You are on page 1of 24

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 1

จำนวนเชิงซ้อน (Complex Number)

บทนิยาม กำหนด a, b เป็นจำนวนจริงใด ๆ แล้ว เรียกคู่อันดับ (a, b) ว่า จำนวนเชิงซ้อน


จำนวนเชิงซ้อน มักแทนด้วย Z หรือ W หรือ Z1, Z2, Z3, …
และจำนวนเชิงซ้อน (a, b) เขียนแทนด้วย ........................... โดย i2 = -1
เรียก a ว่าส่วนจริง (real part) ของจำนวนเชิงซ้อน เขียนแทนด้วย Re(Z)
และเรียก b ว่าส่วนจินตภาพ (imaginary part) ของจำนวนเชิงซ้อน เขียนแทนด้วย Im(Z)

จำนวนเชิงซ้อน Z = a + bi แบ่งเป็น 3 ลักษณะ


1. ถ้า a = 0 และ b ≠ 0 จะได้ Z = ………………… ซึ่งเป็นจำนวนจินตภาพ
เช่น …………………………………………… เรียกจำนวนเชิงซ้อนเช่นนี้ว่า ..............................................
2. ถ้า a ≠ 0 และ b = 0 จะได้ Z = ………………… ซึ่งเป็นจำนวนจริง
เช่น …………………………………………. (จำนวนจริงทุกจำนวนเป็นจำนวนเชิงซ้อนที่ไม่มีส่วนจินตภาพ)

C  เซตของจำนวนจริงเป็นสับเซตแท้ของเซตจำนวนเชิงซ้อน
R

3. ถ้า a ≠ 0 และ b ≠ 0 จะได้ Z = ………………… ซึ่งเป็นจำนวนเชิงซ้อน


เช่น ……………………………………………….. ซึ่งเป็นจำนวนเชิงซ้อนที่มีทั้งส่วนจริงและส่วนจินตภาพ

ตัวอย่างที่ 1 จงหาส่วนจริงและส่วนจินตภาพของจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้
1. 3 + i ส่วนจริง …………………… ส่วนจินตภาพ ……………………
2. 3i ส่วนจริง …………………… ส่วนจินตภาพ ……………………
3. (3, -4) ส่วนจริง …………………… ส่วนจินตภาพ ……………………
4. (2, 4) ส่วนจริง …………………… ส่วนจินตภาพ ……………………
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 2

ค่าของ in เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มบวก

i เมื่อ n หารด้วย 4 เหลือเศษ 1


− 1 เมื่อ n หารด้วย 4 เหลือเศษ 2

i =
n

−i เมื่อ n หารด้วย 4 เหลือเศษ 3



 1 เมื่อ n หารด้วย 4 ลงตัว (เหลือเศษ 0)

ข้อสังเกต
1. i1 + i2 + i3 + i4 = ……………………
2. i1  i2  i3  i4 = ……………………

ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าของ
1. i2563 2. i27 + i28

3. i + i2 + i3 + i4 + … + i2553 4. i7 + i8 + i9 + … + i1001

5. i11 + i13 + i15 + … + i1999 6. i10 – i12 + i14 – i16 + … + i120

7. i100  i101  i102  …  i1001 8. i10  i12  i14  …  i2010


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 3

การเท่ากันของจำนวนเชิงซ้อน
กำหนด (a, b) และ (c, d) เป็นจำนวนเชิงซ้อน 2 จำนวน

(a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d

หรือ ถ้า Z1, Z2 เป็นจำนวนเชิงซ้อนที่ Z1 = a + bi และ Z2= c + di

Z1 = Z2 ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d

ตัวอย่างที่ 3 ให้ Z1 = 5 + yi และ Z2 = x + 9i โดย Z1 = Z2 จงหาค่าของ x, y

ตัวอย่างที่ 4 กำหนดจำนวนเชิงซ้อน (3x – 5, 4x + 3) = (y – 4, 3x + y) จงหา x, y

การเปรียบเทียบจำนวนเชิงซ้อน
จงหาว่าจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ 4 + 2i, 2i, 4i จำนวนใดมีค่ามากที่สุด

การบวกและการลบจำนวนเชิงซ้อน
ถ้าให้ Z1 และ Z2 เป็นจำนวนเชิงซ้อนโดยที่ Z1 = a + bi และ Z2= c + di

Z1 + Z2 = ……………………………………………………
Z1 - Z2 = ……………………………………………………

ตัวอย่างที่ 5 ให้ Z1 = 3 + 2i และ Z2 = 5 + 2i จงหา Z1 + Z2 และ Z1 - Z2


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 4

ตัวอย่างที่ 6 จงหาค่าของ
1. (7 – 3i) + (3 – i)

2. (7 – 3i) – (3 – i)

3. (-3, 4) + (4, -5)

การคูณจำนวนเชิงซ้อนด้วยจำนวนจริง
ถ้าให้ Z1 เป็นจำนวนเชิงซ้อนโดยที่ Z1 = a + bi และ k เป็นจำนวนจริงใด ๆ จะได้ว่า

kZ1 = ………………………………………………………

ตัวอย่างที่ 7 ให้ Z1 = 3 – 7i และ Z2 = 2 + 5i จงหา 3Z1, -2Z1 และ 2Z1 – 3Z2

การคูณจำนวนเชิงซ้อนด้วยจำนวนเชิงซ้อน
กำหนด (a, b) และ (c, d) เป็นจำนวนเชิงซ้อน 2 จำนวน

(a, b)  (c, d) = (ac – bd, ad + bc)

หรือ ถ้า Z1, Z2 เป็นจำนวนเชิงซ้อนที่ Z1 = a + bi และ Z2= c + di

Z1  Z2 = (ac – bd) + (ad + bc)i


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 5

ตัวอย่างที่ 8 จงหาค่าของ
1. (2, 3)(4, 5)

2. (3 + 2i)(5 + 2i)

3. (3i)(i)(4 + i)

4. Z1 = 3 + 5i, Z2 = -1 + 3i และ Z3 = 2 – i จงหา Z1(Z2 + Z3)

5. (1 – i)2, (-1 – i)2, (1 + i)2, (-1 + i)2


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 6

สมบัติเกี่ยวกับการบวกและการคูณของจำนวนเชิงซ้อน
1. สมบัติปิด
ถ้า Z1, Z2  C จะได้ว่า …………………………………………………………….
2. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม
ถ้า Z1, Z2, Z3  C จะได้ว่า (Z1 + Z2) + Z3 = ……………………………….
และ (Z1  Z2)  Z3 = ……………………………….
3. สมบัติการสลับที่
ถ้า Z1, Z2, Z3  C จะได้ว่า Z1 + Z2 = ……………………………….
และ Z1  Z2 = ……………………………….
4. การมีเอกลักษณ์
เอกลักษณ์การบวก คือ ...............................................
เอกลักษณ์การคูณ คือ ...............................................
5. การมีอินเวอร์ส
อินเวอร์สการบวกของ a + bi คือ ………………………….. ใช้สญ
ั ลักษณ์ –Z แทนอินเวอร์สการบวกของ Z
อินเวอร์สการคูณของ a + bi คือ ………………………….. ใช้สญ
ั ลักษณ์ Z-1 แทนอินเวอร์สการคูณของ Z
6. สมบัติการแจกแจง (การกระจาย)
ถ้า Z1, Z2, Z3  C จะได้ว่า Z1(Z2 + Z3) = …………………………………………………

ตัวอย่างที่ 9 อินเวอร์สการบวกของ (2, 3) คือ ……………………………………………………...


อินเวอร์สการบวกของ (1, -7) คือ ……………………………………………………...
อินเวอร์สการบวกของ -3 – 6i คือ ……………………………………………………...
อินเวอร์สการบวกของ -2 – i คือ ……………………………………………………...
อินเวอร์สการบวกของ -2 + 5i คือ ……………………………………………………...

ตัวอย่างที่ 10 อินเวอร์สการคูณของ (2, 3) คือ ……………………………………………………...

อินเวอร์สการคูณของ -2 + 5i คือ ……………………………………………………...

อินเวอร์สการคูณของ 3i คือ ……………………………………………………...


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 7

ตัวอย่างที่ 11 จงหาอินเวอร์สการคูณของ
1. (5 – 3i) + (2 – 5i)

2. (5 - √-125) + (-4 + √-20)

√2 √2 2
3. ( + i)
2 2

ตัวอย่างที่ 12 จงหาอินเวอร์สการคูณของ (1 + i)3

ตัวอย่างที่ 13 จงหาอินเวอร์สการคูณของ (1 + 2i)4


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 8

สังยุคของจำนวนเชิงซ้อน (Conjugate of Complex number)


บทนิยาม สำหรับจำนวนเชิงซ้อน Z = a + bi ใด ๆ
สังยุคของ Z คือ จำนวนเชิงซ้อนที่อยู่ในรูป Z̅ = a – bi หรือ Z̅ = ̅̅̅̅̅
a + bi
เช่น สังยุคของ 2 + 3i คือ 2 – 3i สังยุคของ 2 – 3i คือ ………………………..
สังยุคของ (0, 3) คือ ……………………….. สังยุคของ 5 คือ ………………………..

ตัวอย่างที่ 14 ถ้า Z = (3 + 2√-5)(3 - √-5) จงหา Z̅

ตัวอย่างที่ 15 Z = 2 + 4i จงหา Z - Z̅ และ Z + Z̅

ตัวอย่างที่ 16 จงหาสังยุคของ 2i150 + i179

ตัวอย่างที่ 17 กำหนด Z1 = 1 + 2i และ Z2 = 2 + i จงหา


1. ̅̅̅̅̅̅̅
Z1 + Z2 2. Z̅1 + Z̅2

Z1  Z2
3. ̅̅̅̅̅̅̅ 4. Z̅1  Z̅2
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 9

กำหนด Z = a + bi
Z + Z̅ = …………………………………………………………
Z - Z̅ = …………………………………………………………
Z  Z̅ = …………………………………………………………
Z-1 = …………………………………………………………

การลบและการหารจำนวนเชิงซ้อนโดยใช้อินเวอร์ส
กำหนด Z1 และ Z2 เป็นจำนวนเชิงซ้อน
1. Z1 – Z2 = Z1 + (- Z2)
Z1 1
2. = Z1( ) = Z1 Z2-1 เมื่อ Z2 ≠ 0
Z2 Z2

Z1
ตัวอย่างที่ 18 กำหนด Z1 = 7 – 8i และ Z2 = 4 + 5i จงเขียน Z1 – Z2 และ ในรูป a + bi
Z2

การหารจำนวนเชิงซ้อนโดยคูณด้วยสังยุคของตัวหาร
ตัวอย่างที่ 19 (27 – 5i) ÷ (3 – 7i)
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 10

27 - 5i
ตัวอย่างที่ 20
-5i

i
ตัวอย่างที่ 21 จงเขียน ให้อยู่ในรูป a + bi
2 - 3i

4+i
ตัวอย่างที่ 22 ให้ Z = จงหา Z-1
1 + 4i

1 + i 2545
ตัวอย่างที่ 23 จงหาค่าของ ( )
1-i
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 11

3 + 5i
ตัวอย่างที่ 24 จงเขียน ในรูป x + yi เมื่อ x, y  R
- 4i

5 10
ตัวอย่างที่ 25 จงเขียน + ในรูป a + bi
3 - 4i 4 + 3i

ตัวอย่างที่ 26 ให้ Z = x + yi โดยที่ Z(2 – 3i) = 5 + 3i จงหา Z-1


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 12

ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน Z = a + bi คือ |Z| = |a + bi| = √a2 + b2

เช่น ค่าสัมบูรณ์ของ 3 + 4i คือ |3 + 4i| = ……………………………………………………………………


ค่าสัมบูรณ์ของ 1 + √3 i คือ ……………….……………………………………………………………………
√3 1
ค่าสัมบูรณ์ของ - i คือ ……………….……………………………………………………………………
2 2
ค่าสัมบูรณ์ของ 3i คือ ……………….……………………………………………………………………

สมบัติเกี่ยวกับสังยุคและค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน
กำหนด Z, Z1, Z2 เป็นจำนวนเชิงซ้อนและ n  I+
1. Z̿ = Z 2. ̅̅̅̅̅̅̅
Z1 + Z2 = Z̅1 + Z̅2
3. ̅̅̅̅̅̅̅
Z1 - Z2 = Z̅1 - Z̅2 Z1  Z2
4. ̅̅̅̅̅̅̅ = Z̅1  Z̅2
5. Z̅n = (Z̅ )n 6. |Z|2 = Z  Z̅
7. |Z| = |Z̅ | 8. |Z1Z2| = |Z1||Z2|
Z |Z1 |
9. | 1 | = 10. |Zn| = |Z|n
Z2 |Z2 |

11. |Z-1| = |Z|-1 12. Z-1 =
|Z|2
1
13. ถ้า Z ≠ 0 แล้ว |Z-1| = 14. ถ้า Z ≠ (0, 0) แล้ว n  I+ แล้ว (Zn)-1 = (Z-1)n
|Z̅ |
15. |Z1 + Z2| ≤ |Z1| + |Z2| 16. |Z1 + Z2| ≥ ||Z1| - |Z2||
17. |Z1 + Z2| ≥ |Z1| - |Z2|

ตัวอย่างที่ 27 ให้ Z1 = 2 + 5i และ Z2 = 4 – 3i จงหา |Z1  Z2|


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 13

ตัวอย่างที่ 28 ให้ Z = √5 + 3i จงหา |Z6|

ตัวอย่างที่ 29 จงหาค่าของ
1. |(3 – i)(2 + 4i)(3i)(1 – i)|

2
(√2 + √3i)
2. | 2 |
(1 + √3i) (-3 - 4i)3

1 √3
ตัวอย่างที่ 30 ถ้า Z เป็นรากของสมการ X4 = - I จงหา |Z|
√2 2
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 14

ตัวอย่างที่ 31 ถ้า z = i23 + i24 + i25 + … + i218 จงหา 4z-1

กราฟของจำนวนเชิงซ้อน
ในระบบจำนวนจริง เราสามารถใช้จุดบนเส้นจำนวนแทนตัวเลขของจำนวนจริงแต่ละค่าได้ แต่สำหรับ
จำนวนเชิงซ้อนเราต้องใช้จุดในระนาบเป็นตัวแทนของจำนวนเชิงซ้อน โดยที่ระนาบดังกล่าวประกอบด้วยแกนจริง
(แกน X) และแกนจินตภาพ (แกน Y) และเรียกระนาบนี้ว่า ระนาบจำนวนเชิงซ้อน
เราเขียนจำนวนเชิงซ้อน a + bi ลงบนระนาบเชิงซ้อนด้วยจุด (a, b)
ตัวอย่างที่ 30 จงเขียนจุดแทนจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้บนระนาบเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน 2 + 3i แทนด้วยจุด .........................
จำนวนเชิงซ้อน 4 – 2i แทนด้วยจุด .........................
จำนวนเชิงซ้อน 2 แทนด้วยจุด .........................
จำนวนเชิงซ้อน -3i แทนด้วยจุด .........................

การแทนจำนวนเชิงซ้อนด้วยเวกเตอร์
เวกเตอร์ที่เขียนแทนจำนวนเชิงซ้อน คือ เวกเตอร์ที่มีจุดตั้งต้นอยู่ที่ (0, 0) และจุดสิ้นสุดอยู่ที่จุดที่เขียน
แทนด้วยจำนวนเชิงซ้อนนั้น เช่น เวกเตอร์ที่เขียนแทนด้วยจำนวนเชิงซ้อน a + bi คือเวกเตอร์ที่มีจุดตั้งต้นที่จุด
(0, 0) และมีจุดสิ้นสุดที่จุด (a, b)
กำหนดจำนวนเชิงซ้อน Z = a + bi ดังนั้น |Z| = √a2 + b2

นั่นคือ ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน Z หมายถึง ระยะทางที่วัดจากจุดกำเนิดไปยังจุดสิ้นสุด หรือ


ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อนคือขนาดของเวกเตอร์
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 15

เช่น 1. จงเขียนกราฟของจำนวนเชิงซ้อนทั้งหมดที่สอดคล้องกับสมการ |z| = 3

2. จงเขียนกราฟของจำนวนเชิงซ้อนทั้งหมดที่สอดคล้องกับอสมการ |z – 2 + i| < 2

สรุปลักษณะกราฟของจำนวนเชิงซ้อน
|z| = r |z – a| ≤ r |z – a| ≥ r

|z – a| = r |z – a| < r |z – a| > r

เช่น จงเขียนกราฟแสดงจำนวนเชิงซ้อน z ทั้งหมดในระนาบเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับอสมการ |z| ≥ 3 และ


อสมการ |z – 2| < 2
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 16

จำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว (Polar form)


กำหนด z = a + bi เมื่อ a, b  R โดย z 0 จะได้ว่ารูปเชิงขั้วของ z หาได้ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 : หา r จาก r = |Z| = √a2 + b2
ขั้นตอนที่ 2 : หา จาก tan = 

จะได้ว่า z = r (cos + isin)


z̅ = r (cos(-) + isin(-))
z-1 = r-1(cos(-) + isin(-))

ตัวอย่างที่ 31 จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเชิงขั้ว
1 3
1. z = + i 2. z = 3 – i
2 2

3. z = -2 + 2 3 i 4. z = − 2 2 – 2 i

5. z = -3i 6. z = 5
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 17

ตัวอย่างที่ 32 จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ในรูป a + bi
5 5
1. z = 2 (cos60 + isin60) 2. z = 5(cos + isin )
6 6

3. z = 10 2 (cos225 + isin225)

การคูณและการหารจำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
กำหนด z1 = r1(cos1 + isin1) และ z2 = r2(cos2 + isin2)

z1z2 = r1r2(cos(1 + 2)+ isin(1 + 2))


z1 r
= 1 (cos(1 – 2)+ isin(1 – 2))
z2 r2
z 1n = r1n (cos n1 + isin n1) เมื่อ n  I

   
ตัวอย่างที่ 33 ถ้า z1 = 2(cos + isin ) และ z2 = 3(cos + isin ) จงหา
3 3 6 6
z1
1. z1z2 2.
z2
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 18

ตัวอย่างที่ 34 จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ในรูปของ a + bi
1. (cos18 + isin18)(cos12 + isin12)

cos130 + isin130
2.
cos40 + i sin 40

3. [2(cos15 – isin15)][3(cos70 + isin70)](sin35 – icos35)

4. (cos15 + isin15)3

5. 8(cos135 + isin135)3
1
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 19

ตัวอย่างที่ 35 จงเขียนจำนวนต่อไปนี้ในรูปของ a + bi
1. (-1 + 3 i)5

3 −i
20

2.  
 3 +i

การหารากที่ 2 ของจำนวนเชิงซ้อน
| z | +a | z | −a 
รากที่ 2 ของ z = a  bi คือ    
 2 2 

ตัวอย่างที่ 36 จงหารากที่สองของจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้
1 3
1. z = -5 + 12i 2. - i
2 2

3. z = -4 4. z = 16i
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 20

การหารากที่ n ของจำนวนเชิงซ้อน
ขั้นตอนที่ 1 : เขียน z = a + bi ให้อยู๋ในรูปเชิงขั้ว z = r (cos + isin)
1
 
ขั้นตอนที่ 2 : หารากตัวแรก z0 = r n [cos ( ) + i sin ( )]
n n
360 2
ขั้นตอนที่ 3 : หามุม =
n n
ขั้นตอนที่ 4 : นำมุมที่ได้ในขั้นตอนที่ 3 ไปบวกกับมุมของ z0 ไปเรื่อย ๆ จนได้ครบ n ราก

ตัวอย่างที่ 37 จงหารากที่สามของ 27i

ตัวอย่างที่ 38 จงหารากที่สี่ของ 8 – 8 3 i
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 21

ตัวอย่างที่ 39 จงหารากที่สี่ของ –16 3 + 16i

การแก้สมการพหุนาม
กำหนด P(x) = anxn + an-1xn-1 + an-2xn-2 + … + a1x + a0 เมื่อ an ≠ 0
โดยที่ n  I+ และ an, an-1, an-2, ..., a0 เป็นจำนวนจริง
เรียก P(x) = 0 ว่าสมการพหุนามดีกรี n
เรียกจำนวนเชิงซ้อน a ที่ทำให้ P(a) = 0 ว่าคำตอบของสมการ

ทฤษฎีบทที่ใช้แก้สมการพหุนาม
1. จำนวนเชิงซ้อน a เป็นคำตอบของสมการ P(x) = 0 ก็ต่อเมื่อ x – a เป็นตัวประกอบของ P(x)
2. สมการพหุนาม P(x) = 0 มีคำตอบเสมอในระบบจำนวนเชิงซ้อน
3. ถ้า P(x) = 0 เป็นสมการพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเชิงซ้อนและมีกำลังเป็น n
เมื่อ n  1 แล้วสมการนี้มีคำตอบเป็นจำนวนเชิงซ้อน n คำตอบเท่านั้น
4. กำหนด P(x) = 0 เป็นสมการพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนจริง
ถ้า z เป็นคำตอบของสมการนี้แล้ว z เป็นคำตอบของสมการด้วย
5. กำหนด P(x) = 0 เป็นสมการพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนตรรกยะ
ถ้า a + b เมื่อ a, b  Q และ b  Qc เป็นคำตอบหนึ่งของสมการนี้
แล้ว a - b เป็นคำตอบของสมการนี้ด้วย
6. ถ้า n เป็นจำนวนคี่ จะได้ว่าสมการ P(x) = 0 มีจำนวนคำตอบที่เป็นจำนวนจริงเป็นจำนวนคี่จำนวน
และมีคำตอบที่ไม่ใช่จำนวนจริงเป็นจำนวนคู่จำนวน
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 22

7. ความสัมพันธ์ระหว่างคำตอบของสมการของพหุนามดีกรี 2 และดีกรี 3
1) สมการพหุนามดีกรีสอง : ax2 + bx + c = 0, a ≠ 0
-b ± √b2 - 4ac
จะได้ x =
2a
-b
จะมี ผลบวกของคำตอบทั้งหมด =
a
c
ผลคูณของคำตอบทั้งหมด =
a
2) สมการพหุนามดีกรีสาม : ax3 + bx2 + cx + d = 0, a ≠ 0
-b
จะมี ผลบวกของคำตอบทั้งหมด =
a
c
ผลบวกของผลคูณทีละสองราก =
a
-d
ผลคูณของคำตอบทั้งหมด =
a
3) สมการพหุนามดีกรี n : anxn + an-1xn-1 + an-2xn-2 + … + a1x + a0 เมื่อ an ≠ 0
an - 1
จะมี ผลบวกของคำตอบทั้งหมด = -
an
(-1)n a0
ผลคูณของคำตอบทั้งหมด =
an

ตัวอย่างที่ 40 จงหาเซตคำตอบของสมการต่อไปนี้
1. 2x2 + 4x + 3 = 0

2. x4 + 2x2 – 8 = 0
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 23

3. 2x4 + x3 – 2x – 1 = 0

4. x3 + x2 + x – 3 = 0

5. x4 + x3 – x – 1 = 0
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค32202) หน้า 24

ตัวอย่างที่ 41 ถ้า 2 + 3 I เป็นรากหนึ่งของสมการ x4 – 7x3 + 20x + 14 = 0 จงหาเซตคำตอบของสมการ

ตัวอย่างที่ 42 จงหาสมการดีกรีสามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม โดยมี 2 และ 1 + i เป็นรากหนึ่งของสมการนี้

You might also like