You are on page 1of 17

แนวข้อสอบ ครู อุตสาหกรรมศิลป์ (I.A.

) ชุดที5่
1. ที่มาของโลหะประสมเกิดจากมูลเหตุใด
ก. เป็ นวัสดุทดแทน
ข. ความต้องการทางสมบัติของโลหะ
ค. เกิดการประสมตามธรรมชาติ
ง. ได้มาจากการผลิตโดยบังเอิญ

2. ข้อใดมีผลต่อการผุกร่ อนของเหล็ก
ก. ทาปฏิกิริยากับอากาศ
ข. ทาปฏิกิริยากับน้ า
ค. ทาปฏิกิริยากับออกซิ เจน
ง. ทาปฏิกิริยากับไฮโดรเจน

3. เหล็กกล้าที่ไม่สามารถนาไปชุบแข็งได้คือ
ก. เหล็กกล้าคาร์บอนต่า
ข. เหล็กกล้าคาร์บอนสู ง
ค. เหล็กกล้าผสมต่า
ง. เหล็กกล้าผสมสู ง

4. พลาสติกที่นิยมใช้ทาถุงบรรจุอาหารที่ไม่ร้อนได้แก่
ก. โพลีโพรมีลีน
ข. โพลีสโตรี น
ค. โพลีไวนีลครอไรค์
ง. โพลีเอททีลีน

5. สายไฟฟ้ าแรงสู งจะเกิดอันตรายได้เมื่อเข้าใกล้สิ่งใด


ก. พีวซี ี
ข. กระดาษ
ค. น้ ากลัน่
ง. น้ า

6. การเปลี่ยนถ่ายน้ ามันหล่อลื่นเครื่ องจักรกล ควรสังเกตจากสิ่ งใด


ก. ความข้นใสของน้ ามันหล่อลื่น
ข. สี ของน้ ามันหล่อลื่น
ค. กลิ่นของน้ ามันหล่อลื่น
ง. อายุการใช้งานของน้ ามันหล่อลื่น

7. ข้อใดไม่ ใช่ วธิ ีการตรวจสอบวัสดุ


ก. การคัดเลือกชิ้นงานที่ไม่ได้มาตรฐานออกจากกลุ่ม
ข. การนาวัสดุไปใช้งานในกรณี ที่ไม่มีเอกสารหรื อข้อกาหนดบ่งชี้
ค. การทดสอบเพื่อทราบสมบัติ เฉพาะตัวของวัสดุ
ง. เพื่อเป็ นข้อมูลในการพิจารณาเลือกใช้วสั ดุ

8. การใช้น้ ามันเคลือบผิวเพื่อป้ องกันการกัดกร่ อนใช้กบั งานใด


ก. เคลือบผิวของชิ้นส่ วนเครื่ องจักรกล
ข. ยานพาหนะ
ค. เครื่ องใช้ในครัวเรื อน
ง. ภาชนะบรรจุอาหาร

9. เพราะเหตุใดก่อนที่จะเคลือบสี ชิ้นงาน จะต้องลงสี รองพื้นก่อน


ก. ทาให้สีเคลือบสดใส
ข. ป้ องกันการเกิดเชื้อรา
ค. ป้ องกันสนิมและไม่สิ้นเปลืองสี
ง. ปิ ดรอยขีดข่วน และทาให้สีจบั ผิวงานได้ดี

10. ข้อใดไม่ใช่วธิ ี การเก็บรักษายางธรรมชาติ


ก. ควรเก็บยางให้ห่างจากน้ ามันเชื้อเพลิง
ข. ถ้าต้องการเก็บไว้นาน ๆ ควรคลุกผิวด้วยแป้ งมัน
ค. ควรเก็บยางไว้ในที่อุณหภูมิสูงเกิน 25 องศาเซลเซียส
ง. ควรเก็บยางให้ห่างจากสารเคมี

11. เมื่อพบผูป้ ระสบภัยจากการถูกไฟฟ้ าดูด ขั้นตอนแรกที่ผชู ้ ่วยเหลือต้องปฏิบตั ิคือข้อใด


ก. ปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ข. แจ้งเจ้าหน้าที่การไฟฟ้ า
ค. นาตัวส่ งโรงพยาบาล
ง. ตัดแหล่งจ่ายไฟฟ้ า

12. การนวดหัวใจผูป้ ่ วยที่หวั ใจหยุดเต้น ต้องวางมือในตาแหน่งใด


ก. ตรงลิ้นปี่
ข. ข้างลิ้นปี่
ค. เหนือลิ้นปี่
ง. ใต้ลิ้นปี่

13. แหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้ าที่นิยมใช้ในปั จจุบนั อาศัยหลักการกาเนิดไฟฟ้ าแบบใด


ก. ความร้อน
ข. แม่เหล็ก
ค. แสงสว่าง
ง. ปฏิกิริยาเคมี

14. จากรู ปการต่อตัวต้านทานที่กาหนดให้ ถ้าตัวต้านทาน R 2 ขาด ความต้านทานรวมจะมีค่าเท่าไร

ก. 0 โอห์ม
ข.  โอห์ม
ค. 40 โอห์ม
ง. 60 โอห์ม
15. จากรู ปการต่อตัวต้านทานที่กาหนดให้ ถ้าตัวต้านทาน R 2 ลัดวงจร ความต้านทานรวมจะมีค่าเท่าไร

ก. 0 โอห์ม
ข.  โอห์ม
ค. 3 โอห์ม
ง. 9 โอห์ม

16. หลอดไฟฟ้ าที่นิยมเรี ยกกันว่าหลอดนีออน คือหลอดชนิดใด


ก. หลอดอินแดนเดสเซนต์
ข. หลอดฟลูออเรสเซนต์
ค. หลอดเมอคิวรี่
ง. หลอดไอโซเดียม

17. ในวงจรหลอดฟลูออเรสเซนต์ เมื่อเปิ ดสวิตช์ควบคุมแล้วหลอดไฟจะกระพริ บที่ข้ วั หลอดไม่สามารถ


ติดได้เกิดจากสาเหตุใด
ก. หลอดไฟเสื่ อม
ข. สตาร์ทเตอร์เสี ย
ค. บัลลาสต์เสี ย
ง. สายไฟขาด

18. ยูนิเวอร์ แซลมอเตอร์ ถูกนาไปใช้งานกับอุปกรณ์ขอ้ ใด


ก. คอมเพรสเซอร์
ข. พัดลมเพดาน
ค. ปั๊ มน้ า
ง. สว่านไฟฟ้ า
19. อุปกรณ์ที่ป้องกันการเสี ยหายของมอเตอร์ ที่เกิดจากกระแสไหลเกินในวงจรควบคุมมอเตอร์ เรี ยกว่า
อะไร
ก. แมกเนติก
ข. คอนแทคเตอร์
ค. ไทม์เมอร์
ง. โอเวอร์โหลด

20. ถ้าต้องการกลับทางหมุนมอเตอร์ 3 เฟส จะทาได้อย่างไร


ก. สลับปลายสายขดสตาร์ท
ข. ปรับตาแหน่งแปรงถ่าน
ค. สลับสายไฟที่ต่อกับมอเตอร์ คู่ใดคู่หนึ่ง
ง. สลับสายไฟที่ต่อกับมอเตอร์ 3 เส้น

21. จากแผ่นป้ ายมอเตอร์ ที่กาหนดให้มอเตอร์ มีความเร็ วรอบเท่าใด

3 ~ Mot. 71
1.10 / 1.95 A 1410 min-1
Y / 380/220V. cos  0.75
0.37kW.
Is.KI. B IP54 50Hz. VDE 0530/84

ก. 220 รอบ/นาที
ข. 380 รอบ/นาที
ค. 530 รอบ/นาที
ง. 1410 รอบ/นาที

22. ข้อใดบอกรหัสสี ของสายไฟฟ้ าในระบบ 1 เฟส ได้อย่างถูกต้อง


ก. สี ดาเป็ น L สี เทาเป็ น N และสี เขียวเป็ น G
ข. สี ดาเป็ น L สี เทาเป็ น G และสี เขียวเป็ น N
ค. สี ดาเป็ น G สี เทาเป็ น L และสี เขียวเป็ น N
ง. สี ดาเป็ น N สี เทาเป็ น L และสี เขียวเป็ น G

23. การต่อสายดินเพื่อป้ องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้ ารั่วที่ถูกต้องควรทาอย่างไร


ก. ต่อกับท่อประปาภายในบ้าน
ข. ต่อกับตะปูที่ตอกผนังคอนกรี ต
ค. ต่อกับหลักสายดินที่ทาจากทองแดง
ง. ต่อกับโครงสร้างของบ้านที่เป็ นโลหะ

24. ถ้านาแบตเตอรี่ ขนาด 12 โวลต์ ไปจ่ายให้กบั ขดลวดด้านปฐมภูมิของหม้อแปลงไฟฟ้ า จะวัดแรงดัน


ด้านทุติยภูมิ ได้เท่าไร
ก. 0 โวลต์
ข. 12 โวลต์
ค. น้อยกว่า 12 โวลต์
ง. มากกว่า 12 โวลต์

25. ขดลวดด้านทุติยภูมิของหม้อแปลงแบบลดแรงดันจะมีจานวนรอบเป็ นอย่างไร เมื่อเทียบกับขดลวด


ด้านปฐมภูมิ
ก. จานวนรอบน้อยกว่า
ข. จานวนรอบเท่ากัน
ค. จานวนรอบมากกว่า
ง. จานวนรอบเท่าไรก็ได้

26. การทางานของวงจรไฟฟ้ าตามกฎของโอห์ม ข้อใดกล่าวถูกต้อง


ก. R คงที่ E เพิ่ม I ลด
ข. I คงที่ R เพิ่ม E เพิ่ม
ค. E คงที่ R เพิม่ I เพิม่
ง. I เปลี่ยนแปลงผกผันกับ R

27. เครื่ องใช้ไฟฟ้ าชนิดใดไม่มีส่วนประกอบของมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสสลับ


ก. เครื่ องรับโทรทัศน์
ข. พัดลม
ค. ตูเ้ ย็น
ง. เครื่ องซักผ้า

28. ความต้านทาน 4 แถบสี มีค่า 50 k   1% มีสีใดบ้าง


ก. เขียว ดา ดา น้ าตาล
ข. เขียว ดา น้ าตาล น้ าตาล
ค. เขียว ดา แดง น้ าตาล
ง. เขียว ดา ส้ม น้ าตาล

29. จากรู ปข้างล่างนี้ขอ้ ใดคือสัญลักษณ์ของรี เลย์

ก.

ข.

ค.

ง.

30. อุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนคลื่นเสี ยงให้เป็ นสัญญาณไฟฟ้ า คือข้อใด


ก. ลาโพง
ข. ไมโครโฟน
ค. หูฟัง
ง. รี เลย์

31. ข้อใดคือการต่อลาโพงที่ทาให้ค่าความต้านทานลดลงครึ่ งหนึ่ง

ก.

ข.

ค.

ง.

32. ไดโอดเป็ นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนาใช้ทาหน้าที่อะไร


ก. เรี ยงกระแสไฟ AC ให้เป็ น DC
ข. เรี ยงกระแสไฟ DC ให้เป็ น AC
ค. เรี ยงกระแสไฟ DC ให้เป็ น DC
ง. เรี ยงกระแสไฟ AC ให้เป็ น AC

33. เมื่อปลายหัวแร้งสกปรกควรทาความสะอาดอย่างไร
ก. ใช้วธิ ี เคาะหัวแร้งให้ตะกัว่ หลุด
ข. สะบัดปลายหัวแร้งให้ตะกัว่ หลุด
ค. ใช้โลหะขูดปลายหัวแร้ง
ง. ใช้ฟองน้ าสังเคราะห์ชุบน้ าเช็ด

34. ถ้าต้องการนามัลติมิเตอร์ ไปวัดค่าแรงดันไฟกระแสตรงขนาด 12 V ควรตั้งย่านวัดไว้ที่ตาแหน่งใด


ก. 10 VDC
ข. 10 VAC
ค. สู งกว่า 12 VDC ขึ้นไป
ง. สู งกว่า 12 VAC ขึ้นไป

35. ไฟฟ้ ากระแสตรงสัญญาณพัลส์ใช้เครื่ องมืออะไรในการวัด


ก. มัลติมิเตอร์
ข. วัตต์มิเตอร์
ค. เครื่ องกาเนิดสัญญาณ
ง. ออสซิลโลสโคป

36. เครื่ องกาเนิดสัญญาณ (ฟังชัน่ เจนเนอร์ เรเตอร์ ) ผลิตรู ปสัญญาณในข้อใด


ก. รู ปสัญญาณไฟกระแสสลับ
ข. รู ปสัญญาณไฟกระแสตรงที่เรี ยบ
ค. รู ปสัญญาณทริ กเกอร์
ง. รู ปสัญญาณสี่ เหลี่ยมคางหมู

37. อุปกรณ์ที่เป็ นตัวป้ องกันระบบไฟฟ้ าคือข้อใด


ก. สวิตช์, ฟิ วส์
ข. ฟิ วส์, เบรกเกอร์
ค. สะพานไฟ, สวิตช์
ง. เบรกเกอร์, โหลด

38. ระบบแสงสว่างที่ใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ตอ้ งเพิม่ อุปกรณ์อะไรบ้างจากวงจรปกติ


ก. สวิตช์, ฟิ วส์
ข. สวิตช์, บัลลาสต์
ค. สวิตช์, สตาร์ทเตอร์
ง. บัลลาสต์, สตาร์ทเตอร์

39. ข้อใดคือขั้นตอนการประกอบวงจรที่ถูกต้อง
ก. ลงอุปกรณ์ บัดกรี และทดสอบ
ข. ทดสอบ บัดกรี และลงอุปกรณ์
ค. อ่านวงจร ลงอุปกรณ์ บัดกรี และทดสอบ
ง. อ่านวงจร ลงอุปกรณ์ และบัดกรี

40. การต่อตัวต้านทานลักษณะใดเป็ นการต่อแบบขนาน

ก.

ข.

ค.
ง.

41. ความร้อนในการเชื่อมไฟฟ้ าทาให้เกิดการหลอมละลายได้จากหลักการในข้อใด


ก. เกิดความต้านทานสู งระหว่างตัวนาทั้งสอง
ข. เกิดจากการสันดาปของออกซิ เจนกับฟลักซ์
ค. เกิดการอาร์ ก ระหว่างตัวนาทั้งสอง
ง. เกิดการเหนี่ยวนาของกระแสไฟฟ้ า

42. กระบวนการที่ทาให้ชิ้นงานหลอมละลายติดกันเรี ยกว่าอะไร


ก. การประสาน
ข. การเชื่อม
ค. การบัดกรี
ง. การบัดกรี แข็ง

43. ปั ญหาลวดเชื่อมติดชิ้นงาน ทาให้การอาร์ กไม่ต่อเนื่องจะมีวธิ ี การแก้ไขอย่างไร


ก. ควบคุมระยะอาร์กให้ถูกต้องและคงที่
ข. ปรับกระแสไฟฟ้ าให้ต่าลง
ค. เลือกใช้ชนิดกระแสไฟฟ้ าให้ถูกต้อง
ง. เลือกชนิดของลวดเชื่อมให้เหมาะสม

44. การเชื่อมไฟฟ้ ากับชิ้นงานหนามาก ๆ เพื่อให้มีความแข็งแรงควรเตรี ยมชิ้นงานอย่างไร


ก. เจาะรู ชิ้นงานยึดด้วยสลักเกลียว
ข. เว้นระยะห่างชิ้นงานบริ เวณรอยต่อ
ค. นาเหล็กเส้นกลมมาเสริ มบริ เวณรอยต่อ
ง. บากหน้าชิ้นงานบริ เวณรอยต่อ
45. ปั ญหาการไหลย้อยของแนวเชื่อมในท่าขนานนอน มีวธิ ี การแก้ไขอย่างไร
ก. ปรับกระแสไฟฟ้ าให้สูงกว่าการเชื่อมท่าราบ
ข. เดินแนวเชื่อมให้ชา้ ลง
ค. ควบคุมมุมลวดเชื่อมและการส่ ายลวดให้ถูกต้อง
ง. เพิ่มระยะอาร์ กให้ห่างขึ้น

46. ทาไมต้องใช้หน้ากากเชื่อม ป้ องกันทุกครั้งที่ทาการเชื่อม


ก. เพื่อป้ องกันดวงตาจากรังสี จากการเชื่อม
ข. เพื่อป้ องกันความร้อนจากการเชื่อม
ค. เพื่อป้ องกันเม็ดโลหะ
ง. เพื่อให้มองเห็นการอาร์ กอย่างชัดเจน

47. การสันดาปที่เกิดจากแก๊สออกซิ เจนเท่ากับอะเซทีลีนจะได้เปลวไฟในชนิดใด


ก. เปลวคาร์ บูไรซิ่ ง
ข. เปลวนิวทรัล
ค. เปลวออกซิ ไดซิ่ ง
ง. เปลวคาร์ บอนไนท์ซิ่ง

48. เปลวกลางที่ใช้ในการเชื่อมโดยทัว่ ไปมีลกั ษณะอย่างไร


ก. กรวยไฟชั้นในมีสีเขียวปลายโค้งมน
ข. กรวยไฟชั้นในมีสีฟ้า ปลายแหลมและยาว
ค. กรวยไฟชั้นในมีสีฟ้าแกมขาว ปลายแหลมและสั้น
ง. กรวยไฟชั้นในมีสีส้มปลายแหลมและยาว

49. ในการจุดเปลวไฟ เพื่อทาการเชื่อมควรปฏิบตั ิอย่างไร เป็ นอันดับแรก


ก. เปิ ดวาล์วออกซิ เจน กับอะเซทีลีนเท่ากัน
ข. เปิ ดวาล์วออกซิ เจน มากกว่า อะเซทีลีน
ค. เปิ ดวาล์วอะเซทีลีนมากกว่าออกซิ เจน
ง. เปิ ดวาล์วอะเซทีลีนเล็กน้อย

50. ในการเชื่อมแก๊สถ้าต้องการให้แนวเชื่อมมีความกว้างเท่ากันตลอดแนวควรปฏิบตั ิอย่างไร


ก. รักษาระยะห่างของกรวยไฟให้เท่ากันตลอด
ข. ควบคุมความเร็ วในการเคลื่อนหัวเชื่อมให้สม่าเสมอ
ค. ควบคุมมุมของหัวเชื่อมให้คงที่
ง. ควบคุมแอ่งหลอมละลายให้กว้างเท่ากันตลอดแนว

51. ในการเคลื่อนย้ายถังแก๊สวิธีที่ถูกต้องคือข้อใด
ก. จับถังเอนดึงส่ วนหัวถังลากไป
ข. จับถังเอนด้วยมือขวาแล้วใช้มือซ้ายหมุนถังเคลื่อนที่ไป
ค. จับถังนอนลงแล้วช่วยกันหามไป
ง. ใช้รถเข็นพร้อมผูกด้วยโซ่

52. เพราะเหตุใดการขึ้นรู ปผลิตภัณฑ์ดว้ ยงานโลหะแผ่น ยังพบเห็นอยูใ่ นปั จจุบนั


ก. ขึ้นรู ปได้ง่าย
ข. เหมาะกับการผลิตจานวนน้อยชิ้น
ค. มีความประณี ต สวยงาม
ง. ลดต้นทุน การผลิต

53. การขึ้นรู ปชิ้นงานทรงกระบอก ควรเลือกใช้ตะเข็บแบบใด


ก. Groove Seam
ข. Double Seam
ค. Lap Seam
ง. Single Seam

54. ลาดับขั้นตอนที่ถูกต้อง ในการทาผลิตภัณฑ์โลหะแผ่นคือข้อใด


ก. เขียนแบบแผ่นคลี่, ตัด, ขึ้นรู ป, ยึดประกอบ
ข. ร่ างแบบ, ตัด, ขึ้นรู ป, เชื่อมหรื อบัดกรี
ค. ลอกแบบ, เตรี ยมชิ้นงาน, ตัด, เคาะขึ้นรู ป, เข้าตะเข็บ
ง. ถ่ายแบบ, ตัด, ขึ้นรู ป, บัดกรี หรื อเข้าตะเข็บ

55. สิ่ งที่ตอ้ งระวังมากที่สุด เพื่อความปลอดภัย ในการตัดแผ่นงานด้วยกรรไกรแบบป้ อนแรงตัดด้วยเท้า


คือข้อใด
ก. ก้มศีรษะมองแนวตัด
ข. เท้าที่ออกแรงป้ อนตัด
ค. ตาแหน่งวางมือในการจับยึด
ง. เศษโลหะที่เกิดจากการตัด

56. เครื่ องยนต์แก๊สโซลีน ลิ้นไอดีจะเปิ ดรับส่ วนผสมของน้ ามันเชื้อเพลิงกับอากาศในจังหวะใด


ก. จังหวะดูด
ข. จังหวะอัด
ค. จังหวะระเบิด
ง. จังหวะคาย

57. ข้อใดเป็ นการวิเคราะห์สภาพการทางานของเครื่ องยนต์ โดยใช้ประสาทสัมผัสทางตา


ก. เสี ยงกระแทกจากลูกยางแท่นเครื่ องชารุ ด
ข. คลัตช์สั่นกระตุก
ค. กลิ่นไอเสี ยรั่ว
ง. เครื่ องยนต์เดินเบาสัน่

58. วิธีการขันหรื อคลายโบลต์แบบใดที่เราประยุกต์ใช้กบั งานได้หลากหลาย


ก. แบบคู่ขนาน
ข. แบบสลับคู่ซา้ ยขวา
ค. แบบทะแยง
ง. แบบหมุนวน

59. การถอดชุดกระเดื่องกดลิ้น ควรมีวธิ ี การถอดอย่างไร


ก. จากในไปหานอก
ข. จากนอกไปหาใน
ค. จากซ้ายไปขวา
ง. จากขวาไปซ้าย

60. ในการถอดประกอบลิ้นหรื อวาล์วออกจากฝาสู บของเครื่ องยนต์ ควรใช้เครื่ องมือชนิดใด


ก. ซีแคล็มป์
ข. ประแจบอกซ์
ค. ประแจปอนด์
ง. คีมถ่างแหวน

61. ข้อกาหนดที่เป็ นเกณฑ์เกี่ยวกับความรู ้ ความสามารถ และทัศนคติที่สามารถใช้ในการทางานอาชีพได้ เป็ น


ข้อความเกี่ยวกับข้อใด
ก. ทักษะ ข. มาตรฐานอาชีพ
ค. ทัศนคติ ง. คุณวุฒิวชิ าชีพ

62. ข้อใดหมายถึงองค์ประกอบของมาตรฐานอาชีพด้านทักษะ
ก. ใช้หลักทฤษฎีในการทางาน
ข. มีจิตสานึกในการทางาน
ค. เกี่ยวกับนิสัยในการทางาน
ง. สะสมประสบการณ์จนเกิดความสามารถในการทางาน

63. มาตรฐานอาชีพเฉพาะหมายถึงข้อใด
ก. เป็ นมาตรฐานที่กาหนดขึ้นตามความต้องการของสถานศึกษา
ข. เป็ นมาตรฐานที่ทาการร่ างโดยผูเ้ ชี่ยวชาญแต่ละสาขาอาชีพ
ค. เป็ นมาตรฐานที่ใช้ในกลุ่มอาเซี ยน
ง. เป็ นมาตรฐานสากลทัว่ โลก
64. การดาเนินงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้ โดยต้องมีปัจจัยทั้งหลาย ได้แก่ คน เงิน วัสดุสิ่งของเป็ นอุปกรณ์
การจัดการนั้น ข้อความดังกล่าวหมายถึงข้อใด
ก. การตลาด ข. การบริ หาร
ค. การจัดองค์การ ง. การผลิตสิ นค้า

65. การได้ผลตามวัตถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้เป็ นประโยชน์ของการบริ หารในข้อใด


ก. ประสิ ทธิผล ข. ประสิ ทธิภาพ
ค. ประหยัด ง. เกียรติยศ

66. ข้อใดเกี่ยวข้องกับบทบาทของผูบ้ ริ หารด้านข้อมูลข่าวสาร


ก. Leader ข. Monitor
ค. Liaison ง. Entrepreneur

67. บทบาทของผูบ้ ริ หารในการเป็ นผูป้ ระสานงานทั้งภายนอกและภายในหมายถึงข้อใด


ก. Leader ข. Monitor
ค. Liaison ง. Entrepreneur

68. ผูบ้ ริ หารทุกระดับมีความจาเป็ นต้องมีทกั ษะบริ หารใด


ก. มนุษยสัมพันธ์ ข. การทางาน
ค. ความคิด ง. การวางแผน

69. Management เป็ นทรัพยากรในการบริ หารในข้อใด


ก. วัสดุ ข. การตลาด
ค. การเงิน ง. การจัดการ

70. ทรัพยากรในการบริ หารที่มีคุณค่าด้านค่าจ้างงานและค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน


ก. การตลาด ข. การเงิน
ค. เครื่ องจักร ง. เวลา
71. ข้อใดคือหน้าที่การบริ หารประการแรก
ก. การจัดองค์การ ข. การควบคุม
ค. การวางแผน ง. การสั่งการ

72. หลักการบริ หารของลูเทอร์ กูลิก และลินคอลล์ เออร์ วกิ ตรงกับข้อใด


ก. POSDCORB ข. POCCC
ค. POSDC ง. POAC

73. หน้าที่การบริ หารในปั จจุบนั ที่เกี่ยวกับ Leading มีความหมายต่างกับหน้าที่การบริ หารข้อใด


ก. Commanding ข. Directing
ค. Actuating ง. ถูกทุกข้อ

74. “กลุ่มบุคคลที่อยูร่ ่ วมกัน เพื่อทากิจกรรมให้บรรลุวตั ถุประสงค์” ความหมายดังกล่าวตรงกับข้อใด


ก. สังคม ข. สถาบัน
ค. หน่วยงาน ง. การจัดองค์การ

75. องค์การทางธุ รกิจมีลกั ษณะอย่างไร


ก. เพื่อกาไร ข. เพื่อสาธารณชน
ค. เพื่อความรวดเร็ ว ง. เพื่อประโยชน์ของสมาชิก

…เพจ แนวข้อสอบ ครูอุตสาหกรรมศิลป์ …


หากมีขอ้ ผิดพลาดประการไดก็ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย

You might also like