไร

11. จำนวนเชิงซ้อน 𝑧 = 1 + i เป็ นคำตอบของสมกำรในข้อใดต่อไปนี ้ [A-NET 49/1-14]


1. 𝑧 4 − 2𝑧 2 + 4𝑧 = 0 2. 𝑧 4 − 2𝑧 2 − 4𝑧 = 0
3. 𝑧 4 + 2𝑧 2 − 4𝑧 = 0 4. 𝑧 4 + 2𝑧 2 + 4𝑧 = 0

12. กำหนดให้ 𝑆 เป็ นเซตคำตอบของสมกำร 𝑧 2 + 𝑧 + 1 = 0 เมื่อ 𝑧 เป็ นจำนวนเชิงซ้อน


เซตในข้อใดต่อไปนีเ้ ท่ำกับเซต 𝑆 [PAT 1 (มี.ค. 52)/26]
1. {− cos 120° − i sin 60° , cos 60° + i sin 60°}
2. {cos 120° + i sin 60° , − cos 60° + i sin 60°}
3. {− cos 120° − i sin 120° , − cos 60° + i sin 60°}
4. {cos 120° + i sin 120° , − cos 60° − i sin 60°}
40 จำนวนเชิงซ้อน

13. กำหนดให้ 𝑧 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับ 𝑧 3 − 2𝑧 2 + 2𝑧 = 0 และ 𝑧 ≠ 0


𝑧4
ถ้ำ อำร์กิวเมนต์ของ 𝑧 อยู่ในช่วง (0, 𝜋2) แล้ว (𝑧̅ )2
มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ต.ค. 52)/1-15]

14. ให้ (𝑥 − 1 + i) และ (𝑥 + 2) เป็ นตัวประกอบของฟั งก์ชนั 𝑓(𝑥) = 𝑥3 + 𝑎𝑥2 + 𝑏𝑥 + 𝑐


แล้ว (𝑥 − 3) หำร 𝑓(𝑥) เหลือเศษเท่ำไร [A-NET 50/2-8]

15. ถ้ำ 𝑥 − 1 + 𝑖 เป็ นตัวประกอบของพหุนำม 𝑃(𝑥) = 𝑥3 + 𝑎𝑥2 + 4𝑥 + 𝑏 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจำนวนจริง
แล้วค่ำของ 𝑎2 + 𝑏2 เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (มี.ค. 54)/14]
จำนวนเชิงซ้อน 41

16. กำหนดให้ 𝑓(𝑥) เป็ นพหุนำมกำลังสำม ซึ่งมีสมั ประสิทธิ์เป็ นจำนวนจริง โดยที่มี 𝑥 + 1 เป็ นตัวประกอบของ 𝑓(𝑥)
5 + 2i เป็ นคำตอบชองสมกำร 𝑓(𝑥) = 0 และ 𝑓(0) = 58 จงหำ 𝑓 (𝑥) ในรู ป 𝑎𝑥 3 + 𝑏𝑥 2 + 𝑐𝑥 + 𝑑
[PAT 1 (มี.ค. 56)/40*]

1 3
17. ให้ 𝑧1 , 𝑧2 , 𝑧3 เป็ นคำตอบของสมกำร 1 + (1 + 𝑧 ) = 0 แล้ว Re(𝑧1 + 𝑧2 + 𝑧3 ) มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด
[A-NET 50/1-15]

18. กำหนดให้ 𝑧1 และ 𝑧2 เป็ นจำนวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับสมกำร 𝑧 2 − 3𝑧 + 4 = 0


ค่ำของ (|𝑧1 |2 + |𝑧2 |2 ) (𝑧1 + 𝑧1 ) เท่ำกับเท่ำใด [PAT 1 (ต.ค. 55)/17]
1 2
42 จำนวนเชิงซ้อน

3
19. ถ้ำ 𝑧1 , 𝑧2 เป็ นคำตอบที่ไม่ใช่จำนวนจริงของสมกำร (𝑧+1
𝑧−1
) = 8 แล้ว 𝑧1 𝑧2 มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด
[A-NET 51/1-6]

20. จงหำค่ำของ cos 15° + cos 87° + cos 159° + cos 231° + cos 303° [PAT 1 (พ.ย. 57)/32*]
จำนวนเชิงซ้อน 43

จำนวนเชิงซ้อน

1. 1. 3 − i 2. −5 + 3i 3. −3 + i 4. 11 − 2i
5. −4 6. −32i
2. 1. 𝑎 = 2 , 𝑏 = 2 2. 𝑎 = −1 , 𝑏 = −2 3. 𝑎 = 0 , 𝑏 = −1 4. 𝑎 = 0 , 𝑏 = 0, 1
5. 𝑎 = ±3 , 𝑏 = ±6
3. 198

สังยุค และกำรหำร

1. 1. 101 + 103 i 2. 3 − 2i 3. 1
2
+ 2i 4. 1
5
+ i
3
5
5. 15 − 85 i 6. −2+ 2i
1 3
7. 7
− 10 − 10 i
9
8. 1
− 10 − 5 i
6

2. 25 − 5i 3. 3
13

2
13
i 4. 1 + 2i 5. -

รำกที่สอง

3√2
1. 1. ±(2 + 3i) 2. ±( 2

√2
2
i)

ค่ำสัมบูรณ์

1. 1. 13 2. 5 3. √2 4. 2
5. 2 6. 20 7. √5 8. 5√2
1
9. 4√2 10. 10
11. 8 12. 10
2. 1. 2√2
5
2. √3 3. √2 4. √2
3. √2 4. 5 5. 4 6. 5
7. - 8. 1 − √2 9. 1, 2 10. 10
11. 225 12. 5 13. 3 14. 5
15. 3 16. 3 17. 2 18. 2
19. 2 20. √2 21. 1

กรำฟของจำนวนเชิงซ้อน

1. 1. 2. (−1, 2) 3. 4.
(1, 1)
1
1

5. 1 6. 7. 8.
3 −1
−2 √2
44 จำนวนเชิงซ้อน

9. 10. 11. 12.


2
−1 −2

2. 2 3. 11

รูปเชิงขัว้

1. 1. √2 cis 45° 2. 2 cis 330° 3. 2 cis 135° 4. 1 cis 240°


5. 6 cis −30° 6. 2 cis −90° 7. 1 cis 0° 8. 5 cis 180°
9. 1 cis 60° 10. 1 cis −60° 11. 1 cis 120° 12. 1 cis 240°

2. 1. √3 + i 2. −√2i 3. −
√2
2
+
√2
2
i 4. 3
3. 1. 3√2 + 3√2i 2. 2i 3. 16√3 + 16i 4. −32i
5. −i 6. 4√3 + 4i
4. 4 5. 8 6. 7

7. 2
𝑧3 จำกรูป จะได้ 𝑧3 − 𝑧2 มีขนำดเท่ำกับ 𝑧1 − 𝑧2 แต่มมุ น้อยกว่ำอยู่ 𝜋3
ดังนัน้ 𝑧𝑧3 −𝑧2 𝜋
= cis − 3 → 1 ผิด
𝑧3 − 𝑧2 1 −𝑧2
และจะได้ 𝑧𝑧1 −𝑧 −𝑧
2 𝜋 𝑧 −𝑧
= cis 3 = 𝑧3 −𝑧1
3 2 2 1
𝑧1
𝑧1 − 𝑧2
𝑧2 คูณไขว้ได้ 𝑧1 𝑧2 − 𝑧12 − 𝑧22 + 𝑧1 𝑧2 = 𝑧32 − 𝑧1 𝑧3 − 𝑧2 𝑧3 + 𝑧1 𝑧2 → 2 ถูก

8. −2.5
𝑧1 +𝑧2 𝑧2 +𝑧3 𝑧3 +𝑧4 𝑧4 +𝑧5 𝑧5 +𝑧1 −𝑧3 −𝑧4 −𝑧5 −𝑧1 −𝑧4 −𝑧5 −𝑧1 −𝑧2 −𝑧5 −𝑧1 −𝑧2 −𝑧3 −𝑧2 −𝑧3 −𝑧4
+ + + + = + + + +
𝑧3 𝑧4 𝑧5 𝑧1 𝑧2 𝑧3 𝑧4 𝑧5 𝑧1 𝑧2
𝑧1 +𝑧2 𝑧2 +𝑧3 𝑧3 +𝑧4 𝑧4 +𝑧5 𝑧5 +𝑧1 𝑧4 +𝑧5 𝑧1 +𝑧5 𝑧1 +𝑧2 𝑧2 +𝑧3 𝑧3 +𝑧4
𝑧3
+ 𝑧4
+ 𝑧5
+ 𝑧1
+ 𝑧2
= −5 − ( 𝑧3
+ 𝑧4
+ 𝑧5
+ 𝑧1
+ 𝑧2
)
𝑧1 +𝑧2 𝑧2 +𝑧3 𝑧3 +𝑧4 𝑧4 +𝑧5 𝑧5 +𝑧1 𝑧4 +𝑧5 𝑧1 +𝑧5 𝑧1 +𝑧2 𝑧2 +𝑧3 𝑧3 +𝑧4
Re( + + + + ) = −5 − Re ( + + + + ) …(∗)
𝑧3 𝑧4 𝑧5 𝑧1 𝑧2 𝑧3 𝑧4 𝑧5 𝑧1 𝑧2
𝑧 𝑧 𝑧 𝑧 𝑧 𝑧 𝑧 𝑧 𝑧 𝑧
Re ฝั่ งซ้ำย = Re(𝑧1 + 𝑧2 + 𝑧2 + 𝑧3 + 𝑧3 + 𝑧4 + 𝑧4 + 𝑧5 + 𝑧5 + 𝑧1 )
3 3 4 4 5 5 1 1 2 2
1 cis 𝜃1 1 cis 𝜃2 1 cis 𝜃2 1 cis 𝜃1
= Re(1 cis 𝜃 + 1 cis 𝜃 + 1 cis 𝜃 + … + 1 cis 𝜃 )
3 3 4 2
= Re(cis(𝜃1 − 𝜃3 ) + cis(𝜃2 − 𝜃3 ) + cis(𝜃2 − 𝜃4 ) + … + cis(𝜃1 − 𝜃2 ))
= cos(𝜃1 − 𝜃3 ) + cos(𝜃2 − 𝜃3 ) + cos(𝜃2 − 𝜃4 ) + … + cos(𝜃1 − 𝜃2 )
ทำแบบเดียวกัน กับ Re(ฝั่ งขวำ) จะได้
Re ฝั่ งขวำ = cos(𝜃4 − 𝜃3 ) + cos(𝜃5 − 𝜃3 ) + cos(𝜃1 − 𝜃4 ) + … + cos(𝜃4 − 𝜃2 )
แต่ cos (𝜃1 − 𝜃2 ) = cos (𝜃2 − 𝜃1 ) ซึ่งจะเห็นว่ำ Re ฝั่ งซ้ำยกับฝั่ งขวำ จับคู่กนั ได้พอดี ( 𝑧𝑧1 ฝั่ งซ้ำย คู่กบั 𝑧𝑧3 ฝั่ งขวำ)
3 1
𝑧1 +𝑧2 𝑧2 +𝑧3 𝑧3 +𝑧4 𝑧4 +𝑧5 𝑧5 +𝑧1 5
ดังนัน้ Re ฝั่ งซ้ำย = Re ฝั่ งขวำ → แทนใน (∗) จะได้ Re(
𝑧3
+
𝑧4
+
𝑧5
+
𝑧1
+
𝑧2
)=−
2
จำนวนเชิงซ้อน 45

รำกที่ 𝑛

1. 1. i , −i 2. √2 + √2i , −√2 − √2i


i i 1 1
3. √3
2
−2 , −
√3
2
+2 4. 1 , −2 +
√3
2
i , −2 −
√3
2
i
3√3 3 3√3 3
5. 3i , − 2
− 2i , 2
−2i

6. √2
2
√2
+ i
2
, −
√2
2
+
√2
2
i , −
√2
2
√2
− i
2
,
√2
2
√2
− i
2
7. √3 + i , −1 + √3i , −√3 − i , 1 − √3i
2. 1. √2
2
√2
+ 2 i, −
√2
2
√2
− 2 i 2. √3 + i , −√3 + i , −2i
3. 8 4. 3

สมกำรพหุนำม

−3±√15i 1±√2i
1. 1. 2
2. 1±i 3. 0, 3
4. ±√2i
−1±√3i −1±√7i
5. 1, 2 6. −1 , i , −i 7. −1 , −1 ± √2i 8. 2, 2
2. 1. 32 2. − 52 3. −
1
2
4. 5
2
3. 4 4. 2 + i , −1 5. −i + 1 , 1 6. −2i + 1 , 5
7. −i − 2 , 1 + 2i , −3 8. 𝑘 (𝑥 4 − 2𝑥 3 + 3𝑥 2 − 2𝑥 + 2) = 0
9. 25 10. −15 11. 1 12. 4
13. −2i 14. 25 15. 13
3
16. 2𝑥3 − 18𝑥2 + 38𝑥 + 58 17. −
2
18. 6
19. 37 20. 0

เครดิต
ขอบคุณ คุณ Piyawan Lueanprapai
และ คุณ Pawarit Karusuporn
และ คุณ Theerat Piyaanangul
และ คุณ ชัยพฤกษ์ สมใจเพ็ง ที่ช่วยตรวจสอบควำมถูกต้องของเอกสำรครับ

You might also like