You are on page 1of 8

~1~

การผสมสาร

1. เมื่อเติมน้ำแข็ง 20 กรัม 0 องศาเซลเซียส ลงไปในน้ำ 100 กรัม ที่ 20 องศาเซลเซียส ทันทีที่น้ำแข็งละลาย


หมดน้ำมีอุณหภูมิเท่าใด

2. ใส่น้ำแข็ง 10 กรัม 0 องศาเซลเซียส ในภาชนะทองแดง 100 กรัม ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ทันทีที่


น้ำแข็งละลายหมด ภาชนะมีอุณหภูมิเป็น 10 องศาเซลเซียส จงหาความจุความร้อนจําเพาะของทองแดง
~2~

3. น้ำร้อนมีอุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส บรรจุอยู่ในถ้วยฉนวน เมื่อใส่น้ำแข็งมวล 2 กรัม ลงไป 2 ก้อน


เมื่อน้ำแข็งละลายหมดพอดี น้ำร้อนมีอุณหภูมิเหลือ 60 องศาเซลเซียส จงหามวลของน้ำร้อน

4. พ่นไอน้ำเดือดมวล 10 กรัม ที่ 100 องศาเซลเซียส ลงในน้ำเย็น 200 cm3 ที่มีอุณหภูมิเป็น 10 องศา
เซลเซียส เมื่อไอน้ำควบแน่นหมดพอดี น้ำจะมีอุณหภูมิเป็นกี่องศาเซลเซียส
ก. 27 ข. 37 ค. 55 ง. 75

5. พ่นไอน้ำเดือดมวล 20 กรัม ที่ 100 องศาเซลเซียส ลงในถ้วยเงินมีมวล 500 กรัม ซึ่งเดิมมีอุณหภูมิเป็น 15


องศาเซลเซียส ภายหลังจากไอน้ำควบแน่นจนหมด ถ้วยเงินมีอุณหภูมิเป็น 75 องศาเซลเซียส จงหา
ความจุความร้อน จําเพาะของเงิน ในหน่วย cal/goC
ก. 0.12 ข. 0.25 ค. 0.36 ง. 0.50
~3~

6. (ข้อสอบเข้าเตรียม) ใส่ก้อนน้ำแข็งจำนวนหนึ่งลงในน้ำ 1 กิโลกรัมที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เมื่อน้ำแข็ง


ละลาย หมดพอดี น้ำกลายเป็นน้ำเย็นที่ 0 องศาเซลเซียส จงหาว่าใส่ก้อนน้ำแข็งลงไปเท่าใด กำหนด
ความร้อนแฝง จําเพาะของน้ำแข็งเป็น 80 แคลอรีต่อกรัม
1. 75 กรัม 2. 120.75 กรัม 3. 375 กรัม 4. 753 กรัม

7. ถ้วยแก้วมีความจุความร้อน 200 cal/goC มวล 600 กรัม ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส บรรจุน้ำแข็งไว้


2 ก้อน ก้อนละ 2 กรัม เมื่อน้ำแข็งละลายหมดพอดี ถ้วยแก้วจะมีอุณหภูมิเท่าใด

9. พ่นไอน้ำเดือดมีอุณหภูมิ 100 oC จำนวนหนึ่ง ลงในก้อนเหล็กซึ่งมีมวล 200 กรัม อุณหภูมิ 25 องศา


เซลเซียส ปรากฏว่าเมื่อไอน้ำควบแน่นหมดพอดี เหล็กมีอุณหภูมิสูงขึ้นเป็น 70 องศาเซลเซียส จงหาว่าไอน้ำที่
พ่นไปมี มวลกรัม กำหนดความร้อนจําเพาะของเหล็กเป็น 0.2 cal/goC,
ก. 0.3 ข. 1.3 ค. 2.3 ง. 3.3

ลองทำเอง
1. น้ำร้อน 100 กรัม ที่ 80 องศาเซลเซียส เอามาผสมกับน้ำเย็น 400 กรัม ที่ 20 องศาเซลเซียส จะได้อุณหภูมิ
ผสมเป็นกีอ่ งศาเซลเซียส
~4~

2. เทน้ำ 20 กรัม ที่ 10 องศาเซลเซียส ลงไปในถ้วยกระเบื้องซึ่งมีน้ำอยู่ 40 กรัมที่ 20 องศาเซลเซียส จงหา


อุณหภูมิผสมของน้ำที่ได้ใหม่

3. น้ำแข็งมวล 25 กรัม 3 ก้อน อุณหภูมิ 0 oC ใส่ในน้ำมวล 200 กรัม 80 % อุณหภูมิผสมของน้ำจะลดลง


เหลือกีอ่ งศาเซลเซียส

4. ภาชนะมวล A กิโลกรัมมีอุณหภูมิ T องศาเซลเซียส เมื่อนําน้ำแข็งมวล 8 กิโลกรัมอุณหภูมิ 0 oC ใส่ลงใน


ภาชนะแล้วทิ้ง ไว้จนน้ำแข็งละลายหมดและมีอุณหภูมิผสมเป็น R เซลเซียส อยากทราบว่า R จะมีค่าเท่าใด
กําหนดให้ความจุความร้อนจําเพาะของภาชนะและน้ำเท่ากับ x และ y จูลต่อกิโลกรัม-เคลวิน ความร้อนแฝง
จําเพาะของการหลอมเหลวของน้ำแข็งเท่ากับ z จูลต่อกิโลกรัม
Bz + ATx Bz − ATx ATx − Bz Bz + ATx
ก. ข. ค. ง.
Ax − By Ax + By Ax + By By − Ax

5. ของเหลว 3 ชนิด A B C ต่างมีมวลเท่ากัน และมีอุณหภูมิ 10, 30, 50 องศาเซลเซียส ตามลำดับ เมื่อนํา A


ผสม B จะมีอุณหภูมิผสมเป็น 20 oC แต่ถ้านํา ผสม C อุณหภูมิผสมเป็น 38 oC ถ้านํา B ผสม C อุณหภูมิผสม
เป็นเท่าใด
~5~

6. ถ้าใส่ก้อนน้ำแข็ง 0 oC 400 กรัม ลงในน้ำอุ่น 60 oC ซึ่งหนัก 500 กรัม อุณหภูมิผสมเป็นกี่องศาเซลเซียส


ก. 0 ข. -2.22 ค. -10 ง. 12

7. (ข้อสอบเตรียมอุดม) เทน้ำอุ่นจำนวน 500 กรัม อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส ลงในแก้วน้ำที่มีก้อนน้ำแข็ง


จำนวน 400 กรัม อุณหภูมิของสารที่ได้ใหม่นั้นมีค่าเป็นกี่องศาเซลเซียส
1. 22.2 องศาเซลเซียส 2. -2:22 องศาเซลเซียส
3. 0 องศาเซลเซียส 4. 22.2 องศาเซลเซียส

8. ต้องการทำให้น้ำร้อน 400 กรัม 100 องศาเซลเซียส ในชามกระเบื้อง มีอุณหภูมิผสมเป็น 40 องศาเซลเซียส


ควรเติมน้ำแข็ง 0 องศาเซลเซียสลงไปกี่กรัม
1. 100 2. 200 3. 300 4. 600

9. น้ำร้อนเดือดที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ปริมาตร 400 ลูกบาศก์เซนติเมตร ถ้าต้องการให้อุณหภูมิระบบ


ลดลงเหลือ 20 องศาเซลเซียส จงหาว่าจะต้องเติมน้ำแข็งลงไปกี่กรัม ถ้าความร้อนแฝงของน้ำแข็งเท่ากับ 80
แคลอรี่/กรัม และความจุความร้อนจําเพาะของน้ำเท่ากับ 1 แคลอรี่/กรัม องศาเซลเซียส
ก. 320 ข. 200 ค. 160 ง. 100
.
~6~

10. เทน้ำเดือด 100 oC 20 กรัม ลงในแคลอรีมิเตอร์เงินมวล 400 กรัม อุณหภูมิ 20 oC พบว่าอุณหภูมิผสม


เป็น 57.7 oC จงหา ความจุความร้อนของแคลอรี่มิเตอร์

11. เหล็กท่อนหนึ่งหนัก 10 กรัม อุณหภูมิ 91 องศาเซลเซียส นําไปหย่อนลงในของเหลวชนิดหนึ่งซึ่งมีน้ำหนัก


100 กรัม อุณหภูมิ 13 องศาเซลเซียส ถ้าอุณหภูมิผสมสุดท้ายเป็น 16 องศาเซลเซียส และความร้อนจําเพาะ
ของโลหะเท่ากับ 0.214 จงหาความร้อนจําเพาะของของเหลวนี้
1. 0.535 2. 5.35 3. 53.5 4. 535

12. (ข้อสอบเข้ามหิดลฯ) กาแฟมวล 100 กรัม 90 องศาเซลเซียส จากนั้นนําน้ำแข็งมวล 20 กรัม 0 องศา


เซลเซียส หย่อนลงในกาแฟ ปรากฏว่าอุณหภูมิผสมเป็น 40 องศาเซลเซียส จงหาค่าความจุความร้อนจําเพาะ
ของกาแฟ กําหนดให้ 1. ไม่คิดถ้วยกาแฟและอากาศสิ่งแวดล้อม
2. Lน้ำแข็ง = 80 cal/g และ cน้ำ 1 cal/g°C
1. 0.1 cal/g°C ° 2. 2.0 cal/g°C 3. 3.0 cal/g°C 4. 0.48 cal/g°C
~7~

13. น้ำ 100 กรัม 35 oC บรรจุอยู่ในแคลอรีมิเตอร์ทองแดงมวล 50 กรัม เมื่อนําน้ำแข็ง 30 กรัม 0 oC


หย่อนลงในแคลอรีมิเตอร์ น้ำแข็งละลายได้ทั้งหมด จงหาอุณหภูมิผสม กำหนดความจุความร้อนจําเพาะของ
ทองแดง คือ 0,093 cal/g°C

14. คาลอรีมิเตอร์ทองแดงหนัก 25 กรัม บรรจุน้ำ 100 กรัม มีอุณหภูมิเป็น 10 c นํามาผ่านไอน้ำเดือด 5 กรัม


ที่อุณหภูมิ 100 oC ลงไป ได้อุณหภูมิสุดท้ายเป็น 35 oC จงหาความร้อนแฝงของไอน้ำเดือดจากข้อมูลที่โจทย์ให้
มานี้ กำหนดความร้อนจําเพาะของทองแดงและน้ำเป็น 0.1 cal/g°C และ 1 cal/g°C ตามลำดับ
ก. 600 ข. 540 ค. 515 ง. 448

15. (ข้อสอบเข้ามหิดลฯ) ถ้วยกาแฟมวล 100 กรัม บรรจุน้ำร้อน 100 องศาเซลเซียส มวล 400 กรัม เมื่อนํา
น้ำแข็งอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส มวล 300 กรัม หย่อนลงในถ้วยกาแฟปรากฏว่าเกิดอุณหภูมิผสมเป็น 40
องศาเซลเซียส โดย ความร้อนของระบบไม่สูญเสียให้กับสิ่งแวดล้อม จงหาค่าความจุความร้อนจําเพาะของถ้วย
กาแฟ เมื่อค่า ความร้อนแฝงจําเพาะของน้ำแข็งเท่ากับ 80 cal/g ค่าความร้อนจําเพาะของน้ำเท่ากับ 1
cal/g°C
1. 0.1 cal/g°C 2. 2.0 cal/g°C 3, 3.0 cal/g°C 4. 5.0 cal/g°C
~8~

16. เทอร์โมมิเตอร์หนึ่งมีมวล 55 กรัม ความจุความร้อนจําเพาะ 0.02 cal/g°C ขณะนั้นเทอร์โมมิเตอร์อ่านค่า


15 °C เมื่อจุ่มเทอร์โมมิเตอร์ลงในน้ำ 300 กรัม ปรากฏว่าเทอร์โมมิเตอร์อ่านค่าอุณหภูมิสุดท้าย 45 °C จงหา
ว่าก่อนจุ่มเทอร์โมมิเตอร์ น้ำมีอุณหภูมิเท่าใด

17. นําวัตถุชนิดหนึ่งมีมวล 200 กรัม อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส นําใส่ลงในน้ำที่มีมวล 50 กรัม อุณหภูมิ
30 องศาเซลเซียส ปรากฏว่าน้ำมีอุณหภูมิสูงสุด 60 องศาเซลเซียส วัตถุนั้นถ่ายเทพลังงานความร้อนเท่าใด
(ถือว่าความ ร้อนไม่สูญเสียให้กับภาชนะ)
ก. 3,000 คาลอรี่ ข. 2,500 คาลอรี่ ค. 2,000 คาลอรี่ ง. 1,500 คาลอรี่

You might also like