You are on page 1of 7

เฉลย โครงการจัดตั้งสายวิชาเคมี

แบบฝกหัด วิชา เคมีทั่วไป (01403111) คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร


ม.เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน
บทที่ 10 เรื่อง จลนศาสตรเคมี

1. จงตอบคําถามเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1.1 ความหมายของอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี และหนวยที่เปนไปได
1.2 ความแตกตางระหวางอัตราการเกิดสารผลิตภัณฑและอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1.3 ความหมายของกฎอัตรา
1.4 ความแตกตางของกฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียลและกฏอัตราอินทิเกรต
1.5 อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีขึ้นกับปจจัยใดบาง
2. พิจารณากราฟความเขมขนของสาร X และตอบคําถามดานลาง

2.1 กราฟดังกลาวควรเปนของสารตั้งตนหรือผลิตภัณฑ เพราะเหตุใด


ผลิตภัณฑ เพราะเมื่อเวลาผานไปมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น
2.2 จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาแบบเฉลี่ย (average rate) ในชวง 20 วินาทีแรก
1.4
1.2
Concentration (M)

1.0
0.8
0.6
0.4
0.2
| | | | | | |
0 5 10
15 20 25 30
t (second)
average rate = 1.1 M/20 s= 0.55 M s-1
2.3 จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่จดุ เริ่มตน (initial rate)
1.4
1.2
Concentration (M)

1.0
0.8
0.6
0.4
0.2
| | | | | | |
0 5 10
15 20 25 30
t (second)
initial rate = 0.6 M/5 s= 0.12 M s-1
2.4 จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่ t=10 s (Instantaneous rate)
1.4
1.2
Concentration (M)
1.0
0.8
0.6
0.4
0.2
| | | | | | |
0 5 10
15 20 25 30
t (second)
Instantaneous rate = (0.9-0.4 )M/10 s= 0.05 M s-1
2.5 อธิบายวาปฏิกิริยานี้เปนปฏิกริ ิยาอันดับศูนยไดหรือไม
ไมเปนปฏิกิริยาอันดับศูนย เพราะปริมาณสารผลิตภัณฑเพิ่มขึ้นแบบไมคงที่
3. จากปฏิกิริยาตอไปนี้ 4NH 3 (g)+5O 2 (g) →4NO(g)+6H 2 O(g) จงเขียน
3.1 สมการแสดงอัตราการเปลีย่ นแปลงของ NH 3 , O 2 , NO และ H 2 O
d [ NH 3 ]
อัตราการเปลี่ยนแปลงของ NH 3
dt
d [O2 ]
อัตราการเปลี่ยนแปลงของ O 2
dt
d [ NO ]
อัตราการเปลี่ยนแปลงของ NO
dt
d [ H 2O ]
อัตราการเปลี่ยนแปลงของ H 2 O
dt
3.2 สมการแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยา

1d [ NH 3 ] 1d [O2 ] 1d [ NO ] 1d [ H 2O]
r= − =− =+ =+
4dt 5dt 4dt 6dt

3.3 หากอัตราการเกิด NO(g) มีคาเทากับ 16.0 M/s จงคํานวณหาอัตราการสลายตัวของ O 2 (g) และอัตราการเกิดปฏิกิริยา


d [ NH 3 ]
อัตราการเปลี่ยนแปลงของ NH 3 = 16.0 M s-1
dt
1d [ NH 3 ] 1d [O2 ]
r= − =−
4dt 5dt
d [O2 ]
- ={ -5x16.0 M s-1 }/4
dt
d [O2 ]
= 20.0 M s-1
dt
4. ถาปฏิกิริยา N 2 + 3H 2 → 2 NH 3 เปนปฏิริยาอันดับ 2 จงเติมตัวเลือกที่เหมาะสม (อาจตอบมากกวา 1 ตัวเลือก)
d[ N2 ] 1 d[H 2 ] 1 d [ NH 3 ]
A) B) − C)
dt 3 dt 2 dt
D) r = k [N 2 ] 2 E) r = k[ N 2 ][ H 2 ]3 F) r = k[NH 3 ]2
G) M-1s-1 H) กฏอัตรา differential I) กฎอัตรา integrate
J) mol/L K) Ms-1 L) s-1

1) อัตราการเกิดปฏิกริ ิยา (r) มีคาเทากับ B C


2) หนวยของคาคงที่อัตรา (k) คือ G
3) กฎอัตราที่เปนไปไดของปฏิกิริยานี้ คือ D
4) ความเขมขนของสารตั้งตนที่เวลาใด ๆ หาไดจาก I
5. จงตอบคําถามโดยใชขอมูลในตารางดานลางซึ่งเปนของปฏิกิรยิ า A → B
เวลา (s) 0 5 10 15 20
[A] (M) 0.500 0.184 0.068 0.025 0.009
5.1 ปฏิกิริยานีเ้ ปนปฏิกิรยิ าอันดับศูนยหรือไม เพราะเหตุใด
Plot graph ระหวาง [A] และ เวลา แลวพบวา ไมไดเปนเสนตรง แสดงวา ปฏิกิรยิ านี้ไมใชปฏิกิริยาอันดับศูนย
กราฟแสดงดังรูปขางลาง

5.2 จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลีย่ ในชวง 10 นาทีแรก = 0.68 M/10 s= 0.0068 M s-1


5.3 จงหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่จดุ เริ่มตน

อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาที่จดุ เริม่ ตน = 0.5M/7.5 s= 0.067 M s-1


6. เมื่อศึกษาผลของความเขมขนเริ่มตนกับอัตราการเกิดปฏิกิรยิ า ของปฏิกิริยา A+2B → C+D ไดขอมูลดังตอไปนี้
การทดลอง [A] 0 (M) [B] 0 (M) Rate (M/s)
1 0.100 0.100 5.50x10-6
2 0.200 0.100 2.20x10-5
3 0.100 0.300 1.65x10-5
6.1 หาอันดับของปฏิกิริยาเทียบกับสารตั้งตนแตละตัว และอันดับของปฏิกริ ยิ ารวม
วิธีทํา จาก r = k[A]m [B]n
การทดลองที่ 1 5.50x10-6M.s-1 = k (0.10 M)m (0.10 M)n
การทดลองที่ 2 2.20x10-5M.s-1 = k (0.20 M)m (0.10 M)n
สมการการทดลอง½ 5.50x10-6/ 2.20x10-5= (0.5)m
0.25 = (0.5)m
m=2
อันดับของปฏิกริ ยิ าเมือ่ ถือสาร A เปนหลัก คือ 2
การทดลองที่ 1 5.50x10-6M.s-1 = k (0.10 M)m (0.10 M)n
การทดลองที่ 3 1.65x10-5M.s-1 = k (0.10 M)m (0.30 M)n
สมการการทดลอง½ 5.50x10-6/ 1.65x10-5= (1/3)n
1/3 = (1/3)n
n=1
อันดับของปฏิกริ ยิ าเมือ่ ถือสาร B เปนหลัก คือ 1
r = k[A]2 [B]1
อันดับของปฏิกิริยารวม = m+n=2+1=3
6.2 เขียนสมการอัตรา, กฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียล กฎอัตราอินทิเกรต ของปฏิกิริยา
สมการอัตรา r = k[A]2 [B]1
d[ A ] d[B ] d [C ] d[D ]
กฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียล r= − =− =+ =+ = k[A]2 [B]1
dt 2dt dt dt
กฎอัตราอินทิเกรต ปฏิกิริยาอันดับสามไมไดสอน
6.3 หาคาคงที่อัตราของปฏิกิรยิ าสําหรับแตละการทดลอง
เลือกการทดลองที่ 1
5.50x10-6M.s-1 = k (0.10 M)2 (0.10 M)1
k = 5.5 x10-3 M.s-1
6.4 ปฏิกิริยานีเ้ กิดในขั้นตอนเดียวหรือไม เพราะเหตุใด
ปฏิกิริยานีไ้ มเกิดในขั้นตอนเดียว เพราะ
6.5 อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาที่ใชในการทดลองควรเปนคาอัตราแบบไหน (average, initial, instantaneous)
Initial rate
7. 2HI(aq) → 2H 2 (g) + I 2 (aq) เปนปฏิกิริยาอันดับศูนย และ k = 1.20x10-4 M s-1 ถา [HI] 0 เทากับ 0.125 M
7.1 จะใชเวลาเทาไหรเพื่อใหสารตั้งตนทําปฏิกิริยาไป 20% ของความเขมขนเริ่มตน
จาก a = a0 − k 0 t
t = a-a 0 /-k
t ={ (0.125x0.8M)-0.125 M}/-1.20x10-4 M s-1
t =0.020x10-4 = 2 s
7.2 เมื่อเวลาผานไปเทากับครึ่งชีวิต ความเขมขนของ I 2 เทากับเทาไร
a0
จาก t1/ 2 = 2k
0

t 1/2 = 0.125 M/(2x1.20x10-4) M s-1


t 1/2 = 5.2 x 102 s-1
8. ปฏิกิริยา 2N 2 O 5 (g) → 4NO 2 (g)+O 2 (g) โดย k= 5.1x10-4 s-1 และ [N 2 O 5 ] 0 = 0.25 M
8.1 อันดับของปฏิกิริยาเปนเทาไร และ ปฏิกิริยานีเ้ ปนแบบขั้นตอนเดียวหรือไม
อันดับของปฏิกิริยาเปน อันดับที่ 1 (ดูจากหนวยของ k)
ปฏิกิริยานีไ้ มเปนแบบขัน้ ตอนเดียว
8.2 จงหาอัตราการลดลงของ N 2 O 5 และความเขมขนของ N 2 O 5 และ O 2 ที่ t = 1 นาที
kt
จาก log a = − 1 + log a0
2.303

log a = - 5.1x10-4 s-1x 60 s+ log 0.25


2.303
Log a = -0.617
a = 0.24
ความเขมขนของ N 2 O 5 เวลาที่ 1 นาที (60 วินาที) = 0.24 M
ความเขมขนของ O 2 เวลาที่ 1 นาที (60 วินาที) = 0.24/2= 0.12 M
อัตราการลดลงของ N 2 O 5 = 0.24/60 = 0.004 M s-1
8.3 จงหา t 1/2
จาก t ½ = 0.693/k
t ½ = 0.693/5.1x10-4 s-1
t ½ = 1.36x103s
8.4 เมื่อเวลาผานไป 30 นาที จะเหลือสารตั้งตนอยูกี่เปอรเซ็นต
จาก log a = − k1t + log a0
2.303

log a = - 5.1x10-4 s-1x 180s+log 0.25


2.303
Log a = -0.642
a = 0.23
เมื่อเวลาผานไป 30 นาที จะเหลือสารตั้งตน= {(0.25 – 0.23)/0.25}x100
=8%
9. ศึกษาคาคงที่อัตราของปฏิกิริยา CH 3 CHO(g) → CH 4 (g) + CO(g) ที่อุณหภูมิตางๆไดขอมูลตอไปนี้
k (1/M1/2 s) T(K)
0.011 700
0.343 790
? 810
1/2
9.1 คาคงที่อัตรามีหนวยเปน 1/(M s) ปฏิกิริยานี้มีอันดับเทาไร
ปฏิกิริยานีม้ ีอันดับสอง
9.2 จงเขียนสมการอัตราดิฟเฟอเรนเชียล
d [CH 3CHO] d [CH 4 ] d [CO ]
กฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียล r= − =+ =+
dt dt dt
9.3 จงหาคา E a และ A ของปฏิกิริยา
 TT  k
Ea = 2.303R 1 2  log 2
 T2 − T1  k1

E a = 2.303x8.314 J mol-1 K-1 [700 Kx790 K] log 0.343


[790 K-700 K] 0.011
E a = 175755 J
9.4 จงหาคา k ที่อุณหภูมิ 810 K
 TT  k
Ea = 2.303R 1 2  log 2
 T2 − T1  k1

175755 J = 2.303x8.314 J mol-1 K-1 [810 Kx790 K] log 0.343


[810 K-790 K] K
-1/2 -1
K= 0.177 mol s
10. ปฏิกิริยาระหวาง NO 2 และ CO ได NO และ CO 2 มี r = k[NO 2 ]2 ปฏิกิริยานี้ประกอบดวย 2 ขัน้ ตอน
step 1 NO 2 +NO 2 → NO+NO 3
step 2 NO 3 +CO → NO 2 +CO 2
10.1 จงเขียนสมการรวมของปฏิกริ ยิ านี้
NO 2 +CO → NO+CO 2
10.2 สาร intermediate คือสาร NO 3
10.3 กฏอัตราที่ใหมาเปนแบบใด และใหเขียนกฎอัตราของแตละขัน้ ตอนยอย ขั้นกําหนดอัตราคือขั้นตอนไหน เพราะเหตุใด
กฏอัตราที่ใหมาเปนแบบอัตราดิฟเฟอเรนเชียล
กฎอัตราของขัน้ ตอน step 1 r = k [NO 2 ]2
กฎอัตราของขัน้ ตอน step 2 r = k [NO 3 ][CO]
ขั้นกําหนดอัตราคือขั้นตอน step 1 เพราะกฎอัตราที่ไดจากการทดลองเหมือนกับกฎอัตราของขัน้ ตอน step 1
11. จากกราฟจงตอบคําถาม
11.1 ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเปนการดูดหรือคายความรอน มีคาเทาใด
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเปนการดูดความรอน
∆H=40-15 = 35 kJ/mol
11.2 จงระบุตําแหนงของ สารตั้งตน ผลิตภัณฑ สารมัธยันตร สารเชิงซอนกัมมันต ในกราฟ

สารเชิงซอนกัมมันต

ผลิตภัณฑ
สารมัธยันตร

สารตั้งตน

11.3 จงแสดง E a ของแตละขัน้ ตอนในกราฟ


Eaa

Eab1 Eab2

11.4 อธิบายวากระบวนการใดที่มีคาอัตราการเกิดปฏิกริ ิยาสูงกวา


กระบวนการ b มีคาอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงกวา เนื่องจาก E a ของกระบวนการ b มีคานอยกวา E a ของกระบวนการ a
11.5 E a ของกระบวนการ a มีคาเทาใด
E a ของกระบวนการ a= 90-5 = 85 kJ/mol
11.6 หากที่อุณหภูมิ 300 K กระบวนการ a มีคา k = 2 x10-2 s-1
ที่อุณหภูมิ 400 K กระบวนการ a จะมีคา k เทาใด
 TT  k
Ea = 2.303R 1 2  log 2
 T2 − T1  k1

85x1000 J = 2.303x8.314 J mol-1 K-1 [300 Kx400 K] log 2x10-2s-1


[400 K-300 K] k
-6 -1
K= 4x10 mol s

You might also like