You are on page 1of 10

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
2.1 ทฤษฎีที่เกีย่ วข้ อง
การออกแบบชุดฝึ กทดลองไฟฟ้ากระแสตรง เป็ นสื่ อที่ใช้ในการเรี ยนการสอนสาหรับ
นักเรี ยนนักศึกษาที่สนใจ เพื่อให้นกั เรี ยนได้เข้าใจและแก้ปัญหาในการฝึ กต่อจากชุดฝึ กวงจรไฟฟ้า
กระแสตรง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
2.2 ตัวต้านทาน
2.3 ตัวต้านทานปรับค่าได้
2.4 สายบานาน่าแจ็คแบบบานาน่า To บานาน่า
2.5 บานาน่าแจ็คตัวเมีย
2.6 โวลต์มิเตอร์
2.7 แอมป์ มิเตอร์
2.8 กล่องอลูมิเนียม
2.9 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.9.1 ทฤษฎีไฟฟ้ากระแสตรง
2.9.2 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
2.2 ตัวต้ านทาน
ตัวต้านทาน หรื อ รี ซิสเตอร์ (resistor) เป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่มีคุณสมบัติในการต้าน
การไหลผ่านของกระแสไฟฟ้า ทาด้วยลวดต้านทานหรื อถ่านคาร์บอน เป็ นต้น นัน่ คือถ้าอุปกรณ์น้ นั
มีความต้านทานมาก กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านจะน้อยลง เป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิ ดพาสซีฟสองขั้ว ที่
สร้างความต่างศักย์ไฟฟ้าคร่ อมขั้วทั้งสอง (V) โดยมีสัดส่วนมากน้อยตามปริ มาณกระแสไฟฟ้าที่
ไหลผ่าน (I) อัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์ และปริ มาณกระแสไฟฟ้า ก็คือ ค่าความต้านทานทาง
ไฟฟ้า หรื อค่าความต้านทานของตัวนามีหน่วยเป็ นโอห์ม (Ω) เขียนเป็ นสมการตามกฏของ
โอห์ม ดังนี้
รู ปที่ 2.1 กฎของโอห์ม

ค่าความต้านทานนี้ถูกกาหนดว่าเป็ นค่าคงที่สาหรับตัวต้านทานธรรมดาทัว่ ไปที่ทางานภายในค่า


กาลังงานที่กาหนดของตัวมันเอง
ตัวต้านทานทาหน้าที่ลดการไหลของกระแสและในเวลาเดียวกันก็ทาหน้าที่ลดระดับ
แรงดันไฟฟ้าภายในวงจรทัว่ ไปอาจเป็ นแบบค่าความต้านทานคงที่หรื อค่าความต้านทานแปรได้
เช่นที่พบในตัวต้านทานแปรตามอุณหภูมิ (thermistor), ตัวต้านทานแปรตามแรงดัน (varistor), ตัว
หรี่ ไฟ (trimmer), ตัวต้านทานแปรตามแสง (photoresistor) และตัวต้านทานปรับด้วยมือ
(potentiometer)
ตัวต้านทานเป็ นชิ้นส่ วนธรรมดาของเครื อข่ายไฟฟ้าและวงจรอิเล็กทรอนิกส์และเป็ นที่
แพร่ หลายในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ตัวต้านทานในทางปฏิบตั ิจะประกอบด้วยสารประกอบและ
ฟิ ล์มต่าง ๆ เช่นเดียวกับ สายไฟต้านทาน (สายไฟที่ทาจากโลหะผสมความต้านทานสูง เช่น นิกเกิล -
โครเมียม) ยังถูกนาไปใช้ในวงจรรวม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในอุปกรณ์แอนะล็อก และยังสามารถ
รวมเข้ากับวงจรไฮบริ ดและวงจรพิมพ์ ฟังก์ชนั ทางไฟฟ้าของตัวต้านทานจะถูกกาหนดโดยค่าความ
ต้านทานของมัน ตัวต้านทานเชิงพาณิ ชย์ทวั่ ไปถูกผลิตในลาดับขนาดที่มากกว่าเก้าขั้น ค่าความ
ต้านทานที่กาหนดจะอยูภ่ ายในเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนของการผลิตตามที่ระบุไว้ ตัวต้านทานที่ถูก
ใช้ในการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ อาจต้องการความแม่นยาตามการใช้งานเฉพาะของมัน
นอกจากนี้ค่าสัมประสิ ทธิ์อุณหภูมิของความต้านทานยังอาจต้องพิจารณาในการใช้งานบางอย่าง ตัว
ต้านทานในทางปฏิบตั ิยงั ต้องมีการระบุระดับพลังงานสูงสุ ดที่ทนได้ซ่ ึงจะต้องเกินกว่าการกระจาย
ความร้อนของตัวต้านทานที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในวงจรเฉพาะ สิ่ งนี้เป็ นข้อพิจารณาหลักในการใช้งาน
กับอิเล็กทรอนิกส์กาลัง ตัวต้านทานที่มีอตั รากาลังที่สูงกว่าก็จะมีขนาดที่ใหญ่กว่าและอาจต้องใช้
แผ่นระบายความร้อน (heat sink) ในวงจรไฟฟ้าแรงดันสูงอาจต้องให้ความสนใจกับอัตราแรงดัน
การทางานสู งสุ ดของตัวต้านทาน ถ้าไม่ได้พิจารณาถึงแรงดันไฟฟ้าในการทางานขั้นต่าสุ ดสาหรับ
ตัวต้านทาน ความล้มเหลวอาจก่อให้เกิดการใหม้ของตัวต้านทาน เมื่อกระแสไหลผ่านตัวมัน
รู ปที่ 2.2 ตัวต้านทาน

2.3 ตัวต้ านทานปรับค่าได้


ตัวต้านทานแบบนี้ อาจจะมีจุดแยกติดอยูก่ บั ที่หนึ่งจุดหรื อมากกว่าเพื่อให้ความต้านทาน
สามารถเปลี่ยนแปลงได้โดยการย้ายสายไฟไปเชื่อมต่อกับขั้วอื่นที่แตกต่างกัน บางตัวต้านทานกาลัง
แบบลวดพันมีจุดแยกที่สามารถเลื่อนไปตามความยาวของตัวต้านทานเพื่อปรับค่าของความ
ต้านทานให้มีขนาดเล็กลงหรื อใหญ่ข้ ึนตามความยาวนั้น
ในกรณีที่ตอ้ งการปรับค่าความต้านทานอย่างต่อเนื่องระหว่างการทางานของอุปกรณ์ จุดแยก
ความต้านทานที่เลื่อนได้สามารถเชื่อมต่อกับลูกบิดที่ผใู ้ ช้สามารถเข้าถึงได้ อุปกรณ์ดงั กล่าวเรี ยกว่ารี
โอสตัท (rheostat) มีสองขั้วไฟฟ้า (ขา)
โพเทนชิโอมิเตอร์ ชิ้นส่ วนธรรมดาในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์เป็ นตัวต้านทานสามขั้ว ที่มีจุด
แยกที่ปรับได้อย่างต่อเนื่อง ควบคุมโดยการหมุนของแกนหรื อลูกบิด ตัวต้านทานที่แปรค่าได้เหล่านี้
มีชื่อเรี ยกว่า "โพเทนชิโอมิเตอร์" เมื่อทั้งสามขั้วทาหน้าที่เป็ นตัวแบ่งแรงดันที่ปรับได้
(adjustable voltage divider) ตัวอย่างที่พบบ่อยคือปุ่ มปรับระดับเสี ยงของเครื่ องรับวิทยุ(เครื่ องรับ
แบบดิจิทลั อาจไม่มีปุ่มปรับระดับเสี ยงแบบแอนะลอกเพื่อปรับความดัง)
โพเทนชิโอมิเตอร์ ("พอท") แบบติดตั้งบนแผงที่แม่นยาความละเอียดสู งมีชิ้นส่ วนที่ให้
ความต้านทานปกติเป็ นแบบลวดพันบนด้ามจับรู ปเกลียวแม้วา่ บางตัวจะมีความต้านทานตัวนา
พลาสติก ที่เคลือบบนสายไฟเพื่อช่วยปรับให้ละเอียดยิง่ ขึ้น ส่ วนประกอบเหล่านี้มกั จะมีลวดพันอยู่
สิ บรอบบนแกนของมัน เพื่อให้ครอบคลุมเต็มความจุของความต้านทานของมัน พวกมันมักจะถูก
กาหนดด้วยหน้าปัดหมุนที่มีขดลวดเคาน์เตอร์ง่ายๆและแป้นหมุนแอนะล็อกคอมพิวเตอร์
อิเล็กทรอนิกส์จะใช้พวกมันในปริ มาณสาหรับการตั้งค่าสัมประสิ ทธิ์และการตั้งค่าให้กวาดได้ล่าช้า
ของเครื่ องออลซิลโลสโคปในช่วงทศวรรษที่ผา่ นมา รวมถึงตัวหนึ่งบนแผงของสโคปนั้น

รู ปที่ 2.3 ตัวต้านทานปรับค่าได้

2.4 สายบานาน่ าแจ็คแบบบานาน่ า To บานาน่ า


โครงสร้างหัวและสายบานาน่าเคลือบทองเงางาม และมีปลอกพลาสติกเงาหุม้ ภายนอก
ปอกพลาสติกนี้นอกจากช่วยให้แยกแยะขั้วบวกลบได้ชดั เจนแล้ว ยังทาหน้าที่เป็ นฉนวนป้องกันการ
แตะสัมผัส ระหว่างโลหะตัวนา อีกทั้งยังกันฝุ่ น กันสิ่ งสกปรกจากภายนอก และเป็ นจุดที่เอาไว้จบั
ดึง มิตอ้ งดึงที่ตวั นา ด้านใน และหากจะทาความสะอาดก็สามารถถอดเฉพาะปลอกพลาสติกออกมา
เช็ด ล้าง ได้ดา้ นในกับ โครงสร้างยึดล็อคตัวนาสายลาโพงนั้น ใช้วิธีการขันล็อคด้วยสกรู 2 จุด ซึ่ง
ให้ความแน่นหนา ทนต่อแรงดึงได้ดี ตัวนาไม่หลุดออกมาง่ายๆ และที่สาคัญ คือ วิธีการขันล็อกด้วย
สกรู น้ ี สามารถดาเนิ นการได้เองง่ายๆ ไม่ตอ้ งมีสกิลแอดวานซ์ใดๆ ใครๆ ก็ทาได้ อุปกรณ์ที่ใช้ก็มี
แค่ไขควงปากแบนขนาดเล็ก ไม่ตอ้ งใช้ตะกัว่ บัดกรี ไม่มีหัวแร้ง หรื อต้องใช้อุปกรณ์เข้าหัวพิเศษ
ใดๆ
รู ปที่ 2.4 สายบานาน่าแจ็ค to บานาน่า

2.5 บานาน่ าแจ็คตัวเมีย


เป็ นชนิดของตัวต่อที่ใช้ในการเชื่อมต่อสายลาโพงหรื อสายไฟเครื่ องขยายเสี ยงโดยมี
ลักษณะเป็ นปลัก๊ หรื อตัวต่อที่มีรูปร่ างคล้ายกลีบกล้วย และมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 มิลลิเมตร โดย
ปกติแล้วจะมีสองชนิด คือ ตัวผู ้ (male) และตัวเมีย (female) โดยตัวผูจ้ ะมีข้วั เสี ยบสายลาโพง ส่ วนตัว
เมียจะมีรูปร่ างคล้ายกลีบกล้วยที่มีรูเสี ยบสายไฟเข้าไป

รู ปที่ 2.5 บานาน่าแจ็คตัวเมีย


2.6 โวลต์ มิเตอร์
เครื่ องมือวัดไฟฟ้าที่ใช้วดั แรงดันไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุดในวงจรความต้านทานภายในของ
เครื่ องโวลต์มิเตอร์มีค่าสูงวิธีใช้ตอ้ งต่อขนานกับวงจรเครื่ องมือที่ใช้วดั ค่าความต่างศักย์ใน
วงจรไฟฟ้า ค่าที่วดั ได้มีหน่วย โวลต์ (V) โวลต์มิเตอร์ เป็ นเครื่ องมือที่ดดั แปลงมากจากแกลแวนอ
มิเตอร์ โดยต่อความต้านทานแบบอนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร์และใช้วดั ความต่างศักย์ในวงจรโดย
ต่อแบบขนานกับวงจรที่ตอ้ งการวัด วัตถุประสงค์ของโวลต์มิเตอร์ คือ
2.8.1 โวลต์มิเตอร์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้วดั แรงดันไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุดในวงจรความจริ ง
แล้วโวลต์มิเตอร์ก็คือแอมมิเตอร์นนั่ เอง เพราะขณะวัดแรงดันไฟฟ้าในวงจรหรื อแหล่งจ่ายแรงดัน
จะต้องมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านมิเตอร์จึงทาให้เข็มมิเตอร์บ่ายเบนไป และการที่กระแสไฟฟ้าจะไหล
ผ่านเข้าโวลต์มิเตอร์ได้ก็ตอ้ งมีแรงดันไฟฟ้าป้อนเข้ามานัน่ เองกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้ามี
ความสัมพันธ์ซ่ ึงกันและกันกระแสไฟฟ้าไหลได้มากน้อยถ้าจ่ายแรงดันไฟฟ้าเข้ามาน้อย
กระแสไฟฟ้าไหลน้อยเข็มชี้บ่ายเบนไปน้อยถ้าจ่ายแรงดันไฟฟ้าเข้ามามากกระแสไฟฟ้าไหลมาก
เข็มชี้บ่ายเบนไปมากการวัดแรงดันไฟฟ้าด้วยโวลต์มิเตอร์
2.8.2 โวลต์มิเตอร์สร้างขึ้นมาเพื่อวัดค่าความแรงดันไฟฟ้าของแหล่งจ่ายแรงดันหรื อวัดค่า
แรงดันไฟฟ้าตกคร่ อมระหว่างจุดสองจุดในวงจรการวัดแรงดันไฟฟ้าด้วยโวลต์มิเตอร์เหมือนกับ
การวัดความดันของน้ าในท่อส่ งน้ าด้วยเกจวัดความดันโดยต้องต่อท่อเพิ่มจากท่อเดิมไปยังเกจวัดใน
ทานองเดียวกันกับการวัดแรงดันไฟฟ้าในวงจรต้องใช้โวลต์มิเตอร์ไปต่อขนานกับจุดวัดในตาแหน่ง
ที่ตอ้ งการวัดเสมอ

รู ปที่ 2.6 โวลต์มิเตอร์


2.7 แอมป์ มิเตอร์
เครื่ องวัดกระแสไฟฟ้าหรื อแอมมิเตอร์ (Ammeter) เป็ นเครื่ องวัดที่ใช้ปริ มาณการไหลของ
กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านในวงจรไฟฟ้าการวัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านในวงจรไฟฟ้าเหมือนกับการ
วัดกระแสน้ าที่ไหลผ่านไปในท่อน้ าการวัดดังกล่าวต้องตัดวงจรออกเพื่อต่อแอมมิเตอร์เข้าไป
กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านแอมมิเตอร์เพื่อบอกปริ มาณของกระแสไฟฟ้าการต่อแอมมิเตอร์ตอ้ งต่อ
อนุกรมกับวงจร
สเกลของแอมมิเตอร์ถูกสร้างขึ้นเพื่อให้สามารถบอกค่าปริ มาณกระแสไฟฟ้าได้โดยตรง ทั้ง
ปริ มาณกระแสไฟฟ้าจานวนน้อย ๆไปจนถึงปริ มาณกระแสจานวนมากๆสเกลจะถูกสร้างให้ บอก
ค่าปริ มาณกระแสไฟฟ้าแตกต่างกัน เพื่อความสะดวกในการเลือกแอมมิเตอร์ไปใช้งานได้อย่าง
เหมาะสมกับปริ มาณกระแสไฟฟ้าที่ทาการวัดสามารถอ่านค่าได้อย่างละเอียดถูกต้องการต่อ
แอมมิเตอร์เพื่อการวัดกระแสไฟฟ้าในวงจรต้องระมัดระวังในเรื่ องของขนาดปริ มาณกระแสไฟฟ้าที่
ไหลในวงจรกับขนาดค่าการทนกระแสไฟฟ้าของแอมมิเตอร์ที่นามาต่อในวงจรต้องทนกระแสได้
มากกว่าค่ากระแสไฟฟ้าในวงจรเสมอมิฉะนั้นแอมมิเตอร์ จะชารุ ดเสี ยหายได้
หากไม่ทราบค่ากระแสในวงจรโดยประมาณควรใช้แอมมิเตอร์ทนกระแสได้สูงมาต่อวัด
ก่อนถ้าอ่านค่าไม่ได้เพราะเข็มชี้ข้ นึ น้อยหรื อไม่ข้ ึนจึงค่อยๆลดขนาดการทนกระแสได้ของ
แอมมิเตอร์ลงจนอยูใ่ นย่านการบ่ายเบนที่พออ่านค่าได้ค่ากระแสที่อ่านได้จะละเอียดหรื อไม่ข้ นึ อยู่
กับผูอ้ ่านว่าอ่านได้ละเอียดมากน้อยขนาดไหน ในกรณี เข็มชี้ตรงตาแหน่งบนสเกลการอ่านค่าคงจะ
ถูกต้องมากกว่า
หลัก หลักการของแอมป์ มิเตอร์คือมันจะต้องมีความต้านทานต่ามากและปฏิกิริยาทางอุปนัย
ยัง ตอนนี้เราต้องการสิ่ งนี้ทาไม เราไม่สามารถเชื่อมต่อแอมป์ มิเตอร์แบบขนานได้หรื อไม่ คาตอบ
สาหรับคาถามนี้คือมันมีอิมพีแดนซ์ต่ามากเพราะมันต้องมีแรงดันไฟฟ้าตกในระดับต่ามากและต้อง
เชื่อมต่อแบบอนุกรมเนื่องจากกระแสไฟฟ้าในวงจรอนุกรม
เนื่องจากความต้านทานต่ามากการสูญเสี ยพลังงานจะต่าและหากเชื่อมต่อแบบขนานมันจะ
เกือบเป็ นเส้นทางลัดและกระแสทั้งหมดจะไหลผ่านแอมป์ มิเตอร์เนื่องจากกระแสไฟฟ้าสู งเครื่ องมือ
อาจเผาไหม้ ดังนั้นเนื่ องจากเหตุผลนี้ จึงต้องเชื่อมต่อเป็ นชุดสาหรับแอมป์ มิเตอร์ในอุดมคติน้ นั
จะต้องมีอิมพีแดนซ์เป็ นศูนย์เพื่อให้มีแรงดันไฟฟ้าตกที่ศูนย์ดงั นั้นการสู ญเสี ยพลังงานในเครื่ องมือ
จึงเป็ นศูนย์
รู ปที่ 2.7 แอมป์ มิเตอร์

2.8 กล่องอลูมิเนียม
กล่องเก็บเครื่ องมืออลูมิเนียม กล่องเก็บเครื่ องมืออลูมิเนียม เป็ นกล่องอลูมิเนียมแบบอัดขึ้นรู ปสร้าง
ขึ้นโดยใช้อลูมิเนียมชิ้นเดียวเป็ นโครงสร้าง ภายในมีช่องและแถบคัน่ ช่วยให้จดั ระเบียบได้ง่ายขึ้น
ขอบโค้งมนเรี ยบซึ่งนาเสนอรู ปลักษณ์ที่ทนั สมัย และฝาสองชิ้นติดตั้งมากับตัวล็อกที่ต้ งั ค่าได้เพื่อ
เพิ่มความปลอดภัย กล่องเก็บเครื่ องมืออลูมิเนียมจึงนี้ เหมาะสาหรับเครื่ องมือฮาร์ดแวร์หรื อ
เครื่ องมือช่าง ฯลฯ

รู ปที่ 2.8 กล่องอลูมิเนียม ขนาด A


2.9 เอกสารที่เกีย่ วข้ อง
2.9.1 ทฤษฎีไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรง (อังกฤษ: direct current, อักษรย่อ: DC) เป็ นไฟฟ้ากระแสที่มีทิศทางการ
เคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้าไปในทิศทางเดียวกันเป็ นวงจร ในอดีตไฟฟ้ากระแสตรงเคยถูกเรี ยกว่า
กระแสกัลวานิก อุปกรณ์ที่สามารถผลิตไฟฟ้ากระแสตรงได้ เช่น เซลล์แสงอาทิตย์ แบตเตอรี่ ทั้ง
ชนิดประจุไฟฟ้าใหม่ได้และชนิดใช้แล้วทิ้ง และเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง ไฟฟ้ากระแสตรง
สามารถไหลผ่าน ตัวนาไฟฟ้า เช่น สายไฟ สารกึ่งตัวนา ฉนวนไฟฟ้า หรื อแม้กระทัง่ เคลื่อนที่ใน
ภาวะสุญญากาศในรู ปของลาอิเล็กตรอนหรื อลาไอออน สามารถใช้ตวั เรี ยงกระแสเปลี่ยนไฟฟ้า
กระแสสลับให้เป็ นไฟฟ้ากระแสตรงได้ โดยส่วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์ภายในตัวเรี ยงกระแสจะ
บังคับให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ในทิศทางเดียว นอกจากนี้ยงั สามารถเปลี่ยนไฟฟ้ากระแสตรง
เป็ นไฟฟ้ากระแสสลับได้โดยใช้อินเวอร์เตอร์ หรื อชุดไดนามอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรงแบ่งออกเป็ น 2
ประเภท ได้แก่
2.3.1 ไฟฟ้ากระแสตรงประเภทสม่าเสมอ เป็ นไฟฟ้ากระแสตรงที่ไหลอย่างสม่าเสมอ
ตลอดไป
2.3.2 ไฟฟ้ากระแสตรงประเภทไม่สม่าเสมอ เป็ นไฟฟ้ากระแสตรงที่เป็ นช่วงคลื่นไม่
สม่าเสมอ
เครื่ องมือวัดทางไฟฟ้าประเภทที่หนึ่งคือ แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์และโอห์มมิเตอร์ เป็ น
เครื่ องวัดทางไฟฟ้า เพื่อใช้วดั ปริ มาณต่างๆ ทางไฟฟ้าเครื่ องวัดทางไฟฟ้าต่างๆนี้สามารถสร้างขึ้น
โดยดัดแปลงมาจาก แกลแวนอมิเตอร์ (Galvanometer) ชนิดขดลวดเคลื่อนที่ ซึ่งประกอบด้วย
ขดลวดวางระหว่างขั้วแม่เหล็กและประเภทที่สองคือ-แกลแวนอมิเตอร์(Galvanometer)คือ เครื่ องมือ
วัดพื้นฐานทางไฟฟ้าที่สามารถวัดได้ท้ งั กระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า แต่จะวัดได้ปริ มาณ
น้อยๆ ดังนั้นจึงนิยมนาไปดัดแปลงใช้วดั กระแสไฟฟ้าความต่างศักย์ไฟฟ้าและความต้านทาน
คุณสมบัติของไฟฟ้ากระแสตรง
2.9.2 งานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
อ้างอิงจาก ภุชงค์ จันทร์จิระ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ
เรื่ อง การออกแบบและสร้างชุดฝึ กวงจรไฟฟ้า
การวิจยั ครั้งนี้มีวตั ถุประสงค์ออกแบบและสร้างชุดฝึ กวงจรไฟฟ้าและเพื่อประเมินคุณภาพชุดฝึ ก
วงจรไฟฟ้า รายวิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ภาควิชาอุตสาหกรรมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ โดยมีข้นั ตอนการวิจยั ประกอบด้วย 1)วิเคราะห์และจัดเรี ยงล าดับ
เนื้อหาในรายวิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์และจัดทาใบงานการทดลอง 2)ออกแบบชุดฝึ ก
วงจรไฟฟ้า 3)สร้างชุดฝึ กวงจรไฟฟ้า 4)ประเมินคุณภาพชุดฝึ กวงจรไฟฟ้าร่ วมกับ ใบงานการ
ทดลองที่สร้างขึ้นโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ ผลการวิจยั พบว่า 1)ค่าความสอดคล้องระหว่างเนื้ อหาหลักสู ตร
กับใบงานการทดลอง โดยผูเ้ ชี่ยวชาญทั้ง 5 คน ประเมินว่าค่าความสอดคล้องมีค่าเท่ากับ 1.00
หมายความว่าใบงานการทดลองทั้ง 9 ใบงาน มีความสอดคล้อง ระหว่างเนื้ อหาหลักสู ตรรายวิชางาน
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 2)ผลการออกแบบชุดฝึ กวงจรไฟฟ้าโดยผูเ้ ชี่ยวชาญทั้ง 5 คน มีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 4 สรุ ปได้วา่ แบบชุดฝึ กวงจรไฟฟ้ามีคุณภาพอยูใ่ นเกณฑ์ดี 3)ผลการสร้างชุดฝึ กวงจรไฟฟ้า
โดยผูเ้ ชี่ยวชาญทั้ง 5 คน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.60 สรุ ปได้ว่าชุดฝึ กวงจรไฟฟ้ามีคุณภาพอยูใ่ นเกณฑ์ดี
มาก 4) ผลการประเมินคุณภาพชุดฝึ กวงจรไฟฟ้าร่ วมกับใบงานการทดลองที่สร้างขึ้นโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ
พบว่าการประเมิน คุณภาพชุดฝึ กวงจรไฟฟ้าร่ วมกับใบงานการทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.80 สรุ ปได้
ว่าชุดฝึ กวงจรไฟฟ้าร่ วมกับใบงาน การทดลองมีคุณภาพอยูใ่ นเกณฑ์ ดีมาก

You might also like