You are on page 1of 45

1

การถ่ายโอนอิเล็กตรอน
ELECTRON TRANSFER
ผศ.ดร.จินดา เข็มประสิทธิ์
สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
SC4310-3
2

เนื้อหาประกอบด้วย
• บทนา
• ปฏิกิริยารีดอกซ์
• การดุลสมการรีดอกซ์
• เซลล์กัลป์วานิก
• ศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กโทรดเดี่ยวและศักย์ไฟฟ้าอิเล็กโทรดมาตรฐาน
• สมการของเนินสท์
• ประโยชน์ของเซลล์กัลป์วานิก
• อิเล็กโทรลิซิส
• ประโยชน์ของอิเล็กโทรลิซิส
3

บทนา
การถ่ายโอนอิเล็กตรอน คือการเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอนจากอะตอม
หนึ่งไปยังอีกอะตอมหนึ่ง จะเรียกปฏิกิริยานี้ว่า ปฏิกิริยาการถ่ายโอน
อิเล็กตรอน (electron transfer reaction)
หรือจะเรียกว่า
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชัน (oxidation-reduction reaction)
ปฏิกิริยารีดอกซ์ (redox reaction)
การถ่ายโอนอิเล็กตรอน จะทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าเกิดขึ้น จึงเรียก
กระบวนการนี้ว่า “เคมีไฟฟ้า (electrochemistry)”
4

A เป็นตัวรีดิวซ์ (reducing agent) ซึ่งถูกออกซิไดส์ ด้วย B


เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน (oxidation reaction) คือให้อิเล็กตรอน
B เป็นตัวออกซิไดส์ (oxidizing agent) ซึ่งถูกรีดิวซ์ ด้วย A
เกิดปฏิกิริยารีดักชัน (reduction reaction) คือรับอิเล็กตรอน
5

ปฏิกิริยารีดอกซ์
เป็นปฏิกิริยาที่มีการให้และรับอิเล็กตรอน ซึ่งประกอบด้วยครึ่ง
ปฏิกิริยา (half reaction) 2 ปฏิกิริยาคือ
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน (oxidation reaction) ให้อิเล็กตรอน
M  Mm+ + me-
ปฏิกิริยารีดักชัน (reduction reaction) รับอิเล็กตรอน
X + ne-  Xn-
6

• ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน (oxidation half-reaction)


Zn(s)  Zn2+(aq) + 2e-
• ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน (reduction half-reaction)
Cu2+(aq) + 2e-  Cu(s)
ปฏิกิริยารวมคือ
Zn(s) + Cu2+(aq)  Zn2+(aq) + Cu(s)

ทั้งปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดักชัน ทาให้เลขออกซิเดชัน
เปลี่ยนแปลง
7

การดุลสมการรีดอกซ์ * ออก สอบ

• ดูว่าสารใดถูกออกซิไดส์ สารใดถูกรีดิวซ์ และผลิตภัณฑ์ที่ได้คืออะไร


• เขียนครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดักชัน
• ดุลครึ่งปฏิกิริยาทั้งสอง ทั้งจานวนอะตอมและประจุไฟฟ้า
ถ้าปฏิกิริยาเกิดในสารละลายกรด ให้เติม H+ เพื่อดุลประจุ
ถ้าปฏิกิริยาเกิดในสารละลายเบส ให้เติม OH- เพื่อดุลประจุ
ดุลจานวนอะตอม H และ O โดยการเติม H2O เข้าไป
• คูณด้วยตัวเลขที่น้อยที่สุด เพื่อทาให้ครึ่งปฏิกิริยาทั้งสองมีจานวน
อิเล็กตรอนเท่ากัน
• รวมครึ่งปฏิกิริยาทั้งสองเข้าด้วยกัน โดยหักลบสารที่เหมือนกันออก และ
จะต้องไม่มีจานวนอิเล็กตรอนเหลืออยู่ในสมการอีก
8

ตัวอย่างที่ 1
จงดุลสมการรีดอกซ์นี้
Fe2+ + Cl2  Fe3+ + Cl-
วิธีคิด Fe2+  Fe3+ ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน
Cl2  Cl- ครึง่ ปฏิกิริยารีดักชัน
ดุลจานวนอะตอมและประจุ
Fe2+  Fe3+ + e-
Cl2 + 2e-  2Cl-
9

ทาให้ครึ่งปฏิกิริยาทั้งสอง มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ากัน ดังนั้น


จะได้
2Fe2+  2Fe3+ + 2e-

จากนั้นรวมครึ่งปฏิกิริยาทั้งสองที่สมบูรณ์แล้วเข้าด้วยกัน จะ
ได้ดังนี้
2Fe2+ + Cl2  2Fe3+ + 2Cl-
10

ตัวอย่างที่ 2
จงดุลสมการรีดอกซ์นี้
H+ + NO3- + Cu2O Cu2+ + NO + H2O
วิธีคิด เขียนครึ่งปฏิกิริยา
+5 - +2
NO3  NO ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน (+ ลดลง)
+1
Cu2O  Cu2+ ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน (+ เพิ่มขึ้น)
x+3(-2) = -1 2x+(-2) = 0 x+(-2) = 0
x = -1+6 = +5 x = 2/2 = +1 x = +2
11

ดุลครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ดุลจานวนอะตอม
Cu2O  2Cu2+ ครึ่งปฏิกิริยา
เติมอิเล็กตรอนลงด้านที่มีเลขออกซิเดชันสูงกว่า ให้มีจานวนเท่ากับ
เลขออกซิเดชันที่เปลี่ยนแปลงไป
Cu2O  2Cu2+ + 2e-
ในสารละลายกรด ดุลประจุโดยการเติม H+ เข้าไป
Cu2O + 2H+  2Cu2+ + 2e-
เติม H2O เพื่อดุลจานวนอะตอม H และ O
Cu2O + 2H+  2Cu2+ + H2O + 2e-
12

ดุลครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
จาก NO3-  NO
จะได้ครึ่งปฏิกิริยารีดักชันที่สมบูรณ์คือ
4H+ + NO3- + 3e-  NO + 2H2O
คูณด้วยตัวเลขที่น้อยที่สุด เพื่อให้จานวนอิเล็กตรอนที่ถ่ายโอนทั้ง
ออกซิเดชันและรีดักชันนั้นเท่ากัน จะได้ดังนี้
3Cu2O + 6H+  6Cu2+ + 3H2O + 6e-
8H+ + 2NO3- + 6e-  2NO + 4H2O
ปฏิกิริยารีดอกซ์คือ
14H+ + 3Cu2O + 2NO3-  6Cu2+ + 2NO + 7H2O
13

ตัวอย่างที่ 3
จงดุลสมการรีดอกซ์ในสารละลายเบสนี้
Bi(OH)3 + MnO4-  BiO3- + MnO2
วิธีคิด เขียนครึ่งปฏิกิริยาดังนี้
+3 +5 -
Bi(OH)3  BiO3 ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน
+7 - +4
MnO4  MnO2 ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
14

ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน
จาก Bi(OH)3  BiO3-
+3 +5 -
จะได้ Bi(OH)3  BiO3 + 2e-
[-1=z+3(-2); z=6-1=+5]
[0=z+3(-1); z=+3]
ดุลประจุในสารละลายเบส โดยการเติม OH- จะได้ดังนี้
Bi(OH)3 + 3OH-  BiO3- + 2e-
ดุลอะตอม O และ H โดยการเติม H2O จะได้
Bi(OH)3 + 3OH-  BiO3- + 3H2O + 2e-
15

ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
+7 +4
จาก MnO4-  MnO2
จะได้ MnO4- + 3e-  MnO2
ดุลประจุ โดยการเติม OH- จะได้ดังนี้
MnO4- + 3e-  MnO2 + 4OH-
ดุลอะตอม O และ H โดยการเติม H2O จะได้ดังนี้
MnO4- + 2H2O + 3e-  MnO2 + 4OH-
16

รวมทั้งสองครึ่งปฏิกิริยาเข้าด้วยกัน เรียกว่าปฏิกิริยารีดอกซ์ แต่ต้อง


ทาการดุลจานวนอิเล็กตรอนที่ถ่ายโอนระหว่าง 2 ครึ่งปฏิกิริยา โดย
การคูณด้วยตัวเลขที่น้อยที่สุดก่อน
จะได้ 3Bi(OH)3 + 9OH-  3BiO3- + 9H2O + 6e-
2MnO4- + 4H2O + 6e-  2MnO2 + 8OH-

จะได้ปฏิกิริยารีดอกซ์ที่สมบูรณ์ ดังนี้
3Bi(OH)3 + 2MnO4- + OH-  3BiO3- + 2MnO2 + 5H2O
17

เซลล์กัลวานิก (Galvanic cells)


เป็นเซลล์ไฟฟ้าที่ประกอบด้วยอิเล็กโทรด 2 ขั้ว (ออกซิเดชัน/
รีดักชัน) จุ่มในสารละลายอิเล็กโทรไลต์ (ชนิดเดียวกัน/ต่างชนิดกัน)
เมื่อต่อให้ครบวงจร จะทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น

เกิดการถ่ายโอนอิเล็กตรอนผ่านตัวกลาง ได้แก่ลวดไฟฟ้าที่ต่อ
ระหว่างอิเล็กโทรด 2 ขั้ว เรียกว่าการถ่ายโอนทางอ้อม
เซลล์กัลวานิกแบบหนึ่ง เรียกว่าเซลล์แดเนียล (Daniell cell)
18

Oxidation e- Reduction
Cu(s)  Cu2+(aq) + 2e- 2Ag+(aq) + 2e-  2Ag(s)

สะพานเกลือ
KNO3, KCl, NH4NO3
Redox
Cu(s) + 2Ag+(aq)  Cu2+(aq) + 2Ag(s)
แผนภาพเซลล์
Cu(s) Cu2+ 2Ag+ 2Ag(s)
oxidation reduction
19

เซลล์ที่มีศักย์ตรงรอยต่อ (junction potential; Ej) เป็นศักย์ที่ได้จาก


การแพร่ของไอออนข้ามรอยต่อระหว่างสารละลายชนิดเดียวกัน แต่ต่าง
ความเข้มข้นกัน หรือรอยต่อระหว่างสารละลายที่ต่างชนิดกัน
20

ศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กโทรดเดี่ยวและอิเล็กโทรดมาตรฐาน
การถ่ายโอนอิเล็กตรอน จากตัวรีดิวซ์ (ให้อิเล็กตรอน) ไปยังตัวออกซิ
ไดส์ (รับอิเล็กตรอน) ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น ซึ่งสามารถวัดออกมา
ได้ในรูปของ แรงเคลื่อนไฟฟ้า (electromotive force, emf) ใน
หน่วยโวลต์ (volt)
จึงต้องมีการกาหนดศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กโทรดมาตรฐานขึ้น คือ
กาหนดให้อิเล็กโทรดไฮโดรเจน เมื่ออยู่ในสภาวะมาตรฐาน (ผ่านแก๊ส
H2 ที่มีความดัน 1 atm ลงในสารละลายที่มีลวด Pt จุ่มอยู่ และ
สารละลายนั้นมี H+ เข้มข้น 1 M) มีศักย์ไฟฟ้า = 0 ในทุกอุณหภูมิ
ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของอิเล็กโทรดไฮโดรเจน EoH
2
21

ศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กโทรดเดี่ยว
หาได้จากนาอิเล็กโทรดนั้นมาจับคู่กับอิเล็กโทรดไฮโดรเจน แล้ววัด
แรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์ ซึ่งก็คือศักย์ไฟฟ้าของอิเล็กโทรดนั้นๆ
เพราะว่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของอิเล็กโทรดไฮโดรเจน = 0 นั่นเอง

ถ้าอยู่ในสภาวะมาตรฐาน (ความดัน 1 atm, อุณหภูมิ 25oC)


จะได้แรงเคลื่อนไฟฟ้ามาตรฐาน (𝐸0𝑐𝑒𝑙𝑙 ) เป็นค่าเดียวกับค่าศักย์
มาตรฐานของอิเล็กโทรดเดี่ยว (𝐸 0 )
22
23

ตัวอย่างที่ 4
จงหา E0 ของเซลล์ Zn(s) Zn2+ Cu2+ Cu(s)
วิธีคิด เขียนปฏิกิริยาครึ่งเซลล์ (half-cell reaction) ดังนี้
ที่ขั้วลบ Zn(s)  Zn2+(aq) + 2e- E0 = +0.76 V
ที่ขั้วบวก Cu2+(aq) + 2e-  Cu(s) E0 = +0.34 V
ปฏิกิริยาของเซลล์ แสดงว่าปฏิกิริยานี้เกิดได้
Zn(s) + Cu2+(aq)  Zn2+(aq) + Cu(s) E0cell=+1.10 V
หรือคิดจาก E0cell = E0(ขั้วบวก)  E0(ขั้วลบ) = 0.34(0.76) = +1.10
24

ตัวอย่างที่ 5
จงทานายว่าปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นได้หรือไม่
2Ag(s) + Pb2+(aq)  2Ag+(aq) + Pb(s)
วิธีคิด เขียนปฏิกิริยาครึ่งเซลล์ได้ดังนี้
ที่ขั้วลบ 2Ag(s)  2Ag+(aq) + 2e- E0 = 0.80 V
ที่ขั้วบวก Pb2+(aq) + 2e-  Pb(s) E0 = 0.13 V
แสดงว่าปฏิกิริยานี้เกิดไม่ได้ E0cell=0.93 V
หรือ E0cell = E0(ขั้วบวก)  E0(ขั้วลบ) = 0.13(+0.80) = 0.93 V
25

สมการของเนินสท์
จากการเปลี่ยนแปลงค่าพลังงานอิสระ (G) เมื่อปฏิกิริยาอยู่ใน
ภาวะสมดุล สาหรับปฏิกิริยานี้
aA + bB ⇌ cC + dD
สามารถเขียนความสัมพันธ์ของพลังงานอิสระกับความเข้มข้นสารได้
ดังนี้ เมื่อ R ค่าคงที่ของแก๊ส = 8.314 J K-1 mol-1
0.08206 L.atm.mol-1 K-1
T อุณหภูมิสัมบูรณ์
[𝐶]𝑐 [𝐷]𝑑
G = 𝐺 + 0
𝑅𝑇𝑙𝑛 𝑎 𝑏 (1)
[𝐴] [𝐵]
26

แต่ G = nEF และ G0 = nE0F

เมื่อ G, G0 เป็นค่าพลังงานอิสระที่เปลี่ยนแปลง ณ สภาวะ


ใดๆ และสภาวะมาตรฐาน ตามลาดับ
E, E0 เป็นศักย์ของเซลล์ที่สภาวะใดๆ และสภาวะมาตรฐาน
ตามลาดับ
n เป็นจานวนอิเล็กตรอนที่ถ่ายโอน
F เป็นค่าคงที่ฟาราเดย์ = 96,487 คูลอมบ์
27

แทนค่า G และ G0 ในสมการ (1) ด้วย 𝐸 และ 𝐸 0 จะได้


สมการ (2) ดังนี้
𝑅𝑇 [𝐶]𝑐 [𝐷]𝑑
𝐸 = 𝐸0 − 𝑙𝑛 𝑎 𝑏 (2)
𝑛𝐹 [𝐴] [𝐵]

0 𝑅𝑇
E=𝐸 − 𝑙𝑛𝑄 (3)
𝑛𝐹

สมการเนินสท์ (Nernst equation)


เสนอโดย Walther Nernst ในปี ค.ศ. 1889
28

ถ้าแทนค่าต่าง ๆ ลงในสมการ (3) จะได้สมการ (4)


0 (8.314)(298.15)(2.303)
E=𝐸 − log 𝑄
(96,487)𝑛
เปลี่ยนจาก ln เป็น log
0 0.0592
𝐸=𝐸 − 𝑙𝑜𝑔𝑄 (4)
𝑛

สมการนี้ใช้ได้ ที่อุณหภูมิ 298 K เท่านั้น


29

ถ้า A, B, C, D อยู่ในสภาวะมาตรฐาน ค่า E จะกลายเป็น E0


แต่ถ้าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น เข้าสู่สมดุล ค่า E = 0 ดังนั้นจากสมการ (2)
จะได้สมการ (5)
𝑅𝑇 [𝐶]𝑐 [𝐷]𝑑
0= 𝐸 0 − 𝑙𝑛 𝑎 𝑏 (5)
𝑛𝐹 [𝐴] [𝐵]

0 𝑅𝑇 [𝐶]𝑐 [𝐷]𝑑 𝑅𝑇
𝐸 = 𝑙𝑛 𝑎 𝑏 = 𝑙𝑛𝐾 (6)
𝑛𝐹 [𝐴] [𝐵] 𝑛𝐹
30

ตัวอย่างที่ 6
จงคานวณค่าคงที่สมดุลที่ 25 oC ของปฏิกิริยา
Zn(s) + Cu2+(aq)  Zn2+(aq) + Cu(s) E0cell=+1.10 V
𝑅𝑇
วิธีคิด จากสูตร 0
𝐸 =
𝑛𝐹
𝑙𝑛𝐾

0.0592
1.10 = 𝑙𝑜𝑔𝐾
2

𝐾 = 2𝑥1037
31

ประโยชน์ของเซลล์กัลวานิก
• เซลล์ปฐมภูมิ
• เซลล์ทุติยภูมิ
• เซลล์เชื้อเพลิง
32

เซลล์ปฐมภูมิ ขั้วลบ (oxidation)


Zn(s)  Zn2+(aq) + 2e-
ขั้วบวก (reduction)
2MnO2(s) + 8NH4+(aq) + 2e-  2Mn3+(aq) + 4H2O + 8NH3(aq)

ปฏิกิริยาสุทธิ
Zn(s)+2MnO2(s)+8NH4+(aq)  2Mn3+(aq)+Zn2+(aq)+4H2O+8NH3(aq)

ได้เป็น [Zn(NH3)4]2+
ให้ศักย์ไฟฟ้า  1.5 V
33

เซลล์ปฐมภูมิ
ขั้วลบ
Zn(s) + 2OH-(aq)  Zn(OH)2(s) + 2e-
ขั้วบวก
HgO(s) + 2H2O + 2e-  Hg(l) + 2OH-(aq)
ปฏิกิริยาสุทธิ
Zn(s) + HgO(s) + 2H2O  Zn(OH)2(s) + Hg(l)

ให้ศักย์ไฟฟ้า  1.3 V
34

เซลล์ทุติยภูมิ : lead storage battery


ขั้วลบ
Pb(s) + SO42-(aq)  PbSO4(s) + 2e-
ขั้วบวก
PbO2(s) + 4H+(aq) + SO42-(aq) + 2e-  PbSO4(s) + 2H2O
ปฏิกิริยาสุทธิ
Pb(s) + PbO2(s) + 4H+(aq) + 2SO42-(aq)  2PbSO4(s) + 2H2O

แต่ละเซลล์ของแบตเตอรี่ให้ศักย์ไฟฟ้า  2 V
35

เซลล์เชื้อเพลิง
ขั้วลบ
2H2(g) + 4OH-(aq)  4H2O + 4e-
ขั้วบวก
O2(g) + 2H2O + 4e-  4OH-(aq)

ปฏิกิริยาสุทธิ
2H2(g) + O2(g)  2H2O
Porous carbon coated with Pt or Ag  catalyst
36

อิเล็กโทรลิซิส (electrolysis)
การเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร เมื่อได้รับพลังงานไฟฟ้าจากภายนอก
เซลล์อเิ ล็กโทรลิติก (electrolytic cell) ประกอบด้วย
แหล่งพลังงาน (แบตเตอรี่)
อิเล็กโทรด 2 ขั้ว
ขั้วแอโนด (+) ปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ขั้วแคโทด () ปฏิกิริยารีดักชัน
สารละลายอิเล็กโทรไลต์
37

เซลล์อเิ ล็กโทรลิติก
ออกซิเดชัน รีดักชัน

E0cell = 4.07 V

ปฏิกิริยาสุทธิ
2Cl-(l) + 2Na+(l)  Cl2(g) + 2Na(l)

E0(ox) =1.36 V E0(red) =2.71 V


38

เซลล์อเิ ล็กโทรลิตกิ ของสารละลาย HCl


ปฏิกิริยาที่แอโนด 2Cl-(aq)  Cl2(g) + 2e- E0(ox) = 1.36 V
ปฏิกิริยาที่แคโทด 2H+(aq) + 2e-  H2(g) E0(red) = 0.00 V
ปฏิกิริยาสุทธิ
2H+(aq) + 2Cl-(aq)  H2(g) + Cl2(g) E0cell = 1.36 V

ใช้ Pt เป็นอิเล็กโทรด (เฉื่อยต่อปฏิกิริยา)


39

อิเล็กโทรลิซิสของสารละลายที่ใช้น้าเป็นตัวทาละลาย
จะมีการแข่งขันในการให้หรือรับอิเล็กตรอนของน้าเข้าร่วมด้วยกับไอออน
ต่างๆ ในสารละลาย ดังนี้
ปฏิกิริยาที่แคโทด (รีดักชัน) ปฏิกิริยาที่มีค่า E0(red) มากกว่า เกิดก่อน
Mn+ + ne-  M
2H2O + 2e-  H2(g) + 2OH-(aq)
ปฏิกิริยาที่แอโนด (ออกซิเดชัน) ปฏิกิริยาที่มีค่า E0(ox) มากกว่า เกิดก่อน
2X- (aq)  X2 + 2e-
H2O  ½ O2(g) + 2H+(aq) + 2e-
40

ประโยชน์ของอิเล็กโทรลิซิส
• การเตรียมธาตุ
• การทาให้ธาตุบริสุทธิ์
• การชุบฉาบผิวโลหะด้วยไฟฟ้า
41

การเตรียม Na โดยใช้ Down cell

ปฏิกิริยาสุทธิ
2Cl-(l) + 2Na+(l)  Cl2(g) + 2Na(l)

Fe แกรไฟต์
42

การทาให้ธาตุให้บริสุทธิ์

โลหะอื่นที่มีความว่องไวในการเกิดออกซิเดชันน้อยกว่า Cu
43

การชุบฉาบผิวโลหะด้วยไฟฟ้า (electroplating)
44

การสึกกร่อนของโลหะ (corrosion)
45

The End
hope you all do the best and good luck.

You might also like