You are on page 1of 8

1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.

2560 มีกี่มีหมวด กี่มาตราตามข้อใด


ก. 15 หมวด 278 มาตรา ข. 16 หมวด 278 มาตรา
ค. 15 หมวด 279 มาตรา ง. 16 หมวด 279 มาตรา
2. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560
ก. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 134 ตอนที่ 40 กข. เริ่มใช้ ณ วันที่ 6 เมษายน
2560
ค. มีทงั ้ หมด 16 หมวด 279 มาตรา ง. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ
(คสช.) เป็ นผู้ลงนามรับรอง
2. องค์กรใดทำหน้าที่ยกร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560
ก. สภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ข. คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ
ค. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ง. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
3. มาตรา 1 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกล่าวถึงราชอาณาจักรในเรื่องใด
ก. ความเป็ นอันหนึ่งอันเดียว ข. ความสามัคคี
ค. ความดีงาม ง. ความเป็ นประชาธิปไตย
4. พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาอธิปไตยผ่านทางใด
ก. รัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ข.ศาล รัฐสภา และคณะรัฐมนตรี
ค. รัฐสภา ศาล และวุฒิสภา ง. สภาผู้แทนราษฎร คณะ
รัฐมนตรี และศาล
5. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับจำนวนคณะองคมนตรี
ก.ประธานองคมนตรี 1 คน และองคมนตรีอ่ น
ื อีกไม่เกิน 18 คน ข.ประธาน
องคมนตรี 1 คน และองคมนตรีอ่ น
ื อีกเกิน 18 คน
ข.ประธานองคมนตรี 1 คน และองคมนตรีอ่ น
ื อีกไม่เกิน 19 คน ค.ประธาน
องคมนตรี 1 คน และองคมนตรีอ่ น
ื อีกเกิน 19 คน
6. ผู้ดำรงตำแหน่งใดเป็ นผู้รับสนองพระบรมราชโองการแต่งตัง้ ประธานองคมนตรี
ก. ประธานศาลฎีกา ข. ประธานสภาผู้แทนราษฎร
ค. ประธานรัฐสภา ง. ประธานองคมนตรี
6. ในเมื่อพระมหากษัตริย์จะไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักร หรือจะทรงบริหารพระราช
ภาระไม่ได้ด้วยเหตุใดก็ตาม จะได้ทรงแต่งตัง้ ผู้ใดผู้หนึ่งเป็ นผู้สำเร็จราชการแทน
พระองค์และให้ตำแหน่งใด เป็ นผู้รับสนอง พระบรมราชโองการ
ก. นายกรัฐมนตรี ข. ประธานองคมนตรี
ค. ประธานรัฐสภา ง. ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
7. การตรวจ การกัก หรือการเปิ ดเผยข้อมูลที่บุคคลสื่อสารถึงกัน รวมทัง้ การกระทำ
ด้วยประการใด ๆ เพื่อให้ล่วงรู้หรือได้มาซึ่งข้อมูลที่บุคคลสื่อสารถึงกันจะกระทำไม่ได้
เว้นแต่ข้อต่อไปนี ้ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. กรณีฉุกเฉิน เร่งด่วนอย่างยิ่ง ข.มีเหตุอ่ น
ื ตามที่กฎหมายบัญญัติ
ค. หมายของศาล ง. มีคำสั่งของศาล
8. การตรากฎหมายที่มีผลเป็ นการจํากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลในกรณีที่
รัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติเงื่อนไข ไว้ต้องเป็ นไปตามเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
ตามข้อใด
ก. ไม่ขัดต่อหลักนิติธรรม ข. ไม่เพิ่มภาระหรือจํากัดสิทธิ
์ รีความเป็ นมนุษย์ของบุคคล
ค. ไม่กระทบต่อศักดิศ ง. ถูกทุกข้อ

9. การจํากัดเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่ง
รัฐธรรมนูญ ไม่สามารถทำได้ ยกเว้นภายใต้เงื่อนไขต่อไปนี ้ ยกเว้นข้อใด
ก. เพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ ข. เพื่อคุ้มครองสิทธิหรือเสรีภาพ
ของบุคคลอื่น
ค. เพื่อป้ องกันสุขภาพของประชาชน ง. เพื่อคุ้มครองลิขสิทธิ ์
10. เสรีภาพทางวิชาการย่อมได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ แต่การใช้เสรีภาพนัน

ต้องไม่ขัดกับเงื่อนไขข้อใด
ก. ไม่ขัดต่อหน้าที่ของปวงชนชาวไทย ข. ไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดี
ของประชาชน
ค. ต้องเคารพและไม่ปิดกัน
้ ความเห็นต่างของบุคคลอื่น จ. ถูกทุกข้อ
11. การให้นําข่าวสารหรือข้อความใด ๆ ที่ผู้ประกอบวิชาชีพสื่อมวลชนจัดทำขึน
้ ไปให้
เจ้าหน้าที่ตรวจก่อนนําไปโฆษณาในหนังสือพิมพ์หรือสื่อใด ๆ จะกระทํามิได้ ยกเว้นข้อ
ใด
ก. เพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี
ของประชาชน
ข. เพื่อคุ้มครองสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอื่น
ค. กระทําในระหว่างเวลาที่ประเทศอยู่ในภาวะสงคราม
ง. ถูกทุกข้อ
12. รัฐธรรมนูญกำหนดหน้าที่ของปวงชนชาวไทย ยกเว้นข้อใด
ก. เข้ารับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบังคับ ข. อนุรักษ์ ฟื้ นฟู
หรือส่งเสริมภูมิปัญญา
ค. เสียภาษีอากร ง. อนุรักษ์และคุ้มครองสิ่ง
แวดล้อม
13. หน้าทีข
่ องปวงชนชาวไทย มาตรา 50 บุคคลมีหน้าที่ระบุมีกี่ข้อ
ก. 8 ข้อ ข. 9 ข้อ ค. 10 ข้อ ง. 11 ข้อ
14. รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็ นเวลา 12 ปี ตัง้ แต่ก่อนวัยเรียน
จนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ระบุไว้ในมาตราใด
ก. มาตรา 45 ข. มาตรา 54 ค. มาตรา 56 ง.
มาตรา 65
15. ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ข้ดใดไม่ใช่เป้ าหมายของการศึกษาทัง้ ปวงต้องมุ่ง
พัฒนาผู้เรียน
ก. เป็ นคนดี ข. มีวินัย ค. สามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตน
ง. ตลอดจนการศึกษาต่อ
16. ให้จัดตัง้ กองทุนเพื่อให้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์มีวัตถุประสงค์เพื่อ
อะไร
ก. เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการศึกษา ข. เพื่อเสริมสร้างและ
พัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู
ค. เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพนักเรียน ง. ถูก ข้อ ก กับ ข
17. “แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ” มีความเกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญหมวดใด
ก. หมวดที่ 3 ข. หมวดที่ 5 ค. หมวดที่ 6 ง. หมวดที่ 7
18. มาตรา 79 รัฐสภา ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. บุคคลจะเป็ นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ในขณะเดียวกัน
ด้วยก็ได้
ข. บุคคลจะเป็ นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ในขณะเดียวกันก็
ย่อมได้
ค. บุคคลจะเป็ นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ในขณะเดียวกัน
มิได้
ง. บุคคลจะเป็ นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ในขณะเดียวกันไม่
ได้

19. มาตรา 80 ข้อใดกล่าวถูกต้อง


ก. ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็ นรองประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภาเป็ น
ประธานรัฐสภา
ข. ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็ นประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภาเป็ น
ประธานรัฐสภา
ค. ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็ นประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภาเป็ นรอง
ประธานรัฐสภา
ง. ประธานรัฐสภาและรองประธานรัฐสภามาจากการเลือกตัง้
20. สมาชิกวุฒิสภาจาก
ก. การเลือกตัง้ ข. การเลือกกันเอง ค. การคัดเลือก
ง. การสรรหา
21. การกำหนดจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แต่ละจังหวัดจะพึงมีและการแบ่งเขต
เลือกตัง้ ให้ใช้จำนวน ราษฎรทัง้ ประเทศตามหลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศ
ตามข้อใด
ก. ในเดือนมกราคม ของปี ที่มีการเลือกตัง้ ข. ในเดือนธันวาคม ก่อนปี ที่มี
การเลือกตัง้
ค. ในปี สุดท้ายก่อนปี ที่มีการเลือกตัง้ ง. ในก่อนสามเดือนแรกของวันที่
มีเลือกตัง้
22. ในการเลือกตัง้ ทั่วไป ให้พรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตัง้ แจ้งรายชื่อบุคคลซึ่ง
พรรคการเมืองนัน
้ มีมติว่าจะเสนอให้สภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
แต่งตัง้ เป็ นนายกรัฐมนตรีตามข้อใด ต่อคณะกรรมการการเลือกตัง้ ก่อนปิ ดการรับสมัคร
รับเลือกตัง้
ก. หนึ่งรายชื่อ ข. สองรายชื่อ
ค. สามรายชื่อ ง. ไม่เกินสามรายชื่อ
23. ใครต่อไปนีม
้ ีสิทธิสมัครรับเลือกตัง้ เป็ นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ก. นายทอมแปลงสัญชาติมาเป็ นสัญชาติไทยมาแล้ว 4 ปี
ข. นายโจเป็ นสมาชิกพรรคการเมืองไทยรุ้งเป็ นเวลาติดต่อกัน 60 สิบวันนับถึงวัน
เลือกตัง้
ค. นายสันเป็ นเจ้าของกิจการหนังสือพิมพ์
ง. นายคงทนเคยรับโทษจำคุกในความผิดลหุโทษ
24. ข้อใดกล่าว ไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับวุฒิสภา
ก. วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 200 คน
ข. สมาชิกวุฒิสภาต้องมีสัญชาติโดยการเกิด
ค. การเลือกตัง้ สมาชิกวุฒิสภาให้ตราเป็ นพระราชบัญญัติ
ง. สมาชิกวุฒิสภาต้องอายุไม่ต่ำกว่า 40 ปี ในวันสมัครรับเลือก
25. ถ้าสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาอนุมัติพระราชกำหนดนัน
้ หรือถ้าวุฒิสภาไม่
อนุมัติและสภา ผู้แทนราษฎรยืนยันการอนุมัติด้วยคะแนนเสียงเท่าใด ของจำนวน
สมาชิกทัง้ หมดเท่าที่มีอยู่ของสภา ผู้แทนราษฎร ให้พระราชกำหนดนัน
้ มีผลใช้บังคับ
เป็ นพระราชบัญญัติต่อไป
ก. กึ่งหนึ่ง ข. มากกว่ากึ่งหนึ่ง ค. สองในสาม ง. ไม่น้อยกว่าสอง
ในสาม
26. สมาชิกวุฒิสภามีวาระในการดำรงตำแหน่ง คราวละกี่ปี
ก. 4 ปี ข. 4 ปี ไม่เกิน 2 วาระ ค. 5 ปี นับแต่วันประกาศผลการ
เลือก ง. 6 ปี วาระเดียว
27. ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและร่างพระราชบัญญัติ จะตราขึน
้ เป็ น
กฎหมายโดย
ก. คำแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ข. คำแนะนําและยินยอมของสภาผู้แทน
ราษฎร
ค. คำแนะนําและยินยอมของวุฒิสภา ง. คำแนะนําและยินยอมของคณะ
รัฐมนตรี
28. ในการเลือกตัง้ ทั่วไป เมื่อมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้รับเลือกตัง้ ถึงร้อยละเท่าไหร่
ของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทัง้ หมดแล้ว หากมีความจำเป็ นก็ให้ดำเนินการ
เรียกประชุมรัฐสภาได้
ก. ร้อยละ 50 ข. ร้อยละ 75 ค. ร้อยละ 80 ง. ร้อยละ
95
29. บุคคลใดเป็ นผู้มีสิทธิเลือกตัง้ ตามรัฐธรรมนูญ
ก. เป็ นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช ข. ต้องคุมขังอยู่โดยหมาย
ของศาล
ค. วิกลจริตหรือจิตฟั่ นเฟื อนไม่สมประกอบ ค. มีช่ อ
ื อยู่ในทะเบียนบ้าน
ในเขตเลือกตัง้ ไม่น้อยกว่า 90 วัน
30. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องมีอายุไม่ต่ำกว่ากี่ปี
ก. ไม่ต่ำกว่า 25 ปี ในวันลงสมัครเลือกตัง้
ข. ไม่ต่ำกว่า 25 ปี นับถึงวันเลือกตัง้
ค. ไม่ต่ำกว่า 25 ปี นับถึงวันประกาศผลเลือกตัง้
ข. ไม่ต่ำกว่า 25 ปี นับถึงวันประชุมรัฐสภาครัง้ แรก
31. สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเริ่มขึน
้ เมื่อใด
ก. เริ่มตัง้ แต่วันเลือกตัง้ ข. เริ่มตัง้ แต่วันประกาศผลการเลือกตัง้
ค. เริ่มตัง้ แต่ กกต.ประกาศรับรองการเลือกตัง้ ง. เริ่มตัง้ แต่วันเปิ ดประชุม
รัฐสภาครัง้ แรก
32. สมาชิกภาพของวุฒิสภา เริ่มตัง้ แต่เมื่อใด
ก. เริ่มตัง้ แต่วันเลือก ข. เริ่มตัง้ แต่วันประกาศผลการเลือกตัง้
ค. เริ่มตัง้ แต่ กกต.ประกาศรับรองการเลือกตัง้ ง. เริ่มตัง้ แต่วันเปิ ดประชุม
รัฐสภาครัง้ แรก
33. สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสิน
้ สุดลง เมื่อขาดการประชุมเกินเท่าใด
ของจำนวนวันประชุมในสมัยประชุม โดยไม่ได้รับอนุญาตจากประธานสภาผู้แทน
ราษฎร
ก. 1 ใน 4 ข. 2 ใน 3 ค. 1 ใน 5 ง. 2 ใน 5
34. ในระยะเวลา 1 ปี มรกีเปิ ดการประชุมรัฐสภากี่สมัย สมัยละกี่วัน
ก. 2 สมัย สมัยละ 90 วัน ข. 2 สมัย สมัยละ 120 วัน
ค. 3 สมัย สมัยละ 90 วัน ง. 1 สมัย สมัยละ 120 วัน
35. เมื่ออายุของสภาผู้แทนราษฎรสินสุดลง จะมีการเลือกตัง้ ทั่วไปภายในกี่วัน
ก.ภายใน 30 วัน ข. ภายใน 45 วัน ค. ภายใน 60 วัน
ง. ภานใน 120 วัน
36. นับแต่วันที่พระราชกฤษฎีกาการยุบสภาผู้แทนราษฎรใช้บังคับ ให้คณะกรรมการ
การเลือกตัง้ ประกาศกำหนดวันเลือกตัง้ ทั่วไปในราชกิจจานุเบกษา ภายในกำหนดใดนับ
แต่วันที่พระราชกฤษฎีกาดังกล่าวใช้บังคับ
ก. ภายใน 45 วัน ข. ภายใน 60 วัน
ค. ไม่น้อยกว่า 45 วันแต่ไม่เกิน 60 วัน ง. ไม่น้อยกว่า 45 วัน แต่ไม่เกิน
60 วัน
37. ผู้ที่นำพระราชบัญญัติขน
ึ ้ ทูลเกล้า และเป็ นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ คือ
ก.นายกรัฐมนตรี ข. ประธานวุฒิสภา
ค. ประธานรัฐสภา ง. ประธานองคมนตรี
38. การเปิ ดอภิปรายไม่ไว้วางใจ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนเท่าใดของสมาชิก
ทัง้ หมด ทำการขอเปิ ดอภิปรายไม่ไว้วางใจ จึงจะสามารกทำได้
ก. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ข. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ค. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3
ง. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 5
39. มติไม่ไวว้างใจต้องมีคะแนนเสียงเท่าใดของจำนวนสมาชิกทัง้ หมดของสภาผู้แทน
ราษฎร
ก. ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ข. เกินกึ่งหนึ่ง ค. ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ง.
มากกว่ากึ่งหนึ่ง

You might also like