You are on page 1of 39

คิเนติกส์ของอนุภาค

โดยวิธี พลังงาน และโมเมนตัม


KINETICS OF PARTICLES
ENERGY AND MOMENTUM METHODS
วัตถุประสงค์
เพือ่ ให้เข้าใจถึง ความสัมพันธ์ของ งาน-พลังงาน
เพือ่ ให้เข้าใจถึง เรื่องอิมพลัส และโมเมนตัม
เพือ่ ให้เข้าใจถึง เรื่องการกระแทก

โดยรศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
KINETICS OF PARTICLES
ENERGY AND MOMENTUM METHODS
เมื่อพิจารณาแรง F ที่กระทาบนอนุภาค
ds A2 A งานเนื่องจากแรง F ที่สมั พันธ์กบั การ
s2
A dr a เคลื่อนที่เป็ นระยะขจัดเล็ก ๆ dr เขียน
A1
F เป็ น
s dU = F dr
s1
หรือเขียนเป็ นสมการสเกลลาได้วา่
dU = F ds cos a

เมื่อ a เป็ นมุมระหว่าง F กับ dr


โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
dU = F dr = F ds cos a
ds A2
s2
A dr a หากให้ U1 2 คืองานเนื่องจาก F ในช่วง
F
A1 ระยะขจัดจาก A1 ไป A2 จะหางานได้จาก
s1
s การอินทิเกรตตามเส้นทางเดินของอนุภาค

F dr
A2
U1 2 =
A1

สาหรับแรงในระบบพิกดั ฉาก จะเขียนได้วา่


A2
U1 2 =

A1
(Fxdx + Fydy + Fzdz)
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
A2

W
งานเนื่องจากวัตถุหนัก W
dy
y2
ที่ศนู ย์กลางมวลเปลี่ยน
A
A1 ระดับจาก y1 ไป y2 หาได้
y1 y โดยแทน Fx = Fz = 0 และ
Fy = - W
y2
U1 2= 
- Wdy = Wy1 - Wy2
y1

งาน จะเป็ นลบเมื่อระดับสูงขึน้ และ จะเป็ นบวกเมื่อระดับต่าลง


โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
งานที่แรง F เนื่องจากสปริงกระทาบนวัตถุ A
สปริง ยังไม่ถกู ยืด ในช่วงระยะขจัดจาก A1 (x = x1) ถึง A2 (x = x2)
จะหาได้จาก
AO
B dU = -Fdx = -kx dx
x2

B x1 A1
U1 2 =-  x1
k x dx

F 1 2 1 2
= 2 kx1 - 2
kx2
x A
งานจะเป็ นบวกเมื่อปล่อยสปริงกลับ
ตาแหน่งที่ยงั ไม่ถกู ยืด
B x2 A2
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
A2
งานเนื่องจากแรงดึงดูด F ที่อนุภาค
dr
A’
มวล M ซึง่ อยูท่ ่ี O กระทาบนอนุภาค
m
มวล m ให้เคลื่อนที่จาก A1 ไป A2 จะ
r2 A หาได้จาก

r2
r
GMm dr
dq F U1 2=
r1 r2
-F A1

q r1 GMm GMm
M = -
O r2 r1

โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา


พลังงานจลน์ (kinetic energy) ของอนุภาคมวล m ซึง่ เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ว v
จะเป็ นปริมาณสเกลลามีคา่ เป็ นบวกเสมอ ซึง่ กาหนดตามสมการ
1 2
T= 2
mv
หลักการของงานและพลังงาน ซึง่ ได้จากการขยายความกฎข้อที่สองของ
นิวตัน แสดงไว้วา่ พลังงานจลน์ของอนุภาคที่ตาแหน่ง A2 จะเท่ากับผลรวม
ของพลังงานจลน์ท่ีตาแหน่ง A1 และงานเนื่องจากแรง F กระทาบนอนุภาคที่
เกิดขึน้ ในช่วงระยะขจัด A1 ถึง A2
T1 + U1 2 = T2
พลังงานจลน์ และงาน ซึง่ เป็ นปริมาณสเกลลาจะมีหน่วยเดียวกัน คือ
นิวตัน.เมตร หรือ จูล (Joules - J)
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
กาลัง (Power) ของเครือ่ งจักรกล คืออัตราการเปลี่ยนแปลงของงาน
ที่กระทาต่อหน่วยเวลา จะเขียนได้วา่ :
กาลัง =
dU
dt
=F v หน่วย จูล/วิ

เมื่อ F เป็ นแรงที่กระทาบนอนุภาค และ v คือความเร็วของอนุภาค หาก


อนุภาคเคลื่อนที่เป็ นวงกลมซึง่ v = w x r จะได้วา่
กาลัง = Tw
ประสิทธิภาพเชิงกล (mechanical efficiency) ของเครือ่ งจักรกลจะมี
สัญลักษณ์เป็ น h (Eta) คือ
power output ในบางที่อาจใช้
h= power input em แทน h
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
หากงานเนื่องจากแรง F ไม่ขนึ ้ กับเส้นทางเดิน จะถือว่าแรง F เป็ น แรงอนุรกั ษ์
(conservative force) งานจะมีคา่ เท่ากับผลต่างของการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
ศักย์ V ที่สมั พันธ์กบั F :
U1 2 = V1 - V2
พลังงานศักย์ท่สี มั พันธ์กบั แรง ดังที่แสดงไว้ตอนต้นคือ
แรงโน้มถ่วง (นา้ หนัก) : Vg = Wy
ห่างผิวโลกน้อยคิด g คงที่

แรงดึงดูด : GMm
Vg = -
ห่างผิวโลกมากคิด g ไม่คงที่ r
1
แรงยืดหยุน่ เนื่องจากสปริง : Ve = 2 kx2
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
จาก U1 2 = V1 - V2
ซึ่งเป็ นความสัมพัน ธ์ร ะหว่าง งานกับ พลัง งานศักย์ เมื่ อรวมกับ
ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานจลน์ (T1 + U1 2 = T2) จะได้
T1 + V 1 = T2 + V 2

เรียกว่า หลักของการอนุรกั ษ์พลังงาน (principle of conservation of


energy) ซึ่ง สามารถอธิ บายไดัว่า เมื่ อ อนุภาคเคลื่ อนที่ ภายใต้แรง
อนุรกั ษ์ ผลรวมของพลังงานจลน์และพลังงานศักย์จะมีค่าคงที่ ซึ่ง
การประยุกต์หลักการนีจ้ ะใช้ได้กบั ปั ญหาที่เกี่ยวข้องกับแรงอนุรกั ษ์
เท่านัน้
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
คาจากัดความของโมเมนตัมเชิงเส้นคือผลคูณ mv ของอนุภาคมวล
m มีความเร็ว v ซึง่ เมื่อพิจารณากฎข้อที่สองของนิวตัน F = ma จะได้
ความสัมพันธ์ t2
mv1 +
 F dt = mv2
t1
เมื่อ mv1 และ mv2 คือโมเมนตัมของอนุภาคที่เวลา t1 และ t2
ตามลาดับ สาหรับเทอมภายใต้เครือ่ งหมายอินทิเกรตคือ อิมพลัสเชิง
เส้น (linear impulse) ของแรง F ในช่วงเวลานัน้ จึงเขียนได้วา่
mv1 + Imp1 2 = mv2
ซึง่ เป็ น กฎอิมพลัสและโมเมนตัมของอนุภาค
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
หากอนุภาคมีหลายแรงมากระทา ก็จะใช้ ผลรวมอิมพลัสของแรง
เหล่านัน้ mv + SImp = mv
1 1 2 2

สมการข้างต้นเป็ นสมการเวกเตอร์ จึงต้องพิจารณาส่วนประกอบ


ในแกน x และ y แยกจากกัน
วิธีอิมพลัสและโมเมนตัม เหมาะกับการศึกษาเกี่ยวกับการ
เคลื่ อ นที่ ข องอนุภ าคเนื่ อ งจากอิ ม พลัส (เมื่ อ แรงขนาดใหญ่ ที่
เรียกว่าแรงอิมพลัสกระทาในช่วงเวลาสัน้ มาก ๆ Dt) และวิธีนีจ้ ะ
สนใจเฉพาะอิมพลัส FDt ของแรง แต่ไม่สนใจตัวแรงโดยตรง จึง
ไม่พิจารณาผลของแรงที่ไม่ทาให้เกิดอิมพลัส จึงสามารถเขียนได้
ว่า mv1 + SFDt = mv2
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
สาหรับ การเคลื่อนที่เนื่องจากอิมพลัส ของอนุภาคหลายตัว จะได้วา่
Smv1 + SFDt = Smv2

โดยเทอมที่สองจะเป็ นเฉพาะเนื่องจากแรงภายนอกที่ทาให้เกิดอิมพลัส
เท่านัน้ ดังนัน้ เมื่อพิจารณากรณีท่ี ผลรวมอิมพลัสเนื่องจากแรง
ภายนอกเป็ นศูนย์ สมการจะลดรูปเป็ น
Smv1 = Smv2

ซึง่ เป็ น การอนุรกั ษ์โมเมนตัมเชิงเส้น (conservation of


linear momentum) สาหรับอนุภาคหลายตัว
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
Line of
Impact การกระแทก - Impact
vB ในกรณี ของ การกระแทกตามแนว
B ศูนย์กลาง (direct central impact) วัตถุ
สองชิ น้ A และ B ซึ่ง ชนกัน จะเคลื่ อ นที่
A Before Impact ตาม แนวการกระแทก (line of impact )
vA ด้วยความเร็ว vA และ vB ตามลาดับ จะ
ใช้สองสมการ เพื่อหาความเร็วหลังการ
v’B กระแทก v’A และ v’B สมการแรกเป็ นการ
อนุรกั ษ์โมเมนตัมรวมของวัตถุทงั้ สอง
B
mAvA + mBvB = mAv’A + mBv’B
A
v’A After Impact โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
Line of
Impact
mAvA + mBvB = mAv’A + mBv’B
vB สมการที่สองเป็ นความสัมพันธ์ของ ความเร็ว
B สัมพัทธ์ สาหรับวัตถุทงั้ สอง ก่อน และหลังการ
กระแทก
A Before Impact
v’ B - v’ A = e (v A - v B )
vA ค่าคงที่ e เรียกว่า สัมประสิทธ์การกระแทก
(coefficient of restitution) ซึง่ มีคา่ ในช่วง
v’B 0 ถึง 1 โดยขึน้ อยูก่ บั ชนิดของวัสดุ
B
e = 0 เรียกว่าเป็ นการกระแทกอย่างพลาสติค
สมบูรณ์ (perfectly plastic)
A e = 1 เรียกว่าเป็ นการกระแทกอย่างยืดหยุน่
v’A After Impact สมบูรณ์ (perfectly elastic)
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
Line of ในกรณี การกระแทกเยือ้ งศูนย์ (oblique central
Impact n
impact) จะหาความเร็ ว ก่ อ น และหลั ง การ
t กระแทกของวัตถทั้งุสองชิ น้ โดยการพิจารณา
vB
B ส่วนประกอบในแนว n (แนวกระแทก) และแนว
t (แนวสัมผัสร่วม)
A Before Impact สาหรับแนว t
vA
(vA)t = (v’A)t (vB)t = (v’B)t
v’B n
สาหรับแนว n
t
mA (vA)n + mB (vB)n =
v’A
mA (v’A)n + mB (v’B)n
B
vB และจากสมบัติของวัสดุ ได้วา่
A (v’B)n - (v’A)n = e [(vA)n - (vB)n]
vA After Impact โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
Line of
n
Impact
(vA)t = (v’A)t (vB)t = (v’B)t
t
vB mA (vA)n + mB (vB)n =
B
mA (v’A)n + mB (v’B)n
A Before Impact
(v’B)n - (v’A)n = e [(vA)n - (vB)n]
vA
v’B n
แม้วิธีการนีจ้ ะพิจารณาจากวัตถุทีเคลื่อนที่
t อย่างอิสระทัง้ ก่อน และหลังการกระแทก
v’A B สมการที่ได้ก็สามารถประยุกต์กบั กรณีการ
vB
กระแทกโดยที่วตั ถุหนึ่งชิน้ หรือทัง้ สองชิน้ มี
A
การเคลื่อนที่แบบถูกบังคับ
vA After Impact โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
Problem
650 กก
ค้อนเหล็กมวล 650 กก ของเครือ่ งตอก
1.2 ม เสาเข็มถูกปล่อยจากความสูง 1.2 ม ลงบน
140 กก ปลายเสาเข็มมวล 140 กก ทาให้จมลง 110
มม หากการกระแทกเป็ นพลาสติคสมบูรณ์
(e = 0 ) จงหาความต้านทานเฉลี่ยของพืน้

โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา


ค้อนเหล็กมวล 650 กก ของเครือ่ งตอกเสาเข็ม
ถูกปล่อยจากความสูง 1.2 ม ลงบนปลาย
650 กก
เสาเข็มมวล 140 กก ทาให้จมลง 110 มม หาก
การกระแทกเป็ นพลาสติคสมบูรณ์ (e = 0 ) จง
หาความต้านทานเฉลี่ยของพืน้
1.2 ม 1. ประยุกต์หลักอนุรกั ษ์พลังงาน: เมื่ออนุภาค
เคลื่อนที่ภายใต้แรงอนุรกั ษ์ ผลรวมของพลังงานจลน์
140 กก และพลังงานศักย์จะมีคา่ คงที่
T1 + V1 = T2 + V2
1ก. พลังงานจลน์: พลังงานจลน์ท่ีตาแหน่งต่าง ๆ หา
ได้จาก T = 1 m v2
2
1ข. พลังงานศักย์: พลังงานศักย์ของนา้ หนัก W ที่อยูใ่ กล้ผิวโลกมีระยะสูง y
จากระดับที่พิจารณา คือ
Vg = W y
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
2. ประยุกต์หลักอนุรกั ษ์โมเมนตัม: ระหว่างการกระแทกของ
อนุภาคทัง้ สอง A และ B จะเป็ นการอนุรกั ษ์ของ A และ B เมื่อไม่
650 กก มีอิมพลัสจากแรงภายนอก
1.2 ม
140 กก mA vA + mB vB = mA v’A + mB v’B

เมื่อ vA และ vB คือความเร็วก่อนการกระแทก ส่วน v’A และ v’B


คือความเร็วหลังการกระแทก ของอนุภาค
เนื่องจากการกระแทกแบบพลาสติคสมบูรณ์ (e = 0) ความเร็ว
หลังการกระแทก v’A = v’B = v’ และ
mA vA + mB vB = (mA + mB) v’

โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา


650 กก 3. ประยุกต์หลักการของ งาน-พลังงาน: เมื่ออนุภาค
เคลื่อนที่เนื่องจากแรง F จากตาแหน่ง 1 ไป 2 งาน
1.2 ม
140 กก
เนื่องจากแรง F จะเท่ากับการเปลี่ยนแปลงพลังงานศักย์
ของอนุภาค

T1 + U1 2 = T2
เมื่อ
T1 = 1 m v12 ,
2 T2 = 1 m v22
2 และ U1 2 = F . dr

โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา


ประยุกต์หลักอนุรกั ษ์พลังงาน
พิจารณาการเคลื่อนที่ของค้อนที่ถกู ปล่อย ขณะกาลังจะกระแทกเสาเข็ม
ตาแหน่ง 1 ตาแหน่ง 2
650 กก v1 = 0 650 กก
v2
y
1.2 ม 1.2 ม
T1 + V1 = T2 + V2
0 + mg (1.2 ม) = 1 m v22 + 0
2
v22 = 2 ( 9.81 ม/วิ2 )(1.2 ม)
v2 = 4.85 ม/วิ

โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา


ประยุกต์หลักอนุรกั ษ์โมเมนตัม
ขัน้ ตอนของการกระแทก:
ก่อน mค้อน vค้อน หลัง mค้อน v’
กระแทก: กระแทก:
mเสาเข็ม vเสาเข็ม = 0 mเสาเข็ม v’

mค้อน vค้อน + mเสาเข็ม vเสาเข็ม = ( mค้อน + mเสาเข็ม ) v’


(650 กก)( 4.85 ม/วิ) + 0 = (650 กก + 140 กก) v’
v’ = 3.99 ม/วิ
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
ประยุกต์หลักการของ งาน-พลังงาน
การเคลื่อนที่ของค้อน และเสาเข็มจะสวนทางกับแรงต้านของดิน
v’ v=0
W
ตาแหน่ง 1 งาน ตาแหน่ง 2
110 มม

R
T1 + U1 2 = T2
1 ( mค้อน + mเสาเข็ม ) v’2 + (Wค้อน + Wเสาเข็ม - R) y = 0
2
1 (650 + 140) (3.99)2 + [(650 + 140)(9.81) - R](0.110) = 0
2
Rโดย=รศ.ดร.สุ
65,000รเชษฐ์ ชุติมา
นิวตัน
Problem
กระสุนหัวเหล็กหนัก 25 กรัมถูกยิงใน
D
10 มม แนวราบด้วยความเร็ว 600 ม/วิ และ
20o
C สะท้อนแผ่นเหล็กไปตามเส้นทาง CD
A B
15o ด้วยความเร็ว 400 ม/วิ หากกระสุนทา
ให้เกิดรอยยาว 10 มม บนแผ่นเหล็ก
โดยสมมติความเร็วเฉลี่ยกระสุนขณะ
สัมผัสกับแผ่นเท่ากับ 500 ม/วิ จงหา
ขนาด และทิศทางของแรงเฉลี่ยที่
กระสุนกระทากับแผ่นเหล็ก
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
10 มม D
20o
A B C
15o

1. เขียนแผนภาพแสดงโมเมนตัม และอิมพลัส: เพื่อแสดงโมเมนตัมของอนุภาค


ที่เวลา t1 และ t2 และอิมพลัสเนื่องจากแรงที่กระทากับอนุภาคในช่วงเวลา t1 ถึง t2
2. ประยุกต์หลักของอิมพลัสและโมเมนตัม: โมเมนตัมของอนุภาคหลังจากการ
ชน mv2 หาได้จากผลรวมระหว่าง โมเมนตัมก่อนการชน mv1 กับอิมพลัสของแรง
F ที่กระทาต่ออนุภาคในช่วงที่พิจารณา
mv1 +SF Dt = mv2
SF คือผลรวมของแรงที่ทาให้เกิดอิมพลัส (แรงที่มีขนาดมากพอที่ทาให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม) โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
10 มม D
20o
A C เขียนแผนภาพแสดงโมเมนตัม
B
15o และอิมพลัส
y
y
y m v1 x m v2 x
x
15 o + Fx Dt
= 20o

Fy Dt

กระสุนทาให้เกิดรอยยาว 10 มม โดยมีความเร็วเฉลี่ยขณะสัมผัสกับ
แผ่นเหล็กเท่ากับ 500 ม/วิ ดังนัน้ เวลาที่กระสุนสัมผัสแผ่นเหล็ก Dt คือ:
Dt = (0.010 ม) / (500 ม/วิ) = 2x10-5 วิ
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
y
ประยุกต์หลักของอิมพลัสและโมเมนตัม
y
y m v1 x m v2 x
x
15 o + Fx Dt
= 20o

mv1 +SF Dt = mv2 Fy Dt


+ x (0.025 กก)(600 ม/วิ) cos15o+ FxD2x10-5วิ =(0.025 กก)(400 ม/วิ) cos20o
Fx = - 254.6 กิโลนิวตัน
+ y -(0.025 กก)(600 ม/วิ) sin15o+ FyD2x10-5 วิ =(0.025 กก)(400 ม/วิ) sin20o
Fy = 365.1 กิโลนิวตัน
F= ( -254.6 )2 + ( 365.12 )2 = 445 กิโลนิวตัน
F = 445 กิโลนิวตัน 40.1o
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
Problem
ทรงกลม B มวล m ผูกอยูก่ บั เชือกที่ยืด-
O D หดไม่ได้ยาว 2a คล้องผ่านหลักที่จดุ A
B 45o และยึดอยูท่ ่จี ดุ O ในตอนแรกทรงกลมถูก
a A ถือไว้ใกล้จดุ O แล้วปล่อย ทรงกลมจะตก
C’’ ลงสูจ่ ดุ C อันเป็ นตาแหน่งที่เส้นเชือกตึง
และเกิดการแกว่งบนระนาบ ขัน้ ต้นรอบ
C C’ จุด A และจากนัน้ ก็รอบจุด O จงหาระยะ
ในแนวดิ่งที่วดั จากเส้น OD ไปยัง
จุดสูงสุดที่ทรงกลมแกว่งถึง C’’

โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา


1. ประยุกต์หลักอนุรกั ษ์พลังงาน: เมื่อ
O D อนุภาคเคลื่อนที่ภายใต้แรงอนุรกั ษ์ ผลรวม
B 45o ของพลังงานจลน์และพลังงานศักย์จะมี
a A ค่าคงที่
C’’
T1 + V1 = T2 + V2
C C’
1ก. พลังงานจลน์: พลังงานจลน์ท่ี
ตาแหน่งต่าง ๆ หาได้จาก T = 1 m v2
2

1ข. พลังงานศักย์: พลังงานศักย์ของนา้ หนัก W ที่อยูใ่ กล้ผิวโลกมีระยะสูง y


จากระดับที่พิจารณา คือ Vg = W y
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
2. ประยุกต์หลักของอิมพลัสและโมเมนตัม:
O D โมเมนตัมของอนุภาคหลังจากการชน mv2
B 45o
a
หาได้จากผลรวมระหว่าง โมเมนตัมก่อน
A
C’’ การชน mv1 กับอิมพลัสของแรง F ที่กระทา
C
ต่ออนุภาคในช่วงที่พิจารณา
C’
mv1 +SF Dt = mv2
SF คือผลรวมของแรงที่ทาให้เกิดอิมพลัส
(แรงที่มีขนาดมากพอที่ทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงโมเมนตัม)
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
ประยุกต์หลักอนุรกั ษ์พลังงาน
การเคลื่อนที่ของทรงกลมจากจุด B ไปจุด C (ก่อนเชือกตึง)
y
O D O D
B 45o B 45o
vB = 0 a A a A

ตาแหน่ง 1 ตาแหน่ง 2
C
vC
T1 + V1 = T2 + V2
0 + 0 = 1 m vC2 - m g (2 a sin 45o )
2
vC = 1.682 g a
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
ประยุกต์หลักของอิมพลัสและโมเมนตัม
พิจารณาทรงกลมที่ตาแหน่ง C เมื่อเชือกเริม่ ตึงและทิศทางความเร็วของ
ของทรงกลมเปลี่ยนไปเป็ นตัง้ ฉากกับเชือก
O D O D
B 45o B 45o
a A a A
อนุรกั ษ์โมเมนตัมเชิงเส้น
ในทิศเส้นสัมผัสเนื่องจาก
อิมพลัสของแรงภายนอก
C o C v’C (เชือกกระทาบนทรงกลม)
vC 45
t t อยูใ่ นทิศตัง้ ฉาก
m vC cos 45o = m v’C
v’C = vC cos 45o = 1.682 g a cos 45o
v’C = 1.1892 ga
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
ประยุกต์หลักอนุรกั ษ์พลังงาน
การเคลื่อนที่ของทรงกลมจากจุด C ไปยังจุด C’’
O D y O D
B 45o B 45o
a a vC’’= 0 d
2 a sin45o A A
ตาแหน่ง 2 ตาแหน่ง 3 C’’
C v’C = 1.1892 g a
T2 + V2 = T3 + V3
1 m (v’C)2 - m g (2 a sin 45o ) = 0 - m g d
2
1 m (1.1892)2 g a - m g (2 a sin 45o ) = 0 - m g d
2
d = 0.707 a
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
vB
B v0= 10 m/s
h
60o
d A
ทรงกลมA มวล 2 กก. พุ่งเข้ากระทบพืน้ ด้วยความเร็ว v0 = 10 เมตร/
วินาที ทามุม 60o กับแนวราบดังรูป แล้วเคลื่อนทีต่ ามเส้นประไปยัง
ตาแหน่ง B ซึง่ ทีต่ าแหน่งนีท้ รงกลมจะมีความเร็วอยู่ในแนวราบเท่านั้น
จงหา ระยะ h และ d ตลอดจนความเร็วทีต่ าแหน่ง B (vB) กาหนดให้
สัมประสิทธิ์ของการกระแทกเท่ากับ 0.6
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
vB
B n v0= 10 m/s
h
t 60o
d A
ทรงกลมA มวล 2 กก. จะมีการสูญเสียโมเมนตัมเชิงเส้นในแนวตัง้ ฉากขณะพุง่ เข้ากระทบ
พืน้ เนื่องจากสัมประสิทธิ์ของการกระแทกเท่ากับ 0.6 ส่วนในแนวสัมผัสจะอนุรกั ษ์
โมเมนตัมเชิงเส้น นอกจากนัน้ การเคลื่อนที่จาก A ไป B ไม่มีแรงภายนอกมากระทา
นอกจากแรงดึงดูดโลก จึงเป็ นการอนุรกั ษ์พลังงาน
กาหนดให้
v0 = ความเร็วก่อนกระทบพืน้ vA = ความเร็วหลังกระทบพืน้ vB = ความเร็วที่ตาแหน่ง B

โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา


vB

ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ว ก่อนและหลัง กระทบ B n v0= 10 m/s


h
พืน้ ในแนว n t 60o
(vA)n = (0.6) v0 sin 60o = 5.2 m/s d A
ความเร็วหลัง กระทบพืน้ vA = [(vA)2n + (vA)2t]1/2 = (5.22 +52)1/2 = 7.21 m/s
อนุรกั ษ์พลังงานจาก A ไป B จะได้ TA + VA = TB + VB
½ m vA2 + 0 = ½ m vB2 + mgh
0.5 (7.21)2 = 0.5 (5)2 + 9.81h
h = 0.265 m
ระยะ d หาจากการเคลื่อนที่เป็ นวิถีโค้งด้วยความเร่ง g คงที่ โดยหาเวลาจากการ
เคลื่อนที่แจากสมการ
นวดิ่ง (vA)n = (vB)n + gt จะได้ t = 5.2/9.81 = 0.53 s
ระยะ d = (vA)t t = 5 (0.53) = 2.65 m ตอบ
โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา
Problem
กล่อง A B และ C หนัก 3 กิโลกรัมเท่ากัน ถูกปล่อยจากตาแหน่งอยู่
นิ่ง q = 0 จงหาค่ามุม q สูงสุดทีเ่ กิดขึน้ และแรงตึงในเส้นเชือกที่
ตาแหน่งนั้น
a a
D q E
q

A
B C

โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา


a a เนื่องจากมีเฉพาะแรงดึงดูดของโลกเท่านัน้ ที่กระทา
กับระบบ จึงเป็ นการอนุรกั ษ์พลังงานระหว่าง
D q E
q ตาแหน่งเริม่ ต้น และตาแหน่งสุดท้าย
h1 a + h2 สมมติมวล A เคลื่อนจากตาแหน่งเริม่ ต้นที่ q = 0
A ไปยังตาแหน่งสุดท้ายต่ากว่าตาแหน่งเดิม h1
จากความสัมพันธ์ระหว่าง a h1 และมุม q จะได้วา่
B C h1 = a tan q ขณะที่มวล A ต่าลง มวล B
และ C จะเคลื่อนที่สงู ขึน้ h2 ดังนัน้
h2
h2+ a = (a / cos q) : h2 = (a / cos q) - a
ตาแหน่งเริม่ ต้น และตาแหน่งสุดท้าย มีความเร็วเป็ น ศูนย์ ใช้หลักการอนุรกั ษ์พลังงาน
T1 + V1 = T2 + V2 หรือ DT + DV =0
mA gh1 - (mB +mC) gh2 = 0 sin q +2 cos q = 2 T sin q T sin q 2 T sin q = 3 (9.81)
A
h1 - 2 h2= 0 q = 53.13 o
3 (9.81)
T = 18.4 นิวตัน
a tan q -2{ (a / cos q) - a}= 0 โดย รศ.ดร.สุรเชษฐ์ ชุติมา FBD ของกล่อง A

You might also like