You are on page 1of 12

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 1

เฉลยแบบฝึกหัด
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

1. 1.1 อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของ N2O5 เท่ากับ 1.8  10–4 M s-1


อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของ NO2 เท่ากับ 3.6  10–4 M s-1
อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของ O2 เท่ากับ 9.0  10–5 M s-1
วิธีการคํานวณดังนี้
[N2 O 5 ]
อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของ N2O5 = 
t
(0.1000 M - 0.1018 M)
= –
(30 s - 20 s)
= 1.8  10–4 M s-1
[NO 2 ]
อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของ NO2 =
t

(0.2000 M- 0.1964 M)
=
(30 s - 20 s)
= 3.6  10–4 M s-1
[O 2 ]
อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของ O2 =
t
(0.0500 M- 0.0491 M)
=
(30 s - 20 s)
= 9.0  10–5 M s-1

สาขาเคมี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 2

1.2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีมีค่าเท่ากับ 9.0  10–5 M s-1


วิธีคํานวณ
จากสมการเคมีเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้
[N O ] [NO 2 ] [O 2 ]
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี =  2 5 = =
2t 4t t

สามารถคํานวณได้จากการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของ N2O5 หรือ NO2 หรือ O2


คํานวณจาก N2O5
[N O ]
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี =  2 5
2t
(0.1000 M- 0.1018 M)
= 
2(30 s - 20 s)
= 9.0  10–5 M s-1
คํานวณจาก NO2
[NO 2 ]
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี =
4t
(0.2000 M- 0.1964 M)
=
4(30 s - 20 s)
= 9.0  10–5 M s-1
คํานวณจาก O2
[O 2 ]
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี =
t
(0.0500 M- 0.0491 M)
=
30 s - 20 s
= 9.0  10–5 M s-1

สาขาเคมี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 3

1.3 ความเข้มข้นของ NO2 เมือ่ เวลาผ่านไป 1 นาที เท่ากับ 2.2  10–2 M s-1
[NO 2 ]
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี =
4t
[NO 2 ]t =60 - [NO 2 ]t =0
=
4(t60 - t0 )
[NO 2 ]t =60 - 0 M
9.0  10–5 M s-1 =
4(60 s - 0 s)
[NO2]t=60 – 0 mol/dm3 = (9.0  10–5 M s-1)(240 s)
[NO2]t=60 = 2.2  10–2 M

5.0 g - 0.0 g
2. 2.1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย =
6.0 s - 0.0 s
= 0.83 g/s
3.3 g - 0.0 g
2.2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่ช่วงเวลา 0.0 – 1.5 วินาที =
1.5 s - 0.0 s
= 2.2 g/s
2.3 คํานวณจากกราฟดังนี้
6
5
B C
4
ปริมาณ PbI2 (g)

A
3
2
1
0
0 1 2 3 4 5 6 7 8
เวลา (s)

สาขาเคมี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 4

4.8 g - 3.0 g
อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่จุด A =
3.0 s - 1.0 s
= 0.90 g/s
4.9 g - 4.7 g
อัตราการเกิดปฏิกิริยาที่จุด B =
5.0 s - 3.5 s
= 0.13 g/s

2.4 จุด A เพราะจากกราฟที่จุด A มีความชันมากกว่าจุด B แสดงว่าเกิดปฏิกิริยาเคมีได้เร็วกว่า


2.5 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่จุด C มีค่าเท่ากับศูนย์ เพราะปฏิกิรยิ าสิ้นสุด เลด (II) ไนเตรตทําปฏิกิริยา
หมด จึงทําให้ปริมาณเลด (II) ไอโอไดด์คงที่

3. ควรเลือกใช้โลหะแพลทินัมเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เนื่องจากทําให้ค่าพลังงานก่อกัมมันต์ของปฏิกิริยาลดลงได้
มากกว่า จึงเกิดปฏิกิริยาเคมีได้ง่ายกว่า เขียนสมการเคมีได้ดังนี้
2HI(g) → H2(g) + I2(g)

4. 4.1
พลังงาน (kJ)
A- - -B
300
Ea
150
A+B AB
100

การดําเนินไปของปฏิกริ ิยา
4.2 ปฏิกิริยาคายพลังงาน
4.3 E = 100 kJ – 150 kJ = –50 kJ
4.4 Ea = 300 kJ – 150 kJ = 150 kJ

สาขาเคมี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 5

5. 5.1 ปฏิกิริยา A เพราะจากผลการทดลอง อุณหภูมิลดลงแสดงว่าเป็นปฏิกิริยาดูดพลังงาน ซึ่งตรงกับกราฟ


ของปฏิกิริยา A
แนวคิด เมื่อพิจารณาจากกราฟ ปฏิกิริยา A พลังงานของผลิตภัณฑ์มีค่ามากกว่าสารตัง้ ต้น แสดงว่า
เป็นปฏิกิริยาดูดพลังงาน ส่วนปฏิกิริยา B พลังงานของผลิตภัณฑ์มคี ่าน้อยกว่าสารตั้งต้น แสดงว่าเป็น
ปฏิกิริยาคายพลังงาน และเมือ่ พิจารณาจากผลการทดลอง พบว่าอุณหภูมิลดลงแสดงว่าเป็นปฏิกิริยา
ดูดพลังงาน ดังนั้นผลการทดลองนี้จึงเป็นของปฏิกิริยา A
5.2 ปฏิกิริยา B มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานมากกว่า 3 เท่า
แนวคิด ปฏิกิริยา A มีการเปลี่ยนแปลงพลังงาน = 150 kJ – 100 kJ = +50 kJ
ปฏิกิริยา B มีการเปลี่ยนแปลงพลังงาน = 80 kJ – 230 kJ = –150 kJ
ดังนั้น ปฏิกิริยา B มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานมากกว่า 3 เท่า
5.3 ปฏิกิริยา A น่าจะเกิดปฏิกิริยายากกว่าเนื่องจากมีค่าพลังงานก่อกัมมันต์มากกว่าปฏิกิริยา B
แนวคิด ปฏิกิริยา A มีพลังงานก่อกัมมันต์ = 350 kJ – 100 kJ = 250 kJ
ปฏิกิริยา B มีพลังงานก่อกัมมันต์ = 300 kJ – 230 kJ = 70 kJ
ดังนั้น ปฏิกิริยา A น่าจะเกิดปฏิกิริยายากกว่าปฏิกิริยา B

สาขาเคมี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 6

6.
ปฏิกิริยาเคมีเกิดช้า ปฏิกิริยาเคมีเกิดเร็ว ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ความเข้มข้นของสารตั้งต้น
การเพิ่มความเข้มข้นเป็นการเพิ่มจํานวนอนุภาค ทําให้อนุภาคมี
.......................................................................................................
โอกาสชนกันได้มากขึ้น อนุภาคที่มีพลังงานสูงพอที่จะเกิดปฏิกิริยา
.......................................................................................................
จึงมีจํานวนมากขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจึงสูงขึ้น
.......................................................................................................
ความเข้มข้นต่ํา ความเข้มข้นสูง
........................
พื้นทีผ่ วิ ของสารตั้งต้น
การใช้สารที่มขี นาดเล็กลงเป็นการเพิ่มพื้นที่ผิวของสาร ซึ่งจะทําให้
อนุภาคมีโอกาสชนกันได้มากขึ้น อนุภาคทีม่ พี ลังงานสูงพอที่จะ
เกิดปฏิกิริยาจึงมีจํานวนมากขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจึงสูงขึ้น
พื้นที่ผิวน้อย พื้นที่ผิวมาก
อุณหภูมิ
การเพิ ่มอุณหภูมิทําให้อนุภาคเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น จึงมีโอกาสชนกัน
.......................................................................................................
ได้ มากขึ้น อนุภาคที่มีพลังงานสูงพอที่จะเกิดปฏิกิริยาจึงมีจํานวน
.......................................................................................................
มากขึ ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจึงเพิ่มขึ้น
.......................................................................................................
อุณหภูมิต่ํา อุณหภูมิสูง

ตัวเร่งปฏิกิริยา
พลังงาน (kJ/mol)
พลังงาน (kJ/mol)

Ea การใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาทําให้ปฏิกิริยามีพลังงานก่อกัมมันต์
.......................................................................................................
Ea น้อยกว่าเมื่อไม่มีตัวเร่งปฏิกิริยา อนุภาคทีม่ ีพลังงานสูงพอที่จะ
.......................................................................................................
การดําเนินไปของปฏิกิริยา การดําเนินไปของปฏิกิริยา
เกิดปฏิกิริยาจึงมีจํานวนมากขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจึง
.......................................................................................................
สูงขึ้น
.......................................................................................................
ไม่มตี ัวเร่งปฏิกิรยิ า มีตัวเร่งปฏิกิริยา

7. 7.1 ผลของพื้นที่ผิวที่มีตอ่ อัตราการเกิดปฏิกิริยา


7.2 CaCO3(s) + 2HCl(aq) → CaCl2(aq) + CO2(g) + H2O(l)
7.3 เพราะระบบทีท่ ําการทดลองเป็นระบบเปิด แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็นผลิตภัณฑ์จึงออกจากระบบ
ทําให้มวลลดลง

สาขาเคมี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 7

7.4
เวลา การทดลองที่ 1 การทดลองที่ 2
(min) มวลสารทีว่ ัดได้ (g) มวล CO2 (g) มวลสารที่วัดได้ (g) มวล CO2 (g)
เริ่มต้น 10.0 0 10.0 0
0.5 9.78 0.22 9.55 0.45
1.0 9.59 0.41 9.18 0.82
1.5 9.41 0.59 8.85 1.15
2.0 9.22 0.78 8.65 1.35
2.5 9.07 0.93 8.50 1.50
3.0 8.93 1.07 8.39 1.61
3.5 8.84 1.16 8.34 1.66
4.0 8.77 1.23 8.32 1.68
4.5 8.72 1.28 8.31 1.69
5.0 8.65 1.35 8.30 1.70

7.5 เขียนกราฟได้ดังนี้
1.8
การทดลองที่ 2
1.6
1.4
การทดลองที่ 1
มวล CO2 (g)

1.2
1.0
0.8
0.6
0.4
0.2
0.0
0 1 2 3 4 5 6 เวลา (min)

7.6 การทดลองที่ 2 ซึ่ งใช้ CaCO3 เม็ ด เล็ กมีอั ต ราการเกิ ด ปฏิ กิริ ย าเคมี สู ง กว่ าาการทดลองที่ 1 ซึ่ ง ใช้
CaCO3 เม็ดใหญ่ โดยพิจารณาจากกราฟของการทดลองที่ 2 ที่มีความชันมากกว่า (หรือพิจารณาจาก
แก๊ส CO2 ที่มีปริมาณมากกว่า) แสดงว่าใช้เวลาในการเกิดปฏิกิริยาน้อยกว่า เนื่องจาก CaCO3 เม็ดเล็กมี
พื้นที่ผิวมากกว่า CaCO3 เม็ดใหญ่ ทําให้อนุภาคมีโอกาสที่จะชนกันมากขึ้น อนุภาคที่มีพลังงานสูง
พอที่จะเกิดปฏิกิริยาจึงมีจํานวนมากขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีจึงสูงขึ้น

สาขาเคมี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 8

8. 8.1 เขียนกราฟได้ดังนี้
60

50 การทดลองที่ 2
ปริมาณ O2 (cm3)

40 การทดลองที่ 1

30

20

10

0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 เวลา (min)

8.2 การทดลองที่ 1 ยังไม่สิ้นสุดปฏิกิริยา เนื่องจากปริมาตรแก๊สออกซิเจนที่เกิดขึ้นยังไม่คงที่ โดยมีปริมาตร


เพิ่มขึ้น เมื่อทําการทดลองต่อจนกระทั่งสิ้นสุดปฏิกิริยา แก๊สออกซิเจนที่เกิดขึ้นจะมีปริมาตรเท่ากับ
การทดลองที่ 2 เพราะใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ความเข้มข้นและปริมาตรเท่ากัน และตัวเร่งปฏิกิริยา
ไม่มีผลต่อปริมาณสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น
8.3 การทดลองที่ 2 เนื่องจากเมื่อมีตัวเร่งปฏิกิริยาจะเกิดปฏิกิริยาที่มีพลังงานก่อกัมมันต์ต่ํากว่าปฏิกิริยาที่
ไม่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา ทําให้เมื่อโมเลกุลชนกันแล้วมีโอกาสที่จะมีพลังงานเท่ากับหรือมากกว่าพลังงาน-
ก่อกัมมันต์มากขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของการทดลองที่ 2 จึงสูงกว่าการทดลองที่ 1
8.4 ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาหลังเสร็จสิ้นปฏิกิริยาเท่ากับก่อนเริม่ ต้นปฏิกิริยา
8.5 จากสมการเคมี
[O 2 ]
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี =
t
(50.0 cm3 - 0.0 cm3 )
=
(4.0 min - 0.0 min)
= 12.5 cm3/min

สาขาเคมี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 9

9. 9.1 สมการเคมีเมือ่ ไม่มีตัวเร่งปฏิกิริยา 2H2O2(aq) → O2(g) + 2H2O(l)


สมการเคมีเมือ่ มีตัวเร่งปฏิกิริยา 2H2O2(aq) → I- O2(g) + 2H2O(l)
9.2 เขียนกราฟได้ดังนี้
ไม่มตี ัวเร่งปฏิกิรยิ า
I-
75 kJ/mol
เอนไซม์คะตาเลส
55 kJ/mol
19 kJ/mol
พลังงาน (kJ/mol)

H2O2

189 kJ/mol

O2 + H2O
การดําเนินไปของปฏิกิริยา
9.3 ควรใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา และเลือกใช้เอนไซม์คะตาเลสเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเพราะพลังงานก่อมันมันต์ของ
ปฏิกิริยามีค่าน้อยทีส่ ุด จึงสามารถเกิดปฏิกริ ิยาเคมีได้เร็วที่สุด

10. 10.1 เส้นกราฟ A ตรงกับการทดลองที่ 1 ส่วนเส้นกราฟ B ตรงกับการทดลองที่ 2 หรือ 3 เนื่องจาก เมื่อ


พิจารณาความเข้มข้นของสารตั้งต้นพบว่า การทดลองที่ 1 สารตั้งต้นมีความเข้มเข้นมากที่สุด ส่วนการ
ทดลองที่ 2 และ 3 มีความเข้มข้นเท่ากัน ดังนั้นการทดลองที่ 1 จึงเกิดปฏิกิริยาได้เร็วกว่าการทดลองที่
2 และ 3 และเมื่อพิจารณากราฟพบว่า เส้นกราฟ A มีความชันมากกว่าเส้นกราฟ B แสดงว่าเส้นกราฟ
A มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงกว่า ดังนั้นเส้นกราฟ A จึงตรงกับการทดลองที่ 1 ส่วนเส้นกราฟ B จึง
เป็นได้ทั้งการทดลองที่ 2 และ 3
10.2 การทดลองที่ 2 และ 3 เนื่องจากเมื่อพิจารณาจากสมการเคมีพบว่า Zn ทําปฏิกิริยาเคมีกับ HCl ด้วย
อัตราส่วน 1 : 2 ดังนั้นการทดลองที่ 1 จึงไม่มีสารตั้นต้นเหลืออยู่ ส่วนการทดลองที่ 2 และ 3 จะมี Zn
เหลืออยู่

สาขาเคมี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 10

11. เนื่องจากที่อุณหภูมิสูง โมเลกุลจะเคลื่อนที่เร็ว ทําให้มีโอกาสในการชนกันมากขึ้น มีการถ่ายเทพลังงานทําให้มี


จํานวนโมเลกุลที่มีพลังงานเท่ากับหรือมากกว่าพลังงานก่อกัมมันต์มากขึ้น อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่อุณหภูมิ
สูงจึงสูงกว่าที่อุณหภูมิต่ํา ดังรูป

10oC
การกระจายของโมเลกุล
25oC
40oC

พลังงาน Ea

กราฟแสดงการกระจายพลังงานจลน์ของโมเลกุลที่อุณหภูมิต่าง ๆ

12.
การทดลองที่ 1 2 3 4 5
เส้นกราฟ D A E B C
ซึ่งมีวิธีการคิดดังนี้
1. ปริมาณสารที่เกิดขึ้น ขึ้นกับปริมาณสาร Y จึงแบ่งตามปริมาณสาร Y เป็น 2 กลุ่ม คือ
- กลุ่มทีใ่ ช้สาร Y 0.01 mol ได้แก่ การทดลองที่ 1 และ 3 ซึง่ น่าจะเป็นกราฟ D หรือ E
- กลุ่มทีใ่ ช้สาร Y 0.02 mol ได้แก่ การทดลองที่ 2 4 และ 5 ซึ่งน่าจะเป็นกราฟ A B หรือ C
2. การทดลองที่ 1 ใช้สาร X ที่เป็นผง จึงมีอตั ราเร็วมากกว่าการทดลองที่ 3 ซึ่งใช้สาร X ที่เป็นเม็ด
ดังนั้นการทดลองที่ 1 จึงเป็นกราฟ D ซึ่งมีความชันมากกว่ากราฟ E
3. การทดลองที่ 2 ใช้สาร X ที่เป็นผง จึงมีอตั ราเร็วมากกว่าการทดลองที่ 4 และ 5 ซึ่งใช้สาร X ที่เป็น
เม็ด ดังนั้นการทดลองที่ 2 จึงเป็นกราฟ A ซึ่งมีความชันมากกว่ากราฟ B และ C
4. การทดลองที่ 4 ทําการทดลองทีอ่ ุณหภูมิสงู กว่าการทดลองที่ 5 จึงมีอตั ราเร็วมากกว่า ดังนั้นการ
ทดลองที่ 4 จึงเป็นกราฟ B ซึ่งมีความชันมากกว่ากราฟ C

สาขาเคมี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 11

13. 13.1 อัตราการเกิดแก๊ส H2 ที่ช่วงเวลา 5 – 15 วินาที ของการทดลองที่ 1 และ 2 มีค่าเท่ากับ 0.010 และ
0.020 mol/dm3s ตามลําดับ
วิธีคํานวณ
การทดลองที่ 1 Mg(s) + 2HCl(aq)  MgCl2(aq) + H2(g)
(8.0 g - 12.8 g)
ที่ช่วงเวลา 5 – 15 s ปริมาณ Mg ที่ลดลง = = –0.20 mol
24 g/mol
จากสมการเคมี Mg ลดลง 0.20 mol จะเกิด H2 0.20 mol ดังนั้น
0.20 mol
ที่ช่วงเวลา 5 – 15 s ปริมาณ H2 ที่เกิดขึ้น = = 0.10 M
2 dm3
[H2 ]
ที่ช่วงเวลา 5 – 15 s อัตราการเกิดแก๊ส H2 =
t
0.10 M
=
(15 s - 5 s)
= 0.010 M s-1
การทดลองที่ 2 2H2O(l)  2H2(g) + O2(g)
0.6
ความเข้มข้น H2 (mol/dm3)

0.5

0.4

0.3

0.2

0.1

0
0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

เวลา (s)
[H2 ]
ที่ช่วงเวลา 5 – 15 s อัตราการแก๊ส H2 =
t
(0.45 M - 0.25 M)
=
(15 s - 5 s)
= 0.020 M s-1

สาขาเคมี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 12

13.2 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีของการทดลองที่ 1 และ 2 มีค่าเท่ากัน โดยมีค่าเท่ากับ 0.010 mol/dm3s


วิธีคํานวณ
การทดลองที่ 1 Mg(s) + 2HCl(aq)  MgCl2(aq) + H2(g)

[H2 ]
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี =
t
= 0.010 m M s-1

การทดลองที่ 2 2H2O(l)  2H2(g) + O2(g)


[H2 ]
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี =
2t
0.020 M s -1
=
2
= 0.010 M s-1
13.3 แนวคําตอบมีดงั นี้
- ใช้โลหะแมกนีเซียมขนาดเล็กลง
- เพิ่มปริมาณโลหะแมกนีเซียม
- เพิ่มความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดรคลอริก
- ทําการทดลองที่อุณหภูมิสูง
- เติมตัวเร่งปฏิกิริยา
14. ตัวอย่างคําตอบมีดังนี้
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ
เหตุการณ์ในชีวิตประจําวัน
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เมื่อใช้น้ํายาล้างห้องน้ําปริมาณมาก จะทําความสะอาดได้เร็วกว่าใช้ปริมาณน้อย ความเข้มข้น
เมื่อเคี้ยวอาหารให้ละเอียด ร่างกายจะย่อยอาหารได้เร็วขึน้ พื้นที่ผิว
เมื่อเก็บอาหารในตู้เย็น อาหารจะเน่าเสียช้ากว่าเมื่อเก็บอาหารในบริเวณที่อากาศ อุณหภูมิ
ร้อน
เมื่อบ่มผลไม้ในบริเวณที่อากาศร้อน ผลไม้จะสุกเร็วกว่าทีอ่ ากาศเย็น อุณหภูมิ
การย่อยอาหารในร่างกาย เป็นการใช้เอนไซม์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาทําให้ปฏิกิริยา ตัวเร่งปฏิกิริยา
เคมีเกิดเร็วขึ้น

สาขาเคมี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

You might also like