You are on page 1of 6

ระบบการเมืองการปกครองในประเทศสมาชิกอาเซียน

ประเทศสมาชิกอาเซียน ระบบการเมืองการปกครอง

ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบญ
ั ญัติ ฝ่ายตุลาการ
ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีและ ตรากฎหมาย รับทราบคําแถลงนโยบาย ศาล มีหน้าที่พิจารณาคดีต่าง ๆ
คณะรั ฐ มนตรี นายกรั ฐ มนตรี เป็ น ของคณะรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม ให้ เป็ น ไปตามบั ญ ญั ติ ของกฎหมาย
ผู้นําสูงสุดของฝ่ายบริหาร การอภิปรายทั่วไป ให้ความเห็นชอบ เพื่อให้เกิดความยุติธรรมแก่ประชาชน
ในเรื่ อ งสํ า คั ญ ให้ ค วามเห็ น ชอบ ทั้งนี้ในรัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติให้ศาล
หนั ง สื อ สั ญ ญากั บ นานาประเทศ เป็นสถาบันอิสระจากรัฐสภาและรัฐบาล
ไทย ถอดถอนผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง มีคณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.) ทําหน้าที่
ออกจากตําแหน่ง และการพิจารณา ควบคุมการแต่งตั้งข้าราชการตุลาการ
เลือกบุคคลให้ดํารงตําแหน่งองค์กร เพื่ อ ให้ ศ าลเป็ น สถาบั น ที่ ธํารงไว้ซึ่ ง
ต่าง ๆ ตามรัฐธรรมนูญ ความบริสุทธิ์ยุติธรรมอย่างแท้จริง
(ระบบสภาคู่ : สภาผู้ แ ทนราษฎร
และวุฒิสภา)

ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ
ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบญ
ั ญัติ ฝ่ายตุลาการ
เป็ น รั ฐ บาลผสมระหว่ า งพรรค สภาแห่งชาติและวุฒิสภาประกอบกัน ศาลฎีกา รวมทั้งศาลทุกประเภท
กัมพูชา ประชาชนกัมพูชากับพรรคฟุนซินเปค เป็นสถาบันด้านนิติบัญญัติของชาติ ทุกระดับเป็นผู้ใช้อํานาจด้านนี้
โดยมีสมเด็จอัครมหาเสนาบดี เดโช (ระบบสภาคู่ : สภาผู้ แ ทนราษฎร
ฮุน เซ็น เป็นนายกรัฐมนตรี และวุฒิสภา)

ปกครองโดยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบญ
ั ญัติ ฝ่ายตุลาการ
รัฐบาลใช้อํานาจของฝ่ายบริหาร สภานิ ติ บั ญ ญั ติ มี อํ านาจในการ กรมศาลยุติธรรม เป็นหน่วยงาน
โดยผูกพันความรับผิดชอบต่อสมเด็จ พิจารณาผ่านร่างกฎหมายซึ่งร่างกฎหมาย ที่ ทํ า หน้ า ที่ ใ นการตั ด สิ น คดี ค วาม
พระราชาธิบดี รวมทั้งถวายความช่วยเหลือ ทุกฉบับต้องได้รับความยินยอมจาก โดยผ่ านศาล Mahkamah Perantaraan,
บูรไน และถวายคําแนะนําเกี่ยวกับงานบริหาร สมเด็ จ พระราชาธิ บ ดี ก่ อ น แล้ ว จึ ง ศาลMahkamah Tinggi, ศาล Mahkamah
ของพระองค์ ประกาศใช้เป็นกฎหมายได้ Mahkamah Rayuan, แ ล ะ ศ า ล
(ระบบสภาเดี่ยว : สภานิติบัญ ญั ติ Mahkamah Majestret
แห่งชาติ)

ปกครองโดยระบบสหภาพซึ่งเกิดจากการรวมตัวของรัฐ (State) และเขต (Region)


ภายใต้ระบอบประชาธิปไตยแบบมีประธานาธิบดีเป็นประมุขและหัวหน้าฝ่ายบริหาร
ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบญ
ั ญัติ ฝ่ายตุลาการ
ฝ่ า ย บ ริ ห า ร ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย รัฐสภาทําหน้าที่ครอบคลุมหลายด้าน ฝ่ายตุลาการประกอบด้วยศาลฏีกา
พม่า ประธานาธิบดี รองประธานาธิบดี ๒ ทั้ ง ด้ า นนิ ติ บั ญ ญั ติ การพิ จ ารณ า ศาลสู งประจํ ารั ฐ หรื อ เขต และศาล
ตําแหน่ง รัฐบาล และสภาความมั่นคง งบประมาณประจํ า ปี ง บประมาณ ลําดับรองในทุกระดับ ประธานาธิบดี
และการป้ องกันแห่ งชาติ ประธานาธิบดี ตามที่ฝ่ายบริหารเสนอ เป็ น ผู้ แ ต่ ง ตั้ ง ผู้ พิ พ ากษาศาลฎี ก า
ดํ ารงฐานะประมุ ขฝ่ ายบริ หาร มี อํ านาจ (ระบบสภาคู่ : สภาผู้ แ ทนราษฎร โดยความเห็นชอบของรัฐสภา
ในการบั งคับใช้กฎหมายและประกาศ และวุฒิสภา)
รัฐกฤษฎีกา
ปกครองแบบสาธารณรัฐในระบบประธานาธิบดี
ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบญ
ั ญัติ ฝ่ายตุลาการ
ฝ่ า ย บ ริ ห า ร ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย สภาคองเกรสของฟิ ลิ ป ปิ น ส์ สํ าหรั บ อํ านาจตุ ล าการ องค์ ก ร
ประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดี มีอํานาจหน้ าที่หลักในการออกกฎหมาย ผู้ ใช้ อํ านาจคื อ ศาลฎี ก าและศาลใน
ประธานาธิ บ ดี ดํ า รงฐานะประมุ ข และจั ดทํ านโยบายสาธารณะการแก้ ไข
ฟิลิปปินส์ เพิ่ ม เติ ม รั ฐ ธรรมนู ญ การควบคุ ม ลําดับรองรัฐธรรมนูญบัญญัติให้ศาลฎีกา
แห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล มีอํานาจ การทํางานของฝ่ายบริหาร มีอํานาจตรวจสอบการออกกฎหมาย
ในการแต่ ง ตั้ ง คณ ะรั ฐ มนตรี โ ดย (ระบบสภาคู่ : สภาผู้ แทนราษฎรและ ของฝ่ายนิติบัญญัติ
ความยินยอมของคณะกรรมาธิการ วุฒิสภา)
การแต่งตั้ง

ประชาธิปไตยแบบรัฐสภาอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ภายใต้รัฐธรรมนูญการปกครองอยู่ในรูปแบบสหพันธรัฐ
ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบญ
ั ญัติ ฝ่ายตุลาการ
มาเลเซีย ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีและ รั ฐ สภาแห่ ง มาเลเซี ย มี อํ า นาจ ใช้ ร ะบบกฎหมายของอั ง กฤษ
คณะรั ฐ มนตรี นายกรั ฐ มนตรี เป็ น หน้ า ที่ ดั ง นี้ ตรากฎหมายฉบั บ ใหม่ คื อ Common Law มี ศ าลสหพั น ธ์
ผู้นําสูงสุดของฝ่ายบริหารตามระบบ หรื อ แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม กฎหมายเดิ ม เป็นศาลสูงสุดของประเทศ
รัฐสภา ตรวจสอบนโยบายของรัฐบาลกลาง
(ระบบสภาคู่ : สภาผู้ แ ทนราษฎร
และวุฒิสภา)
ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยประชาชนตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบญ
ั ญัติ ฝ่ายตุลาการ
ฝ่ ายบริ หารประกอบด้ วย ประธาน อํานาจหน้ าที่ ข องสภาแห่ งชาติ ฝ่ายศาล มีศาลประชาชนสูงสุด
ประเทศ และคณะรัฐบาล สามารถจําแนกได้ ดังนี้ ด้านนิติบัญญั ติ คือ องค์กรที่มีอํานาจสูงสุด
การจั ดเตรี ยม ให้ การรั บรอง หรื อแก้ ไข
ลาว เพิ่ มเติ มรั ฐธรรมนู ญ การเลื อกตั้ งบุ คคล
เพื่อดํารงตําแหน่งและการถอดถอน
บุคคลออกจากตําแหน่งการพิจารณา
และให้ความเห็นชอบการพิจารณาตัดสิน
ประเด็ นเกี่ ยวกั บสงครามหรื อสั นติ ภาพ
(ระบบสภาเดี่ยว : สภาแห่งชาติ)

ปกครองแบบสาธารณรัฐในแนวทางระบบรัฐสภาที่อยู่บนพื้นฐานของระบบเวสต์มินสเตอร์
ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบญ
ั ญัติ ฝ่ายตุลาการ
สภาบริห าร (The Executive) พิจารณาร่างกฎหมาย สมาชิกรัฐสภา สภาตุ ล าการ (The Judiciary)
ประกอบด้ ว ยประธานาธิ บ ดี แ ละ สามารถเสนอญั ตติเพื่ อขออภิปราย แบ่ ง เป็ น ๒ ระดั บ คื อ ศาลชั้ น ต้ น
สิงคโปร์ คณะรัฐ มนตรี บริห ารประเทศผ่าน ในเรื่องใด ๆ หรือเสนอข้อร้องเรียน และศาลฎี ก า (ฝ่ ายตุ ลาการมี อิ สระ
กระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงาน ต่าง ๆ ต่อสภา ในการพิ พ ากษา ศาลฎี ก ามี อํ านาจ
ในสังกัดราชการ (ระบบสภาเดี่ยว : รัฐสภา) สูงสุด)

ปกครองในระบอบประชาธิปไตยในระบบสาธารณรัฐแบบ Unitary Republic


ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบญ
ั ญัติ ฝ่ายตุลาการ
ประธานาธิบดีดํารงฐานะประมุข การทํ า หน้ า ที่ อ อกกฎหมาย อํ านาจตุ ลาการอยู่ ภายใต้ การดู แล
แห่งรัฐ และผู้บัญชาการทหารสูงสุด การพิจารณางบประมาณ และการควบคุม ของศาลฎีกา และศาลระดับรอง ๆ ลงมา
อินโดนีเซีย ของกองทั พ อิ น โดนี เ ซี ย ทํ า หน้ า ที่ การทํางานของฝ่ายบริหาร รวมถึงศาลรัฐธรรมนูญในการแต่งตั้ง
หัวหน้าฝ่ายบริหาร รวมทั้งเป็นผู้แต่งตั้ง (ระบบสภาเดี่ยว : สภาผู้แทนราษฎร) ผู้พิพากษาศาลฎีกา คณะกรรมาธิการ
และปลดรัฐมนตรี ตุลาการ

ปกครองแบบสังคมนิยม
ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบญ
ั ญัติ ฝ่ายตุลาการ
รัฐบาลส่วนกลาง ประกอบด้ วย สภาแห่ ง ชาติ ไ ด้ ต รากฎหมาย ระบบศาลประกอบด้วย ศาลประชาชน
เวียดนาม ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี และ สําคัญ ๆ กําหนดนโยบายซึ่งครอบคลุม สูงสุด ศาลประชาชนระดับท้องถิ่นต่าง ๆ
คณะรัฐมนตรี รวมไปถึงตําแหน่งสําคัญ หลายด้ านเพื่ อ ผลประโยชน์ ข องรั ฐ ศาลทหาร และศาลอื่ น ๆ ที่ จั ดตั้ งขึ้ น
ในพรรคคอมมิ ว นิ ส ต์ เช่ น สมั ช ชา ตรวจสอบการทํางานขององค์กรรัฐ ตามกฎหมาย
ของพรรคคอมมิวนิสต์ และพิจารณาให้บุคคลดํารงตําแหน่ง
และถอดถอนออกจากตําแหน่ง

You might also like