You are on page 1of 72

1

แผนภาพของภาค
PHASE DIAGRAM
โครงสรางเนื้อหา
2

… บทนํา-แผนภาพของภาค … การเปลียี่ นโครงสร


โ า งของโลหะ

… ความสามารถในการละลาย ผสม
… ภาค (Phase) … ระบบ Binary Eutectic
… สมดลของเฟส
สมดุ ลของเฟส … การเปลี่ยนโครงสรางของ
การเปลยนโครงสรางของ
… The GIBBS Phase Rule Eutectic
… I t di t Phases
Intermediate Ph
… แผนภาพภาคของระบบ
… Peritectic & Eutectoid
… การตีความแผนภาพของภาค
… Congruent Phase
Transformation
คําจํากัดความและแนวคิด
3

… องคประกอบ (Component) หมายถึึง ธาตุรวมหรืือสารประกอบทีี่มารวมตัว


กันขึ้นเปนโลหะผสม เชนกรณีของทองเหลือง
… ทองเหลืองประกอบขึ้นจากทองแดงและสังกะสี ดังนั้นจัดวาทองเหลืองมี
องคประกอบอยูู 2 องคประกอบ
… สารละลายของแข็งเปนสารละลายที่ประกอบดวยสารอยางนอย 2 ชนิดขึ้น
ไป โดยทจะมสารตวหนงทาหนาทเปนตวถู
โดยที่จะมีสารตัวหนึ่งทําหนาที่เปนตัวถกละลาย
กละลาย (Solute) และสารอกตว
และสารอีกตัว
จะทําหนาที่เปนตัวทําละลาย (Solvent)
… ระบบ หมายถงสวนของเนอวสดุ
ึ  ื้ ั ที่พจารณา
ิ หรอื โลหะผสมทอาจะเกดขนได
โ ี่ ิ ึ้ ไ 
ทุกรูปแบบ
ความสามารถในการละลาย
(
(Solubility Limit))
4

… ใในระบบของโลหะผสมหลายๆ
โ ชนิด ตัวถูกละลายสามารถผสมลงในตั
ใ วทํา
ละลายโดยมีลักษณะเปนสารละลายเนื้อเดียวทั้งหมดในสภาพของแข็ง จึง
เรียกวา สารละลายของแข็ง็ (Solid Solution)
… ปริมาณของตัวถููกละลายที่สามารถละลายไดสูงสุุดในสารละลายของแข็ง
เรียกวา ขีดจํากัดการละลาย (Solubility Limit)
… ในกรณีที่ปริมาณตัวถกละลายมี
ในกรณทปรมาณตวถู กละลายมคามากเกนคาความสามารถในการละลายจะ
คามากเกินคาความสามารถในการละลายจะ
เกิดเปนสารละลายของแข็งอีกชนิดหนึ่ง หรือ สารประกอบ
ความสามารถในการละลาย
(
(Solubility Limit))
5
ภาค (Phase)
( )
6

… Phase หมายถึึงสวนหนึึ่งสวนใดในระบบที
ใ ใ ่ีมีคุณลักษณะทางกายภาพ
(Physical characteristic) และเคมี (Chemical characteristic) สม่ําเสมอ
และเหมือนกัน
… โลหะบริสุทธทุกชนิดจัดเปนเฟส และยิ่งไปกวานั้น สถานะที่แตกตางกัน เชน
ของแข็ง ของเหลว กาซ ก็นับเปนเฟสที่แตกตางกันอีกดวย
… ตัวอยางจากระบบน้ําและน้ําตาล
ตวอยางจากระบบนาและนาตาล
แผนภมิ
แผนภู มเฟส
เฟส (Phase Diagram)
7

… แผนภู มิ ที่ แ สดงว า มี เ ฟสอะไรบ


ไ า งในวั
ใ ส ดุ ซึ่ ง แปรตามการเปลี่ ย นของ
อุณหภูมิ ความดันและสวนผสมทั้งหมด
… มี ค ว า ม สํ า คั ญ ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ ค ว บ คุ ม
กระบวนการทางความรอน ((heat treatment)) ซึ่งแผนภููมิ
ของเฟสจะแสดงถึงความสัมพันธระหวางโครงสราง
ผลึ ก กั บ คณสมบั
ผลกกบคุ ณ สมบตเชงกลตางๆ
ติ เ ชิ ง กลต า งๆ และจดหลอมเหลว
และจุ ด หลอมเหลว
ซึ่ ง จะแปรตามการเปลี่ ย นแปลงของอุ ณ หภู มิ ความ
ดัน และสวนผสม
ดน และสวนผสม
ภาค (Phase)
8

… สว นผสม และภาค (Components and Phases)


… สวนผสม (Components) หมายถึง ธาตุหรือสารประกอบทีม ่ าผสม
ดวยกัน เชน
ดวยกน เชน Al และ Cu
… ภาค (Phases) หมายถึงสวนที่เปนเนือ
้ เดียวกันในเชิงกายภาพ และ
แตกตางจากสวนอืน
แตกตางจากสวนอนในระบบ เชน α และ β
่ ในระบบ เชน
β (lighter
phase)
Aluminum-Copper
Alloy α ((darker
phase)
ผลกระทบของอุณหภูมิ และองคประกอบ
(
(Effect of T & Composition ((Co))
9

… การเปลีย
่ นแปลงอุณหภูมิสามารถเปลี่ยนจํานวนของ
เฟสได เชน จากจุด A ไปยังจุด B
… การเปลี่ยนแปลงขององคประกอบสามารถ
เปลี่ยนแปลงจํานวนของเฟสได เชนจากจุ
B(100,70) ุด B ไปยัง
D(100,90)
1 phase 2 phases
จุด D 100
L
Temperrature (°°C)

80
(liquid)
60 +
L S
(liquid
q solution (solid
40 i.e., syrup) sugar)
20 A(70,20)
2p
phases
0
0 20 40 60 70 80 100
Co=Composition (wt% sugar)
สมดลของเฟส
สมดุ ลของเฟส (PHASE EQUILIBRIUM)
10

… เฟสไดอะแกรมมักจะถูกสรางขึ้นในสภาวะสมดุล คือ
จะไมมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อเวลาเปลี่ยนไป
… คํ า ว า สมดุ ล นั้ น จะสามารถอธิ บ ายได ใ นรู ป ของ
พลังงานอิสระ ((Free Energy)) คือพลังงานที่อยููในของ
วั ส ดุ แ ล ะ มี ลั ก ษ ณ ะ แ ป ร เ ป ลี่ ย น อ ยู ต ล อ ด เ ว ล า
เนื่องจากการไมเปนระเบียบของอะตอมหรือโมเลกล
เนองจากการไมเปนระเบยบของอะตอมหรอโมเลกุ ล
(Entropy) ซึ่งระบบที่เกิดสมดุลนั้นจะมีคาพลังงานอิสระ
ที่นอยที่สด โดยมาจากป
ทนอยทสุ โดยมาจากปจจย จจัย 3 ปจจย
ปจจัย
1. อุณหภูมิ ( Temperature ; T )
2. ความดัน ( Pressure ; P )
ความดน
3. สวนผสม ( Composition; µ )
THE GIBBS PHASE RULE
11

… จากกฎเกณฑ ท าง Thermodynamic ทํํ า ให


ใ  ท ราบ
ความสัมพันธระหวาง Phase ที่สามารถมีไดในภาวะ
สมดุลในระบบ,
ใ จํานวนทีี่นอยทีี่สุดของสวนผสม และ
ร ะ ดั บ ค ว า ม อิ ส ร ะ โ ด ย ทั้ ง 3 ตั ว แ ป ร นี้ จ ะ ไ ด
ความสัมพันธวา GIBBS PHASE RULE
… คา Degree
g of Freedom คือจํานวนตัวแปรที่เราสามารถ
เลือกกําหนดคาได (Independent Variable) และจะสงผล
ไปยังตัวแปรอื่นๆในระบบ
ไปยงตวแปรอนๆในระบบ
GIBB’SS PHASE RULE (Pure Metal)
GIBB
12

P+F=C+2
… P = จานวนของ
จํานวนของ Phase ในระบบทพจารณา
ในระบบที่พิจารณา
… C = จํานวนสวนผสมในระบบ ที่สามารถอยูอยางอิสระ
ได , component
ได
… F = ระดับความอิสระ (degrees of freedom)
… 2 = คาความสามารถที่จะกําหนดความดันและ
อุุณหภููมิ = คาคงที่
แผนภาพของธาตบริ
แผนภาพของธาตุ บรสุ
สทธิ
ทธ์
13
… เมื่อพิจารณาจากรูปที่จุด Triple point จะมี 3 phase และใน
ระบบมีส ี วนผสมเดีียวคืือ นํา้ํ ดัังนัน
้ั เราสามารถ
14
คํานวณหา ระดับความอิสระไดโดย

P+F=C+2

3+F=1+2

F=0

สรุปไดวา ที่จุด Triple point ตัวแปรตางๆไมวาจะเปนอุณหภูมิหรือความดันจะถูกกําหนด


เปปนคา คงทีค่ี านีเ้ี ทา นัน้ั เราเรีียกจุดนีว้ี า invariant point
ระดับความอิสระ
ระดบความอสระ
15

บรเวณทม
ิ ี่ ี 2 เฟส
ฟส จุดบนเสนโคงเยอกแขง
ส โ  ื ็
ระหวางของเหลวและของแข็ง ; P = 2
P+F=C+2
2+F=1+2
F=1

บริเวณที่มี 1 เฟส จุดใดๆในบริเวณที่มีเฟส


เดียว ; P = 1
P+F=C+2
1+F=1+2
F=2
16

เฟสไดอะแกรมของความดัน-อุณหภูมิ (P-T)ของเหล็กบริสุทธิ์
แผนภาพภาคของระบบ 2 ธาตุ
(
(Phase Diagram of Binary System))
17

… ระบบสมดุลของธาตุ 2 ธาตุ มีอี ยู 5 ระบบ ดังนีี้


1. ระบบสารละลายแข็ง (Solid solution system)
เปนระบบที่ โลหะหรือธาตุทั้งสอง ตางผสมและละลายกันไดทุกสัดสวน ทั้ง
ในสภาพของเหลวและของแข็ง
2. ระบบยูเทคติค (Eutectic system)
เปนระบบที่ โลหะหรอธาตุ
เปนระบบท โลหะหรือธาตทัทงสอง
้งสอง ตตางผสมและละลายกนไดทุ
างผสมและละลายกันไดทกสั
กสดสวนใน
ดสวนใน
สภาพของเหลว แตแยกกันอยางเด็ดขาดในสภาพของแข็ง
แผนภาพภาคของระบบ 2 ธาตุ (ตอ)
(
(Phase Diagram of Binary System))
18

3. ระบบผสมระหว า งระบบสารละลายแข็็ ง กัั บ ระบบยู เ ทคติ ค


เปนระบบที่ โลหะหรือธาตุทั้งสอง ตางผสมและละลายกันไดทุกสัดสวนใน
สภาพของเหลว และละลายกันไดบางในสภาพของแข็ง
4. ระบบที่เกิดจากปฎิกิริยาเพอริเทคติค (Peritectic reaction)
เปนระบบที่ โลหะหรือธาตุทั้งสอง ตางผสมและละลายกันไดทุกสัดสวนใน
สภาพของเหลว และแข็งตัวตามปฎิฎกิริยาเพอริ-เทคติก
5. สารประกอบระหว า งโลหะ (Intermetallic compound)
เปนระบบที่ โลหะหรอธาตุ
เปนระบบท โลหะหรือธาตทัท้งสอง
งสอง ตางผสมและละลายกนไดทงหมดใน
ตางผสมและละลายกันไดทั้งหมดใน
สภาพของเหลว และรวมกันเปนสารประกอบในสภาพของแข็ง
19
ตัวอยางแผนภาพภาคของระบบ 2 ธาตุ
(
(Phase Diagram of Binary System))
20
การตีความจากแผนภาพของภาค
การตความจากแผนภาพของภาค
21

… ใ น ก า ร ตีี ค ว า ม จ ะ ต อ ง
สามารถระบุสิ่งตางๆ ดังนี้
† ประเภทของ Phase ที่
ปรากฏอยู
† สวนผสมของ Phase ที่
ปรากฏอยูนั้น (Phase
Composition)
† ปริ ม าณสารสั ม พั ท ธ ข อง
Phase ทีี่ปรากฏอยู (Phase
Amounts)
สวนประกอบของเฟส (Composition of
phases)
22

T(°C)
TA A
tie line dus
i
1300 L (liquid) il qu
+ α
B L s
du
li
TB so
α
L +α (solid)
1200 D
TD
20 3032 35 4043 50
CLCo Cα wt% Ni
ปริมาณสารสัมพัทธของเฟส
(
(weight fractions of phases))
23
ปริมาณสารสัมพัทธของเฟส
(
(weight fractions of phases))
24

Co = 35wt%Ni
At TA: Only Liquid (L) T(°C)
WL = 100wt%,, Wα = 0
TA A
At TD: Only Solid (α) tie line dus
i
1300 L (liquid) liqu
WL = 0, Wα = 100wt% α
At TB: Both α and L L + s
B o lidu
TB R S
s

S 43 − 35 + α α
WL = + = = 73wt % 1200 L D
R S 43 − 32 TD (solid)
R
Wα = + = 27wt% 20 3032 35 4043 50
R S CLCo Cα
wt% Ni
กฎของคานงั
ฎ ด THE LEVER RULE : A PROOF
• Sum of weight fractions: WL + Wα = 1
• Conservation of mass (Ni): Co = WL CL + Wα Cα
• Combine above equations:
= Cα − Co = S Co − CL = R
WL Wα =

Cα CL R S + Cα − CL R + S

• A geometric interpretation:
Co moment equilibrium:
CL Cα
WLR = WαS
R S

WL Wα 1− Wα
solving
l i gives
i L
Lever Rule
R l
25
การเปลี่ยนโครงสรางของโลหะผสมเนื้อ
26
เดียว
… จุด a (1300
( ˚C)) โลหะผสมเป
โ ปนของเหลว
ทั้งหมด มีสวนผสมคือ 35%Ni-65%Cu
… จุด b (1260
(1260˚C)C) เรมมของแขงเฟส
ิ่ ี ็ ฟส α
เกิดขึ้น สวนผสมที่เกิดขึ้น คือ
† เฟส α 46%Ni-54%Cu
46%Ni 54%Cu
† เฟส L 35%Ni-65%Cu

… ั้ ฟส α และเฟส
สสวนผสมของทงเฟส
ส ฟส L
สามารถเปลี่ยนแปลงหลังเย็นตัวไดอีก นั่น
คือ เปลี่ยนไปตามเสน solidus และ
Liquidus
… และอัตราสวนผสมของ α ยังคงเพิ่มขึ้น
ตามการเย็นตัว
รูปจําลองการเปลี่ยนโครงสรางของโลหะผสม Nickel - Copper
ระบบยูเทกติกแบบสององคประกอบ
( Binary Eutectic Alloy System))
27

… เปน ระบบทีีโ่ ลหะ หรือื ธาตุทัง้ สองตางละลายกันได


ไ ทุกสัดสวนในสภาพ

ของเหลว แตจะแยกเด็ดขาดในสภาพของแข็ง

EUTECTIC
TEMPERATURE
… Liquid Solid A + Solid B
COOLING
ระบบยูเทกติก
( Binary
Bi EEutectic
i Alloy
All SSystem))
28

รูปทีี่ 5.6
5 6 แสดงแผนภาพสมดุลของโลหะผสมระหว
โ าง Bi และ Cd
ระบบ BINARY EUTECTIC
(ระบบยเทกติ
(ระบบยู เทกตกก แบบ 2 องคประกอบ)
องคประกอบ)
29

… เสน CBA คืือเสนขีีดจํํากััดการ


ละลายของเงิน
… ขี ด จํ า กั ด การละลายของเงิ น มี
คาประมาณ 8% โดยน้ําหนัก
ของเงิน
… เมืื่ อ เติิ ม เงิิ น ลง ใ นทองแดง
อุณหภูมิที่โลหะผสมทั้งหมดจะ
เริ่มกลายเปนของเหลวลดต่ําลง
ตามเสน Liquidus หรือ
อุ ณ ห ภู มิ ห ล อ ม เ ห ล ว ข อ ง
ทองแดงลดลงเมื่อเติมเงิน
… จุ ด E เรี ย กจุ ด ตายตั ว
(Invariant point) มีสวนผสม
เปน CE และอุ
เปน และอณหภมิ
ณหภูมเปนเปน TE

รูปที่ 5.4 Phase Diagram ของโลหะผสม Copper - Silver


ระบบ BINARY EUTECTIC
(ระบบยูเทกติกิ แบบ 2 องคป ระกอบ)
30

Liquid (CE) α(CαE) + β(CβE)


… หรื อ อาจอธิ บ ายได ว า ในขณะที่ เ กิ ด การแข็ ง ตั ว นั้ น
ของเหลว 1 Phase เปลยนเปนของแขง
เปลี่ยนเปนของแข็ง 2 Phase ไดแก ไดแก
ของแข็ง α และของแข็ง β ณ อุณหภูมิ TE และจะ
เกิ ด ย อ นกลั บ ถ า เราเพิ่ ม อณหภมิ
เกดยอนกลบถาเราเพมอุ ณ หภู ม ขน
ขึ้ น ซึ
ซงปฏกรยา
่ ง ปฏิ กิ ริ ย า
ดังกลาวนี้เรียกวาปฏิกิริยา Eutectic Reaction (Eutectic
หมายถึง งายตอการถู
หมายถง งายตอการถกหลอมเหลว)
กหลอมเหลว)
ตัวอยาง
ตวอยาง
31

… โโลหะผสม 40 wt% Sn - 60 wt% Pb ณ อุณหภูมิ 150oC (ดั


( ัง
รูปในslideหนาถัดไป) ถามวา
(a) ปรากฎ phase อะไรขี้นบาง
ฎ ้นมีสวนผสมทางเคมีเทาไหร
(b) Phase ที่ปรากฎนั
(c) ใหคํานวณหาปริมาณสารสัมพัทธของ phase ตางๆที่เกิด
ขี้น
(d) ใหคํานวณหาปริมาตรสารสัมพัทธของ phase ตางๆที่
เกิดขึ้น
เกดขน
… โดยกําหนดใหความหนาแนนของของแข็ง Pb และ
Sn มคาเทากบ
มีคาเทากับ 11.23
11 23 และ 7.24
7 24 g/cm3 ตามลาดบ
ตามลําดับ
ตัวอยาง 40 wt% Sn - 60 wt% Pb
ตวอยาง
32
เฉลยตัวอยาง
เฉลยตวอยาง
33

((a) ทีจ ฟ α กัับ β


ี่ ุด B จะมีเี ฟส
(b)
α (10 wt%-Sn – 90 wt% Pb)
β (98 wt%
wt%-Sn
Sn – 2 wt% Pb)

(c) W = Cβ − C1 = 98 − 40 = 0.66
α
Cβ − Cα 98 − 10

C1 − Cα 40 − 10
Wβ = = = 0.34
Cβ − Cα 98 − 10
เฉลยตัวอยาง
เฉลยตวอยาง
34

100
… (d) ρα =
C Sn (α ) C Pb(α )
+
ρ Sn ρ Pb
100
ρα = = 10.64 g / cm3
10 90
+
7.24 g / cm3 11.23 g / cm3

100
ρβ =
CSn( β ) CPb( β )
+
ρSn ρ Pb
100
ρβ = = 7.29 g / cm3
98 2
+
7.24 g / cm 11.23 g / cm3
3
เฉลยตัวอยาง
เฉลยตวอยาง
35

… หาคา ปริ
ป ิมาตรสารสัม
ั พัท β
ั ธ Vα และ Vβ
Wα 0.66
ρα 10 64 g / cm3
10.64
Vα = = = 0.57
Wα W 0.66 0.34
+ β 3
+ 3
ρα ρ β 10.64 g / cm 7.29 g / cm

Wβ 0.34
0 34
ρβ 7.29 g / cm3
Vβ = = = 0.43
Wα W 0.66 0.34
+ β 3
+ 3
ρα ρ β 10.64 g / cm 7.29 g / cm
36

รูปที่ 5.5 Phase Diagram ของโลหะผสม Pb-Sn


โครงสรางจุลภาคของโลหะผสมยู
37
เทกติก

… กรณีท่ี 1 สวนผสมอยูระหวางสารบริสุทธิ
กั บ ขี ด จํ า กั ด ก า ร ล ะ ล า ย สู ง สุ ด ที่
อุณหภูมิหอง
… การแข็งตัวจะเกิดขึ้นอยางสมบููรณที่จุดตัด
ของเสนปะ ww’ กับ Solidus
… โลหะผสมที่ ไ ด ห ลั ง จากการแข็ ง ตั ว แบบ
โลหะผสมทไดหลงจากการแขงตวแบบ
สมบูรณ จะมีหลายผลึก

รูปที่การเปลี่ยนโครงสรางของโลหะผสม Pb – Sn ที่สว นผสม C1


โครงสรางจุลภาคของโลหะผสมยู
38
เทกติก

… กรณีท่ี 2 สวนผสมอยูระหวางขีดจํากัด
การละลายที่ อุ ณ หภู มิ ห อ งและขี ด จํ า กั ด
การละลายสูงสุดที่อุณหภูมิยูเทกติก
… การแข็งตัวจะเกิดขึ้นอยางสมบููรณที่จุดตัด
ของเสนปะ xx’ กับ Solidus
… จุจดหลั
ดหลงจากผานเสน
งจากผานเสน Solvus ไปแลว
ไปแลว จะ
เกินขีดจํากัดการละลายที่อุณหภูมิหอง ทํา
ใหเกิดเฟส Beta
ใหเกดเฟส Bt

รูปที่ จําลองการเปลี่ยนโครงสรางของโลหะผสม Pb – Sn ทีส


่ วนผสม C2
โครงสรางจุลภาคของโลหะผสมยู
39
เทกติก

… กรณีีที่ 3 การแข็็งตััวที่ีสวนผสมยู
เทกติก
… เมื่ อ อุ ณ หภู มิ ล ดลงจะไม เ กิ ด การ
เปลี่ยนแปลงจนกระทั่งผานอุุณหภูมิ
ยูเทกติก (183)
… การเกิดเปนเฟส α และ β จะเกด
การเกดเปนเฟส จะเกิด
การเปลี่ยนแปลงการกระจายตัวของ
ต ะ กัก่ ว แ ล ะ ดดี บุบ ก จจึ ง ททํ า ใ หห เ กกิ ด
โครงสรางเปนชั้นๆ เรียกโครงสรางยู
เทกติก
เทกตก
รูปที่ จําลองการเปลี่ยนโครงสรางของโลหะผสม Pb – Sn ทีส
่ วนผสม C3
40

รูปท่ 5.
รปที 5 9 รูรปถ
ปถายโครงสราง
ายโครงสราง Eutectic แสดงถงการ
แสดงถึงการ
เรียงตัวสลับกัน (Lamellae) ซึ่งสารละลายของแข็ง
α คือชั้นที่เปนสีทึบ สวนสารละลายของแข็ง β
คือชั้นที่เปนสีสวาง (กาลงขยาย
คอชนทเปนสสวาง (กําลังขยาย 375x)
โครงสรางจุลภาคของโลหะผสมยู
41
เทกติก

… กรณีที ี่ 4 อยูบนเสน Isotherm
… เมื่ออุณหภูมิต่ํากวาเสน Isotherm จะ
เปลยนจากเฟสของเหลวเปนเฟส
ป ี่ ฟส ป ฟส α และ
β ซึ่งมีโครงสรางยูเทกติก
… โดยอาจจะเรี ย ก α และ β นวาเปน
โดยอาจจะเรยก นี้ ว า เป น
สวนประกอบจุลภาค (Microconstituents)
… เฟส α ทเกดขนมาจากมสองรู
ที่เกิดขึ้นมาจากมีสองรปแบบ
ปแบบ คอ คือ
รูปแบบที่เย็นตัวผานเฟส α+L เรียก
แอลฟาปฐมภู มิ และอี ก รู ป แบบหนึ่ ง เกิ ด
จากปฏิกริยายูเทกติก หรือเรียก ยูเทกติก
แอลฟา
…
รูปที่ จําลองการเปลี่ยนโครงสรางของโลหะผสม Pb – Sn ทีส
่ วนผสม C4
42

รูปที่ 5.11 ภาพถายโลหะผสม Lead - Tin ทีส่ วนผสม C4


HYPOEUTECTIC & HYPEREUTECTIC
T(°C)
300 L

L+α
200
TE α L+β (Pb-Sn
β
α+β System)
y )
100

Co Co
hypoeutectic hypereutectic
0 Co, wt% Sn
0 20 40 60 80 100
18.3 eutectic 97.8
61.9
hypoeutectic: Co=50wt%Sn hypereutectic: (illustration only)

eutectic: Co=61.9wt%Sn
α β
α β
α α β β
α β
α β
175
175µm 160µm
43 eutectic micro-constituent
44

รูป Phase Diagram ของโลหะผสม Tin – Lead เพื่อใชในการคํานวณหาปริมาณสารสัมพัทธของ


โครงสรางแอลฟาปฐมภูมิและแอลฟายูเทกติก ณ สวนผสม C4
P C•4 – 18.3
18 3
We = WL = =
P + Q 61.9 – 18.3

Q 61.9 - C•4
Wα’ = =
P + Q 61.9 – 18.3

We = ปริมาณสารสัมพัทธของโครงสราง Eutectic (eutectic α + eutectic β)


WL = ปรมาณสารสมพทธของเหลวกอนเกดปฏกรยา
ปริมาณสารสัมพัทธของเหลวกอนเกิดปฏิกิริยา
Wα’ = ปริมาณสารสัมพัทธของโครงสรางแอลฟาปฐมภูมิ
45
Q+R 97 8 - C•4
97.8
Wα = =
P + Q+R 97.8 – 18.3

P C•4 – 18.3
Wβ = =
P + Q+R 97.8 – 18.3

46
ตัวอยางระบบยูเทคติค
47
ตัวอยางระบบยเทคติ
ู ค
48

… ° ที่ตรง
(a) At the eutectic composition ( 61.9% Sn ) just below 183°C
นี้จะประกอบไปดวยเฟส α และ β ดังนั้น

α β

97.5 – 61
97. 61..9 61.9 – 19
61. 19..2
= (100%)
100%) = (100%)
100%)
97..5 – 19
97 19..2 97..5 – 19
97 19..2
= 45.
45.5% = 54.
54.5%
ตัวอยางระบบยเทคติ
ู ค
49

… °
(b) The point c at 40% Sn and 230°C ที่จุดนี้ประกอบไปด
ไ วย
Liquid และ เฟส α ดังนั้น

Liquid α

40 – 15 48 – 40
= (100%)
100%) = (100%)
100%)
48 – 15 48 – 15
= 76%
76% = 24%
24%
ตัวอยางระบบยเทคติ
ู ค
50

… ° + ∆T
(c) The point d at 40% Sn and 183°C ที่จุดนี้ประกอบไป

ดวย Liquid และ เฟส α ดังนั้น

Liquid α

40 – 19
19..2 61.9 – 40
61.
= (100%)
100%) = (100%)
100%)
61..9 – 19
61 19..2 61..9 – 19
61 19..2
= 49%
49% = 51%
51%
ตัวอยางระบบยเทคติ
ู ค
51

… ° - ∆T
(d) The point e at 40% Sn and 183°C ที่จุดนี้ประกอบไป

ดวย α และ เฟส β ดังนั้น

α β

97.5 – 40
97. 40 – 19
19..2
= (100%)
100%) = (100%)
100%)
97..5 – 19
97 19..2 97..5 – 19
97 19..2
= 73%
73% = 27%
27%
โจทยแบบฝกหัด
1.พิจารณาโลหะผสมที
โ ° วิเคราะหเ ฟสในภาวะสมดุ
ี่มี 80 wt% Ni และ 20 wt% Cu ทีี่ 1400°C ใ ล
1.1 เฟสอะไรบางที่มีอยู
1.2 สว นผสมทางเคมีี ของแตล ะเฟส

1.3 ปริมาณของแตละเฟสที่มีอยู

3.5 ท
ที่ 50%
50% Ag และ 600
600°°C
3.6 ที่ 90%
90% Ag และ 600°
600°C
3.7 ที่ 71.
71.9% Ag และ 600°
600°C

52
รููปสําหรับโจทยขอ 1

53
รูปสําหรับโจทยขอ 2

รูป Phase Diagram ของโลหะผสม Lead - Tin


54
2. วิเคราะหเฟสทีจ่ ุดตางๆ
3.1 ทที่ 50% Ag และ 850850°CC
3.2 ที่ 90% Ag และ 825°C
3 3 ทที่ 50% Ag และ 779
3.3 779°CC + ∆t
3.4 ที่ 90% Ag และ 779°C + ∆t

รูปPhase Diagram ของโลหะผสม Copper - Silver

55
5.11 แผนภูมิรูปภาพของภาคที่ปรากฏโครงสราง
INTERMEDIATE PHASES หรอสารประกอบ
หรือสารประกอบ (COMPOUNDS)
56
• สารละลายของแข็งขอบ
(Terminal solid solution)
มี เ ฟสของแข็ ง สองเฟสอยู

บรเวณขอบของแผนภู มิ
เฟส
• ใ น โ ล ห ะ ผ ส ม อื่ น ๆ
อาจจะพบสารละลาย
ของแข็งระหวางกลาง หรือ
เฟสระหว า งกลาง เชน
เฟสระหวางกลาง เช น
ระบบทองแดง และสังกะสี
• เฟส β เปนสารละลาย
ของแข็ ง ที่ มี ก ารจั ด เรี ย ง
ตั ว อย า งเป น ระเบี ย บ ทั้ ง
ทองแดงและสังกะสีอยใน
ทองแดงและสงกะสอยู
รูปที่ 5.13 Phase Diagram ของโลหะผสม ตําแหนงที่แนนอน
Copper - Zinc
57

• ใ น บ า ง ร ะ บ บ จ ะ มมี
ส า ร ป ร ะ ก อ บ ร ะ ห า ง
ก ล า ง แ ท น ที่ จ ะ เ ป น
ของแข็ง ซึ่งสารประกอบ
เหล า นี้ มี สู ต รทางเคมี
เฉพาะ
•สารประกอบระหว า ง
โ ล ห ะ -โ ล ห ะ เ รีร ย ก
สารประกอบเชิงโลหะ
•ความสามารถในการ
ล ะ ล า ย ข อ ง ต ะ กั่ ว ใ น
สารละลายแมกนีเซียมมี
คา มาก
รูปที่ 5.14 Phase Diagram ของโลหะผสม แมกนีเซียมและตะกั่ว
58

รูปที่ 5.15 ภาพขยายของ Phase Diagram ของโลหะ


ผสม Copper – Zinc
แสดงจด
แสดงจุ ด E; Eutectoid (558
(558°C
C – 75 wt% Zn)
แสดงจุด P; Peritectic (558°C – 78.6 wt% Zn)
5.12 ปฏิกิริยา PERITECTIC และปฏิกิริยา
EUTECTOID
59

… ปฏกรยายู
ปฏิ กริยายตอยด
ตอยด คอ
คือ ปฏิ
ปฏกรยาการ
กริยาการ
เย็ น ตั ว ลงของระบบโลหะผสม
แลวเกิดการเปลี่ยนแปลงจากเฟส
ของแข็ ง เฟสหนึ่ ง ไปเป น ของแข็ ง
สองเฟส
… จุดตายตัวที่ประกอบดวย 3 เฟส
เรียกจุดยูเทกตอยด เสนไทไลนที่
ลากผานตามแนวนอนเรีียก เสนยู
เทกตอยดไอโซเทิรม
… ปฏิกริยาดังสมการ
ปฏกรยาดงสมการ

δ COOLING
γ + ε
HEATING
ระบบเพอริเทคติก (Peritectic)
60
เมื่อเพิ่มอุณหภูมิของแข็งเฟสหนึ่งจะเปลี่ยนเปนเฟสของแข็งอีกเฟสหนึ่งและเฟส
ของเหลว ตามสมการ
COOLING
Liquid + Solid A Solid B
HEATING
… ปฏิกริยาเพอริเทคติกเกิดขึ้น
ที่อุณหภูมิ 598 C และ
78.6%Zn-21.4%Cu ดังจุด
P ตามสมการ

δ +LL COOLING
ε
HEATING
61
62

จากแผนภาพ Peritectic Diagram ให


ใ หาคา ปริ
ป มิ าณสารสัมั พัทั ธข องจุด
ตอไปนี้
1) At 42.4% Ag and 1400°C
2) 1186°CC + ∆T
At 42.4% Ag and 1186
3) At 60% Ag and 1150°C
Example
จากแผนภาพ Peritectic Diagram ใหหาคา Phase
y ของจุุดตอไปนี้
Analysis
1) At 42.4% Ag and 1400°C
1 Phase Present : liquid
Composition of phase : 55% Ag in liquid phase
Amounts of phase : 42.4 – 7 (100%) = 74%
55 – 7
2 Phase Present : alpha
Composition of phase : 7% Ag in alpha phase
Amounts of phase : 55 – 42.4 (100%) = 26%
63 55 – 7
2) At 42.4% Ag and 1186°C + ∆T
1 Phase Present : liquid
Composition of phase : 66.3%
66 3% Ag in liquid phase
Amounts of phase : 42.4 – 10.5 (100%) = 57%
66 3 – 10.5
66.3 10 5
2 Phase Present : alpha
C
Composition
iti off phase
h : 10.5%
10 5% A
Ag iin alpha
l h phase
h
Amounts of p phase : 66.3 – 42.4 ((100%)) = 43%
66.3 – 10.5

64
3)) At 60% Ag
g and 1150°C
1
Ph
Phase P
Presentt : liliquid
id
Composition
p of p
phase : 77% Ag g in liquid
q pphase
Amounts of phase : 60 – 48 (100%) = 41%
77 – 48
2
Ph
Phase P
Presentt : Beta
B t
Composition
p of p
phase : 48% Ag g in Beta p phase
Amounts of phase : 77 – 60 (100%) = 59%
77 – 48
65
66
ป ิกิริยา EUTECTOID
ปฏิ

จ กภ พที่ 5.13
จากภาพท

δ COOLING

HEATING
γ + ε
67

รูปที่ 5.16 ภาพขยายของ Phase Diagram ของโลหะผสม Copper – Zinc


แสดงจุด E; Eutectoid (558°C – 75 wt% Zn)
แสดงจุด P; Peritectic (558°C – 78.6 wt% Zn)
5.13 CONGRUENT PHASE TRANSFORMATION
68

การเปลี่ยน Phase โดยทีไ่ มมีการเปลี่ยนสวนผสมทางเคมีน้ันเรา


เรียกวา Congruent Transformation และ ถาพจารณาในทาง
เรยกวา ถาพิจารณาในทาง
กลับกัน การเปลี่ยน Phase โดยทีท่ ีสว นประกอบใดสวนประกอบ
หนึงึ่ เปลีี่ยนสวนผสมทางเคมีีเราก็เ็ รีียกวาเปนการเปลีีย่ น Phase
แบบ Incongruentg
69 สําหรับสารประกอบ (Intermediate Compounds)
ต า งๆ (ดัั ง ในหั
ใ ั ว ข อ ทีี่ 5.11) ก็็ ถู ก แบ ง ออกเปป น แบบ
Congruent คอสารประกอบทไมมการเปลยนสวนผสม
คือสารประกอบที่ไมมีการเปลี่ยนสวนผสม
ทางเคมี ใ นขณะที่ มั น เปลี่ ย นเฟส Phase หรื อ แบบ
Incongruent คื อ สารประกอบที่ มี ก ารเปลี่ ย นส ว นผสม
ทางเคมีดวย ในขณะที
ทางเคมดวย ในขณะทมนเปลยน
่มันเปลี่ยน Phase
Congruent
70

Mg – Si Magnesium - Silicon
Incongruent
71
แบบฝกหัดทายบท
72
1. A magnesium-lead alloy of mass 7.5 kg consists of a solid α
phase that has a composition just slightly below the solubility limit
at 300 oC
(a) What mass of lead is in the alloy?
(b) If the alloy is heated to 400 oC, how much more lead may be
dissol ed in the α phase without
dissolved itho t exceeding
e ceeding the solubility
sol bilit limit of
this phase?
2. จากแผนภาพ Cu-Ag ทีอี่ ณ ุ หภูมิ 775 oC ประกอบด
ป ว ย primary α และ
โครงสราง Eutectic พบวาปริมาณสารสัมพัทธทั้งสองเฟสมีคาเทากับ
0 73 และ 0.27
0.73 0 27 ตามลาดบ
ตามลําดับ ใหคานวณหาสวนผสมทางเคมของทงสอง
ใหคํานวณหาสวนผสมทางเคมีของทั้งสอง
เฟส

You might also like