You are on page 1of 11

9 วิชาสามัญ เคมี ‘65

(แนวข้อสอบต้องเก็บ)

โดย พี่กัปตัน Chemistry K


โครงสร้างข้อสอบและตัวอย่างข้อสอบ
วิชาสามัญ 59 เคมี
รหัสวิชา 59 เคมี หน้า 1
9 วิชาสามัญเคมี ’65 (แนวข้อสอบต้องเก็บ)

ตัวอย่างข้อสอบเคมี 9 วิชาสามัญ

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คําตอบที่ถูกที่สุด


จํานวน 40 ข้อ (ข้อ 1 - 40) ข้อละ 2 คะแนน รวม 80 คะแนน

1. ไอโซโทปกัมมันตรังสี Na-24 สลายตัวเป็น Mg-24 โดยมีครึ่งชี วิต 12 ชั่ วโมง ถ้าวาง Na-24 มวล 120.00 กรัม
ไว้นาน 60 ชั่ วโมง จะเกิด Mg-24 ขึ้นกี่กรัม และแผ่รังสีชนิดใด
กําหนดให้ เลขอะตอมของ Na = 11 และ Mg = 12 (เคมี 9 วิชาสามัญ 2564 - เปลี่ยนตัวเลข)

เกิด Mg-24 (g) แผ่รังสี


1. 3.75 แกมมา
2. 3.75 บีตา
3. 116.25 แอลฟา
4. 116.25 แกมมา
5. 116.25 บีตา

2. ถ้าดึงอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวออกจากอะตอม Xe ในโมเลกุล XeF4 จํานวน 1 คู่ ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรู ปร่าง


โมเลกุลได้รูปร่างใหม่ รู ปร่างเดิมและรู ปร่างใหม่ของโมเลกุล XeF4 ตามทฤษฎี VSEPR ข้อใดถูกต้อง
กําหนดให้ เลขอะตอมของ F = 9 และ Xe = 54 (เคมี 9 วิชาสามัญ 2564)

รู ปร่างเดิม รู ปร่างใหม่
1. ทรงสี่หน้าบิดเบี้ยว สี่เหลี่ยมแบนราบ
2. ทรงสี่หน้าบิดเบี้ยว ทรงสี่หน้า
3. ทรงสี่หน้า ทรงสี่หน้าบิดเบี้ยว
4. สี่เหลี่ยมแบนราบ ทรงสี่หน้า
5. สี่เหลี่ยมแบนราบ ทรงสี่หน้าบิดเบี้ยว
รหัสวิชา 59 เคมี หน้า 2
9 วิชาสามัญเคมี ’65 (แนวข้อสอบต้องเก็บ)

3. แอลกอฮอล์สเปรย์ มีวิธีการเตรียมดังต่อไปนี้
1) เทเอทานอล 92 %V/V ปริมาตร 200.0 มิลลิลิตร ลงในบีกเกอร์
2) เติมไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 3%V/V ปริมาตร 10.0 มิลลิลิตร กลีเซอรีน 98 %V/V ปริมาตร 7.0 มิลลิลิตร
และนํ้ามันหอมระเหย 2-3 หยด ลงในบีกเกอร์เดียวกัน แล้วคนจนละลายเป็นเนื้อเดียวกัน จากนั้นเทใส่ขวด
กําหนดปริมาตรขนาด 250.00 มิลลิลิตรและเติมนํ้ากลั่นให้ถึงขีดบอกปริมาตร
ความเข้มข้นของเอทานอลในแอลกอฮอล์สเปรย์ท่ไี ด้เป็นกี่โมลาร์
กําหนดให้ ความหนาแน่นของเอทานอลบริสุทธิ์ เท่ากับ 0.800 กรัมต่อมิลลิลิตร (เคมี 9 วิชาสามัญ 2564)

1. 3.20
2. 4.00
3. 12.8
4. 16.0
5. 20.0

4. เมื่อบรรจุ โบรมีน (Br2) ในขวดสุญญากาศขนาด 205 cm3 แล้วทําให้กลายเป็นไอจนหมดที่อุณหภูมิ 27 °C


พบว่าภายในขวดมีความดันเป็น 114 mmHg ไอโบรมีนในขวดดังกล่าวมีมวลกี่กรัม
(เคมี 9 วิชาสามัญ 2563 - เปลี่ยนตัวเลข)

1. 8.7 x 10-3
2. 2.5 x 10-3
3. 0.20
4. 0.40
5. 0.80
รหัสวิชา 59 เคมี หน้า 3
9 วิชาสามัญเคมี ’65 (แนวข้อสอบต้องเก็บ)

5. กระบวนการซาบาเที ย ร์ เ ป็ นกระบวนการการผั นกลั บได้ ที่ มีแ ก๊ ส คาร์ บอนไดออกไซด์ แ ละแก๊ ส ไฮโดรเจนเป็ น
สารตั้ ง ต้ น ได้ แ ก๊ ส มี เ ทนและไอนํ้ า เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โดยกระบวนการนี้ ค ายพลั ง งาน 165 กิ โ ลจู ล ต่ อ 1 โมล
ของคาร์บอนไดออกไซด์

วิธีการทัง้ 2 วิธีในข้อใด ที่ทําให้สามารถเกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ได้ในปริมาณมากขึ้น


(เคมี 9 วิชาสามัญ 2564 - เปลี่ยนคําถาม)

วิธีการที่ 1 วิธีการที่ 2
1. เพิ่มความดัน เพิ่มอุ ณหภูมิ
2. เพิ่มความดัน ลดอุ ณหภูมิ
3. ลดความดัน เพิ่มอุ ณหภูมิ
4. ลดความดัน เติมแก๊ส H2
5. เพิ่มอุ ณหภูมิ เติมแก๊ส H2
รหัสวิชา 59 เคมี หน้า 4
9 วิชาสามัญเคมี ’65 (แนวข้อสอบต้องเก็บ)

6. สารเคลื อ บฟั น (enamel) มี อ งค์ ป ระกอบส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ไฮดรอกซิ ล แอพาไทต์ (hydroxyapatite หรื อ HAP,
Ca5(PO4)3OH) ซึ่ งเป็นของแข็ง เมื่อนําไปละลายนํ้าจนได้สารละลายอิ่มตัวจะเกิดภาวะสมดุลการละลายของ HAP
ดังสมการ และมีค่าคงที่สมดุลเท่ากับ K1
H2 O
Ca5(PO4)3OH(s) 5Ca2+(aq) + 3PO43-(aq) + OH-(aq) K1 = 5.25 x 10-54

เมื่ อ ใช้ ย าสี ฟั นที่ ผ สมฟลู อ อไรด์ ใ นรู ป ของ NaF จะทํ า ให้ HAP เกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าเปลี่ ย นเป็ น ฟลู อ อโรแอพาไทต์
(fluoroapatite หรื อ FAP, Ca5(PO4)3F) ซึ่ งเป็ น ของแข็ ง โดยสมดุ ล การละลายของ FAP ในสารละลายอิ่ ม ตั ว
เป็นดังสมการ และมีค่าคงที่สมดุลเท่ากับ K2
H2 O
Ca5(PO4)3F(s) 5Ca2+(aq) + 3PO43-(aq) + F-(aq) K2 = 1.95 x 10-56

พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. HAP จะละลายได้ดีขึ้นในสารละลายที่มีสมบัติเป็นกรด
ข. ปฏิกิริยาไปข้างหน้าของการเปลี่ยน HAP เป็น FAP เกิดได้ดี
ค. FAP ละลายในนํ้าได้ดีกว่า HAP

ข้อความใดถูกต้อง (MyTCAS65)
1. ก เท่านัน้
2. ข เท่านัน้
3. ก และ ข
4. ก และ ค
5. ข และ ค
รหัสวิชา 59 เคมี หน้า 5
9 วิชาสามัญเคมี ’65 (แนวข้อสอบต้องเก็บ)

7. อินดิเคเตอร์ X และ Y มีช่วง pH การเปลี่ยนสีดังนี้

อินดิเคเตอร์ ช่ วง pH ที่เปลี่ยนสี สีท่เี ปลี่ยน


X 4.5 – 4.8 ไม่มีสี - นํ้าเงิน
Y 2.5 – 3.5 เหลือง - แดง

หยดอินดิเคเตอร์ทั้งสอง ชนิดละ 2 หยด ลงในสารละลาย HA 1.0 โมลาร์ ปริมาตร 100 มิลลิลิตร เมื่อเติม
NaOH 2.0 กรัม ลงในสารละลาย สารละลายจะเปลี่ยนจากสีใดเป็นสีใด (MyTCAS65)
กําหนดให้ Ka ของ HA = 1.0 x 10-6
มวลต่อโมลของ NaOH เท่ากับ 40.0 กรัมต่อโมล และอินดิเคเตอร์ทงั้ สองชนิดไม่ทําปฏิกิริยากัน

1. ส้ม เป็น แดง


2. ส้ม เป็น ม่วง
3. ส้ม เป็น นํ้าเงิน
4. เหลือง เป็น แดง
5. เหลือง เป็น ม่วง

8. สารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตรโครงสร้างดังแสดง

ข้อใดไม่ใช่ สมบัติของสารนี้ (เคมี 9 วิชาสามัญ 2563)


1. ละลายนํ้าได้ดี
2. เกิดพันธะไฮโดรเจนกับนํ้าได้
3. มีจุดเดือดตํ่ากว่า 1-methoxyethane
4. เป็นไอโซเมอร์ของ propan-1-ol
5. เกิดปฏิกิริยา Esterification กับ Carboxylic acid ได้
รหัสวิชา 59 เคมี หน้า 6
9 วิชาสามัญเคมี ’65 (แนวข้อสอบต้องเก็บ)

9. สารคู่ใดไม่สามารถนํามาใช้เป็นมอนอเมอร์ในการผลิตพอลิเมอร์ได้ (เคมี 9 วิชาสามัญ 2564)

สาร 1 สาร 2

1.

2.

3.

4.

5.
รหัสวิชา 59 เคมี หน้า 7
9 วิชาสามัญเคมี ’65 (แนวข้อสอบต้องเก็บ)

ตอนที่ 2 แบบอัตนัย (ระบายตัวเลขที่เป็นคําตอบ


จํานวน 5 ข้อ (ข้อ 41 – 45) ข้อละ 4 คะแนน รวม 20 คะแนน

10. แป้งชนิดหนึ่งมีสูตรโมเลกุลคือ (C6H10O5)n เมื่อเกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสอย่างสมบู รณ์จะได้ผลิตภัณฑ์เป็นกลูโคส


(C6H12O6) ดังสมการเคมี
(C6H10O5)n + nH2O → nC6H12O6
เมื่อร่างกายเผาผลาญกลูโคสจะให้พลังงาน ดังสมการเคมี
C6H12O6 + O2 → CO2 + H2O + พลังงาน (สมการยังไม่ดุล)
หากรั บ ประทานอาหารชนิ ด หนึ่ ง ปริ ม าณ 90.0 กรั ม ซึ่ งประกอบด้ ว ยแป้ ง 9.00% โดยมวล จะต้ อ งใช้ แ ก๊ ส
ออกซิ เจนอย่างน้อยกี่กรัม เพื่อเผาผลาญกลูโคสที่ได้จากแป้งในการรับประทานอาหารชนิดนี้ให้หมด
กําหนดให้ มวลต่อโมลของ H = 1.0, C = 12.0 และ O = 16.0 กรัมต่อโมล (MyTCAS65)
9 วิชาสามัญ เคมี ‘65
(แนวข้อสอบต้องเก็บ) NOTES
สรุป Short Note สุดเจ๋ง !!

เนื้อหาแน่น ครบถ้วน เนื้อหากระชั บ อ่านง่าย

วางขายแล้วทัว่ ประเทศ !!

You might also like