You are on page 1of 16

การไหลของน้ำในท่อ

Flow in Pipe
(Purpose of the Experiment)
วัตถุประสงค์

1. ศึกษาการสูญเสียพลังงานจากการไหลของน้ำ เนื่องจากแรงเสียด
ทานระหว่างมวลของน้ำกับผนังภายในของท่อหรือเรียกว่า Major
Loss ซึ่งเป็นการสูญเสียพลังงานส่วนใหญ่ ตัวแปรสำคัญในที่นี้คือ
f (Darcy-Weisbach’s Friction Factor)

2. ศึกษาการสูญเสียพลังงานจากการไหลของน้ำเนื่องจากอุปกรณ์
ท่อ (Pipe Fittings) ต่างๆ เช่น ข้องอท่อขยาย ท่อลดหรือประตูน้ำ
เป็นต้น หรือเรียกว่า Miner Loss ซึ่งเป็นการสูญเสียพลังงานส่วน
น้อย ตัวแปรสำคัญในที่นี้คือ Coefficient of Minor Loss
วิธีการทดลอง
1.กรณี Major loss เนื่องจากแรงเสียดทานของผนังท่อ
• ทำการวัดอัตรการไหลของน้ำในท่อเลือกทดลอง (ท่อหมายเลข 2
ถึง 5) โดยใช้เครื่องมือวัดการไหล (flow measurement หรือใช้
การวัดจากถังวัดที่โต๊ะทดลอง) (hydraulic bench)
• อ่านค่า head loss จาก dual manometer
• เปลี่ยนค่าอัตราการไหลพร้อมวัด head loss
• เลือกท่อใหม่แล้วทำการทดลองข้างต้น

2.กรณี Minor loss เนื่องจากการไหลของน้ำในอุปกรณ์ท่อ


• ทำการวัดอัตรการไหลของน้ำผ่านอุปกรณ์ท่อที่เลือก โดยใช้เครื่อง
มือวัดการไหล
• อ่านค่า head loss จาก dual manometer
• เปลี่ยนค่าอัตราการไหลพร้อมวัด head loss
• เลือกท่อใหม่แล้วทำการทดลองข้างต้น
เครื่องมือการทดลอง (Apparatus)
1.ขนาดของแผงเครื่องมือทดลอง
Length 2250 mm , Width 600 mm
Height 1800 mm , Weight 85 kg
2.อุปกรณ์วัดอัตรการไหล (Flow measurement)
Max flow rate (100%) 1600 I/h
3.อุปกรณ์วัดแรงดันน้ำ (Pressure measurement)
4.ท่อและอุปกรณ์ท่อ (Pipe section)
5.โต๊ะทดลอง (Hydraulic bench)  
การทดลองที่ 4
ผลการทดลอง : LAP 4 (Flow in Pipe)
4.1 ) กรณี Major loss เนื่องจากการไหลของน้ำในท่อ
ตารางที่ 4.1 แสดงการเปรียบเทียบค่า head loss จากการทดลองกับทางทฤษฎี
ตัวอย่างการคำนวณ
4.2 ) อุปกรณ์ท่องอแต่ละชนิด
ตาราที่ 4.2 แสดงการคำนวณค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานของท่องอแต่ละชนิด
4.3 ) อุปกรณ์ประตูน้ำ
ตารางที่ 4.3 แสดงการคำนวณค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานของอุปกรณ์ประตูน้ำแต่ละชนิด
สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองกรณี Major loss เนื่องจากการไหลของน้ำในท่อเพื่อหา head loss ที่อุณหภูมิ 25°C ที่ pipe section 2 copper pipe 18 x 1 ที่
volume flow เท่ากับ 0.0262 , 0.0172 , 0.0065 L/s จะได้ค่า head loss เท่ากับ 3.1 , 1.3 , 1.1 mmตามลำดับ pipe section 3 galvanized
steel ½ ที่ volume flow เท่ากับ 0.0262 , 0.0172 , 0.0065 L/s จะได้ค่า head loss เท่ากับ 22.1 , 7.6 , 4.3 mm ตามลำดับ pipe section 4
PVC 20 x 1.5 ที่ volume flow เท่ากับ 0.0262 , 0.0172 , 0.0065 L/s จะได้ค่า head loss เท่ากับ 2.7 , 5.1 , 1.6 mm ตามลำดับ pipe section
5 PVC 32 x 1.7 ที่ volume flow เท่ากับ 0.0262 , 0.0172 , 0.0065 L/s จะได้ค่า head loss เท่ากับ 1.6 , 3.2 , 0.7 mm ตามลำดับ และนำมา
เปรียบเทียบค่า head loss จากการทดลองกับทฤษฏีจะได้ค่าความเบี่ยงเบนเท่ากับ 66.45 % , 91.44 % , 82.81 % , 38.29 % ตามลำดับของ
pipe section

การทดลองที่ 4.2 กรณีอุปกรณ์ท่องอแต่ละชนิด หา head loss ที่อุณหภูมิ 25°C pipe section 1 PCV 20 x 1 (knee) ที่ความยาว 200 mm ค่า
volume flow 0.0170 , 0.0108 , 0.0067 L/s ได้ค่า head loss เท่ากับ 9.6 , 8.3 , 3.1 mm ตามลำดับ PCV 20 x 1 (elbow) ที่ความยาว 91 mm
ค่า volume flow 0.0170 , 0.0108 , 0.0067 L/s ได้ค่า head loss เท่ากับ 1.7 , 8.9 , 1.7 mm ตามลำดับ PCV 20 x 1 (bend) ที่ความยาว 183
mm ค่า volume flow 0.0170 , 0.0108 , 0.0067 L/s ได้ค่า head loss เท่ากับ 18.6 , 11.8 , 3.2 mm ตามลำดับ นำไปคำนวณได้ค่าสัมประสิทธิ์
ความต้านทานของท่องอแต่ละชนิดได้เท่ากับ 32.96 , 5.56 , 64.39 ตามลำดับ

การทดลองที่ 4.3 กรณีเนื่องจากการไหลของน้ำที่ประตูน้ำที่อุณหภูมิ 25°C pipe section 8 ball-cock ความยาว 146 mm ค่า volume flow
0.0262 , 0.0172 , 0.0065 L/s ได้ค่า hv 0.8 , 5.1 , 1.2 mm ตามลำดับ pipe section 8 slanted seat valve ความยาว 240 mm ค่า volume
flow 0.0262 , 0.0172 , 0.0065 L/s ได้ค่า hv 16.7 , 10.5 , 2.4 mm ตามลำดับ pipe section 9 ball-cock ค่า volume flow 0.0262 , 0.0172 ,
0.0065 L/s ได้ค่า hv 14.1 , 13.1 , 3.2 mm ตามลำดับ แล้วนำไปคำนวณได้ค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานของประตูน้ำแต่ละชนิดได้เท่ากับจะ
ได้ 27.71 , 55.78 , 75.44 ตามลำดับ
วิจารณ์ผลการทดลอง

กรณี Major loss เนื่องจากแรงเสียดทานของผนังท่อทั้ง 4 ชนิด จากตารางที่ 4.1 แสดงผลการการคำนวณ ซึ่งเป็นการคำนวณค่า volume flow ที่
0.0065 L/s ท่อ Copper จะได้ค่า Head loss เท่ากับ 0.36 mm ท่อGalvanize steel จะได้ค่า Head loss เท่ากับ 0.36 mm ท่อ PVC ขนาด 20 x 1.5 จะ
ได้ค่า Head loss เท่ากับ 0.28 mm ท่อ PVC ขนาด 32 x 1.7 จะได้ค่าของ head loss เท่ากับ 0.43 mm สามารถวิจารณ์ผลการทดลองได้ว่าผนังของท่อที่
ต่างชนิดกันมีผลต่อค่าแรงเสียดทานที่ทำให้เกิดการสูญเสียของแรงดันหรือพลังงานของน้ำซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีโดยเมื่อนำค่า Head loss ที่ได้จากการ
คำนวณเปรียบเทียบกับค่าที่ได้ทางทฤษฎี จะพบว่ามีค่าความคลาดเคลื่อนของท่อชนิดต่างๆอยู่ที่ 66.45 % , 91.44 % , 82.81 % และ 38.29 % ตามลำคับ
ทั้งนี้ค่าที่เกิดความคลาดเคลื่อนอาจจะเกิดจากการอ่านค่าที่คลาดเคลื่อนในการทดลองหรือท่อแต่ละชนิดที่นำมาทดลองมีการใช้งานเป็นเวลานานจึงทำให้แรง
เสียดทานภายในท่อเกิดคลาดเคลื่อนจากค่าจริงของท่อ จึงทำให้เกิดค่าที่มีคลาดเคลื่อน

กรณีอุปกรณ์ท่องอแต่ละชนิด จากตารางที่ 4.2 แสดงผลการการคำนวณซึ่งเป็นการคำนวณค่า volume flow ที่ 0.0170 L/s ท่องอชนิดที่ 1 PVC 20 x 1
(Knee) ค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานของท่องอแต่ละชนิดได้เท่ากับ 32.95 ท่องอ ชนิดที่ 2 PVC 20 x 1 (elbow) ค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานของท่องอ
แต่ละชนิดได้เท่ากับ 5.56 ท่องอชนิดที่ 3 PVC 20 x 1 (bend) ค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานของท่องอแต่ละชนิดได้เท่ากับ 64.39 สามารถวิจารณ์ผลการ
ทดลองได้ว่าค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานขึ้นอยู่กับมุกหักงอของการไหลและอัตราส่วนของความโค้งท่อ อุปกรณ์ภายมีผลต่อการสูญเสียพลังงานของน้ำ ซึ่ง
ท่องอแต่ละชนิดก็จะทำให้เกิดค่าการสูญเสียพลังงานที่แตกต่างกันออกไป โดยท่องอที่มีค่าความต้านทานเรียงจากมากไปน้อยได้แก่ bend knee และ
elbow ตามลำดับ

กรณีการเกิดการสูญเสียพลังงานเนื่องจากอุปกรณ์ประตูน้ำ จากตารางที่ 4.3 แสดงผลการการคำนวณซึ่งเป็นการ


คำนวณค่า volume flow ที่ 0.0065 L/s ประตูน้ำชนิดที่ 1 Pipe section 8 : ball-cock ค่าสัมประสิทธิ์ความ
ต้านทานได้เท่ากับ 27.71 ประตูน้ำชนิดที่ 2 Pipe section 8 : slanted seat valve ค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานได้
เท่ากับ 55.78 ประตูน้ำชนิดที่ 3 Pipe section 9 : ball-cock ค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานเท่ากับ 75.44 สามารถ
วิจารณ์ผลการทดลองได้ว่าอุปกรณ์ประตูน้ำมีผลต่อการสูญเสียพลังงานหรือแรงดันของน้ำในท่อ ซึ่งประตูแต่ล่ะชนิด
ก็จะมีค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานที่แตกต่างกัน จะส่งผลต่อค่าการสูญเสียพลังงานที่แตกต่างกันออกไป

You might also like