You are on page 1of 14

11/11/64

ชื่อวิชา เครื่องจักรกลไฟฟ้า 1
Electrical Machine 1
รหัสวิชา ETE 2203
หน่วยกิต 3 หน่วย
อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.เจนศักดิ์ เอกบูรณะวัฒนน์

คำอธิบำยรำยวิชำ
▪ แหล่งกาเนิดพลังงาน หลักการแปรรูปพลังงาน พลังงานและ
พลังงานร่วม แม่เหล็กไฟฟ้า วงจรแม่เหล็ก
▪ ทฤษฎีและการวิเคราะห์หม้อแปลง การใช้งานหม้อแปลงไฟฟ้า
▪ หลั ก การและโครงสร้ า งของเครื่ อ งจั ก รกลไฟฟ้า กระแสตรง
คุณสมบัติของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง ชนิดต่าง ๆ
▪ หลักการของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
▪ การเริ่ม เดินและการควบคุมความเร็ว รอบของมอเตอร์ไฟฟ้ า
กระแสตรง
▪ การป้องกันเครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรง

1
11/11/64

พลัง หรือ กาลัง (Power)


พลัง หรือ กาลัง คือ อัตราการทางานหรืออัตราที่พลังงาน
ถูกใช้หรือเปลี่ยนรูปไป มีหน่วยเป็นวัตต์ (W) หรือ กิโลวัตต์ (kW)

พลังงาน (Energy)
พลังงาน หมายถึง ความสามารถในการทางานได้ มี
หน่วยวัดเป็น จูล (Joules) หรือ กิโลวัตต์-ชั่วโมง (kWh)

2
11/11/64

ไฟฟ้าเกิดขึน้ ได้อย่างไร
วัตถุ ประกอบด้วยอะตอมจานวนมาก แล้ว "อะตอมคืออะไร" คาถามนี้
ต้องเกิดขึ้นแน่นอน ดังนั้นจะขออธิบายสั้นๆ ว่า

อะตอม เป็นอนุภาคที่มีขนาดเล็กมาก ๆ เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ


หนึ่งในร้อยล้านเซนติเมตร อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสและอิเล็กตรอน
โดยอิเล็กตรอนโคจรรอบนิวเคลียส จ านวนอิเล็กตรอนของอะตอมแต่ละ
ชนิดจะแตกต่างกัน จึงทาให้คุณสมบัติของอะตอมนั้น ๆ แตกต่างกันไปด้วย

➢ ภายในนิวเคลียสของอะตอมประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอน
➢ จานวนโปรตอนจะเท่ากับจานวนของอิเล็กตรอน
➢ อิเล็กตรอนมี ไฟฟ้าลบ (-) โปรตอนมีไฟฟ้าบวก (+)
➢ อิเล็กตรอนหมุนรอบนิวเคลียสของอะตอมด้วยวงโคจรที่แน่นอนด้วยแรงดึงดูดที่ทาให้
อิเล็กตรอนติดอยู่กับอะตอม อิเล็กตรอนจึงหลุดไปจากอะตอมไม่ได้
➢ อิเล็กตรอนตัวที่อยู่วงโคจรนอกสุดซึ่งห่างจากนิวเคลียสมากมีแรงดึงดูดน้อย เมื่อมี
อิทธิพลจากภายนอกเข้ามารบกวนอิเล็กตรอนจึงหลุดพ้นจากวงโคจรนั้นได้และ
สามารถเคลื่อนไหวอย่างอิสระระหว่างอะตอมได้ ซึ่งทาให้เกิดปรากฏการณ์ต่าง ๆ
ทางไฟฟ้า

3
11/11/64

วัตถุใดที่มีอิเล็กตรอนอิสระจานวนมาก จะมีคุณสมบัติเป็น ตัวนำไฟฟ้ำ


แต่ถ้ามีจานวนน้อยจะมีคุณสมบัติเป็น ฉนวนไฟฟ้ำ

วัตถุทุกชนิดประกอบด้วยอะตอมที่มีไฟฟ้า ดังนั้นวัตถุทุกชนิดควรมีไฟฟ้าด้วย
ภายในอะตอมของวัตถุนั้นมีปริมาณไฟฟ้าบวกและลบเท่ากัน แรงกระทาจาก
ไฟฟ้าบวก และไฟฟ้าลบ จึงหักล้างกันพอดี สภาพเช่นนี้เรียกว่า
“สภำพเป็นกลำงทำงไฟฟ้ำ”
(ทั้งไฟฟ้าบวกและไฟฟ้าลบยังคงมีอยู่ในจานวนที่เท่ากัน)

เหตุการณ์ที่แสดงให้เห็นชัดเจนว่าวัตถุมีไฟฟ้า คือ กำรเกิดไฟฟ้ำสถิต


เช่น เมื่อเรานาวัตถุสองชนิดมาถูกัน จะเกิดไฟฟ้าสถิตขึ้น อธิบายได้ว่า อิเล็ก
ตรอนอิสระที่อยู่ภายในวัตถุชนิดหนึ่งเคลื่อนไหวรุนแรงมากขึ้นจนสามารถ
หลุดพ้นจากแรงยึดเหนี่ยวของนิวเคลียสของอะตอม และกระโดดไปอยู่ใน
วัตถุอีกชนิดหนึ่ง อิเล็กตรอนในวัตถุชนิดแรกมีจานวนลดลง จึงแสดงความ
เป็นไฟฟ้าบวกออกมา ในขณะเดียวกันวัตถุที่ได้รับอิเล็กตรอนอิสระจะทาให้
มีไฟฟ้าลบมากกว่า จึงแสดงความเป็นไฟฟ้าลบออกมา

4
11/11/64

โดยทั ่ ว ไปการที ่ ว ั ต ถุ เ กิ ด
ไฟฟ้าขึ้นเรียกว่า วัตถุนั้น มีประจุ
ไฟฟ้ า ประจุ ไ ฟฟ้ า มี ท ั ้ ง ประจุ
บวก และประจุ ล บ ประจุ ไ ฟฟ้ า
แสดงถึ ง ปริ ม าณไฟฟ้ า มี หน่ ว ย
เป็น คูลอมบ์ (Coulomb)

แหล่งกาเนิดไฟฟ้า
แหล่งกาเนิดไฟฟ้ามีหลายชนิด ดังนี้
1. ไฟฟ้ ำทีเ่ กิดจำกกำรเสี ยดสี กนั ของวัตถุ
การนาวัตถุ 2 ชนิดมาเสียดสีกันจะเกิดไฟฟ้า เรียกว่า “ไฟฟ้ำสถิต”
ผู้ค้นพบไฟฟ้าสถิต ก็คือ นักปราชญ์กรีกโบราณท่านหนึ่ง ชื่ อ เทลิส
(Philosopher Thales ; 640-546 ปี ก่อนคริสต์ศักราช) แต่ยังไม่
ทราบอะไรเกี่ยวกับไฟฟ้ามากนัก จนถึงสมัย เซอร์ วิลเลียมกิลเบอร์ค
(Sir William Gilbert ; ค.ศ. 1544-1603) ได้ทดลองนาเอาแท่ง
อาพันถูกับผ้าขนสัตว์ ปรากฏว่าแท่งอ าพันและผ้าขนสัตว์ส ามารถดูด
ผงเล็ก ๆ ได้ปรากฏการณ์นี้ คือ การเกิดไฟฟ้าสถิตบนวัตถุทั้งสอง

5
11/11/64

2. ไฟฟ้ ำทีเ่ กิดขึน้ จำกปฏิกริ ิยำเคมี


แหล่งกาเนิดไฟฟ้าจากพลังงานทางเคมีเป็นไฟฟ้าชนิดกระแสตรง
(Direct Current) สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ
- เซลล์ปฐมภูมิ (Primary Cell)
- เซลล์ทุติยภูมิ (Secondary Cell)

อเลสซำนโดร โวลตำ เป็นนักฟิสิกส์ ผู้ซึ่งคิดค้นแบตเตอรี่ (เซลล์ไฟฟ้าเคมี) ขึ้นมาใน


ค.ศ. 1800

3. ไฟฟ้ำที่เกิดขึน้ จำกพลังงำนแม่ เหล็กไฟฟ้ ำ


กระแสไฟฟ้าที่ได้มาจากพลังงานแม่เหล็ก โดยวิธีการใช้ลวด
ตัวนาไฟฟ้าตัดผ่านสนามแม่เหล็ก หรือการน าสนามแม่เหล็กวิง่ ตัดผ่าน
ลวดตัวนาอย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งสองวิธีนี้จะทาให้มีกระแสไฟฟ้าไหลใน
ตัวนานั้น กระแสที่ผลิตได้มีทั้งกระแสตรงและกระแสสลับ

ผู้ค้นพบ คือ ไมเคิล ฟาราเดย์ (Michael Faraday) (ค.ศ. 1791 –1867) เป็นนักเคมี
และนักฟิสิกส์ ชาวอังกฤษ เป็นผู้คิดค้นไดนาโมในปี ค.ศ. 1821

6
11/11/64

3.1 เครื่ องกำเนิดไฟฟ้ ำกระแสตรง (DC Generator)


หลักการของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงอาศัยหลักการที่ตัวนา
เคลื่อนที่ตัดสนามแม่เหล็กจะทาให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าขึ้นในลวดตัวนา
นั้น

3.2 เครื่ องกำเนิดไฟฟ้ ำกระแสสลับ (AC Generator)


มีโครงสร้างและหลักการเหมือนเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง แต่ที่
ปลายของอาร์มาเจอร์ใช้มีวงแหวน (Slip ring) เพื่อนาไฟฟ้าออกมา
จากตัวนาแทนการใช้คอมมิวเตเตอร์ (Commutator)

7
11/11/64

4. ไฟฟ้ำที่เกิดขึน้ จำกพลังงำนแสง
หลักการทางานคือ เมื่อแสงมากระทบกับเซลล์วัสดุที่เป็นสารกึ่งตัวนา
จะดูซับพลังงานไว้ พลังงานแสงที่ตกกระทบและถูกดูดซับเอาไว้จ ะไป
กระตุ้นให้อิเล็กตรอนในสารกึ่งตัวนาหลุดออกจากวงโคจรและเคลื่ อนที่
อย่างอิสระ การเคลื่อนที่หรือการไหลของอิเล็กตรอนในสารกึ่งตัว นาก็
คือ การไหลของกระแสไฟฟ้า นั่นเอง

5. ไฟฟ้ำที่เกิดขึน้ จำกพลังงำนควำมร้ อนโดยตรง


กระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นจากพลังงานความร้อนโดยตรงได้ โดยการนาโลหะ
2 ชนิดที่แตกต่างกัน มายึดติดกันแล้วให้ความร้อนตรงรอยต่อของโลหะทั้ง
สองชนิดนั้น จะทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าไหลในแท่งโลหะทั้งสอง หลักการนี้
ใช้ในอุปกรณ์สาหรับวัดอุณหภูมิ ที่เรียกว่า เทอร์โมคัปเปิล และอุปกรณ์
ผลิตไฟฟ้า ที่เรียกว่า เทอร์โมอิเล็กตริก

8
11/11/64

ปริมาณและหน่ วยทางไฟฟ้า
1. กระแสไฟฟ้า
การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนหรือการไหลของอิเล็กตรอนในตัวนาไฟฟ้า
เรียกว่า “กระแสไฟฟ้า” (Electric Current)
ส าหรับ ในตัวน าที่เ ป็น ของแข็ ง กระแสไฟฟ้า เกิ ดจากการไหลของ
อิเล็กตรอน โดยอิเล็กตรอนจะไหลจากขั้วลบ (-) ไปหาขั้วบวก (+) เสมอ
ในตัวน าที่เป็นของเหลวและก๊าซ กระแสไฟฟ้าเกิดจากการเคลื่อนที่ ของ
อิเล็กตรอนกับโปรตอน โดยจะเคลื่อนที่เข้าหาขั้วไฟฟ้าที่มีประจุตรงข้าม

◼ ถ้าจะเรียกว่า กระแสไฟฟ้า คือการไหลของอิเล็กตรอนก็ได้ แต่ทิศทาง


ของกระแสไฟฟ้าจะตรงข้ามกับการไหลของอิเล็กตรอน

ขนาดของกระแสไฟฟ้าที่ไหลในสายไฟฟ้านั้น กาหนดได้จากปริมาณ
ของประจุไฟฟ้าที่ไหลผ่านจุดใด ๆ ในเส้นลวดใน 1 วินาที มีหน่วยเป็น
แอมแปร์ (Ampere ซึ่งแทนด้วย A)

9
11/11/64

กระแสไฟฟ้า 1 แอมแปร์ คือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวนาไฟฟ้า 2 ตัวที่


วางขนานกันโดยมีระยะห่าง 1 เมตร แล้วทาให้เกิดแรงในแต่ละตัวนาเท่ากับ
2 x 10-7 นิวตันต่อเมตร หรือเท่ากับประจุไฟฟ้า 1 คูลอมบ์ ซึ่งเทียบได้กับ
อิเล็กตรอน 6.24 x 1018 ตัว วิ่งผ่านใน 1 วินาที

2. แรงดันไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้าเกิดจากการที่มีอิเล็กตรอนไหลในสายไฟ ซึ่งการที่
อิเล็กตรอนไหลหรือเคลื่อนที่ได้นั้นจะต้องมีแรงมากระทาต่ออิเล็กตรอนทา
ให้เกิดกระแสไหล แรงดังกล่าวนี้เรียกว่า แรงดันไฟฟ้า (Voltage)

10
11/11/64

ศักย์ไฟฟ้า เป็นอีกคาหนึ่งที่คล้ายกับแรงดันไฟฟ้า หมายถึง ระดับไฟฟ้า


เช่น ลูกกลมที่ 1 มีประจุไฟฟ้าบวก (+) จะมีศักย์ไฟฟ้าสูง ส่วนลูกกลมที่
2 มีประจุไฟฟ้าลบ (-) จะมีศักย์ไฟฟ้าต่า ดังนั้น ลูกกลมที่ 1 และ 2 จึงมี
ความแตกต่างของศักย์ไฟฟ้า เรียกว่า ความต่างศักย์ไฟฟ้า

แรงขับเคลื่อนไฟฟ้า หมายถึง แรงที่สร้างให้เกิดแรงดันไฟฟ้าซึ่งทา


ให้เกิดการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระตลอดเวลา กระแสไฟฟ้าจึงไหล
ตลอดเวลา แรงเคลื่อนไฟฟ้านี้อาจเกิดจากเครื่องกาเนิดไฟฟ้า แบตเตอรี่
ถ่านไฟฉาย และเซลล์เชื้อเพลิง ฯลฯ

11
11/11/64

แรงดันไฟฟ้ามีหน่วยเป็น โวลต์ (Volt) ใช้ตัวย่อว่า V แรงดันไฟฟ้า


1 โวลต์ หมายถึง แรงดันที่ทาให้กระแสไฟฟ้า 1 แอมแปร์ ไหลผ่านเข้าไป
ในความต้านทาน 1 โอห์ม

3. ควำมต้ ำนทำนไฟฟ้ำ
สภาพการนาไฟฟ้าของวัตถุต่าง ๆ
ตัวนาไฟฟ้า (Conductor) คือ วัตถุที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้
ง่าย เรียกว่า เช่น ทองแดง, เงิน, อะลูมิเนียม, สารละลายของกรดเกลือ
กรดกามะถัน และน้าเกลือ ฯลฯ
ฉนวนไฟฟ้า (Insulator) คือ วัตถุที่ไม่ยอมให้กระแสไหลผ่านได้หรือ
ไหลผ่านได้ยาก เรียกว่า เช่น พลาสติก ยาง แก้ว กระดาษแห้ง ฯลฯ
สารกึ่งตัวนา (Semiconductor) คือ วัตถุที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหล
ผ่านได้ และสามารถควบคุมการไหลผ่านได้ เช่น คาร์บอน ซิลิคอน และ
เจอมาเนียม ฯลฯ

12
11/11/64

เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลในตัวนาไฟฟ้าย่อมหมายถึงมีการเคลื่อนไหวของ
อิเล็กตรอนในตัวนานั้น กระแสไฟฟ้าที่ไหลในตัวนาไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ มี
คุณสมบัติการไหลต่างกันเพราะมี วัตถุแต่ละชนิดมีค่า ความต้านทาน
ไฟฟ้า (Resistance) ที่แตกต่างกัน ค่าความต้านทานไฟฟ้าเป็นสมบั ติ
เฉพาะของวัตถุในการที่จะขวางหรือต้านทานการไหลของกระแสไฟฟ้าที่
จะไหลผ่านวัตถุนั้น ๆ ไป
ความต้านทานของตัวนาไฟฟ้าขึ้นอยู่กับปัจจัยที่สาคัญ คือ
1. ชนิดของวัตถุ วัตถุที่ต่างชนิดกันจะมีความต้านทานต่างกัน
2. อุณหภูมิของวัตถุ เมื่ออุณหภูมิของตัวนาไฟฟ้าเปลี่ยนไป จะมีผลให้
ความต้านทานของตัวนานั้นเปลี่ยนตามไปด้วย

หน่วยของความต้านทานไฟฟ้าเป็น โอห์ม (Ohm) แทนด้วยสัญลักษณ์


Ω ค่าความต้านทาน 1 โอห์ม คือ ความต้านทานของเส้นลวดที่ยอมให้
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ 1 แอมแปร์ เมื่อใช้แรงดันไฟฟ้า 1 โวลต์

13
11/11/64

จบการบรรยาย

14

You might also like