You are on page 1of 7

พ.ร.บ.องค์กรอัยการและพนักงานอัยการ พ.ศ.

2553

1. ตราขึ้นโดยคาแนะนาและยินยอมของรัฐสภา
2. ให้ไว้ 3 ธ.ค. 2553
ประกาศ 7 ธ.ค. 2553
มีผล 8 ธ.ค. 2553 (ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศ)
3. มี 3 หมวด 31 มาตรา (ยกเลิก พ.ร.บ. 5 ฉบับ)
4. “ก.อ.” หมายความว่า คณะกรรมการอัยการ ตามระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ
(15 คน = ปธ. 1 คน รอง ปธ. 1 คน กรรมการโดยตาแหน่ง 5 คน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 8 คน)
5. “ข้าราชการฝ่ายอัยการ” หมายความว่า ข้าราชการฝ่ายอัยการ ตามระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ
(พนง.อัยการ + ขรก.ธุรการ)
6. “พนักงานอัยการ” หมายความว่า ผู้ได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งพนักงานอัยการ ตาม พ.ร.บ. นี้
7. “ภาค” หมายความว่า เขตท้องที่ ของสานักงานอัยการสูงสุด ที่ ก.อ. กาหนด (มี 9 ภาค)
8. “อัยการสูงสุด” เป็นผู้รักษาการ ตาม พ.ร.บ.
9. “หน่วยงานของรัฐ”
1. องค์กรตาม ร.ธ.น.
2. ส่วนกลาง
3. ส่วนภูมิภาค
4. ส่วนท้องถิ่น
หน่วยงานของรัฐ 5. รัฐวิสาหกิจ
6. องค์กรมหาชน
7. หน่วยงานอื่นของรัฐ
8. หน่วยงานอื่นที่ดาเนินกิจการของรัฐ
10. “เจ้าหน้าที่ของรัฐ”
1. ข้าราชการ
2. เจ้าพนักงาน
เจ้าหน้าที่ของรัฐ 3. พนักงาน
4. ลูกจ้าง
5. ผู้ปฏิบัติงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นในหน่วยงานของรัฐ
ไม่ว่าจะได้รับแต่งตั้งหรือเลือกตั้ง
11. “องค์กรอัยการ”
1. ก.อ. (คณะกรรมการอัยการ)
องค์กรอัยการ 2. อัยการสูงสุด (อสส.)
3. พนักงานอัยการอื่น
สานักงานอัยการสูงสุด (อส.) เป็นหน่วยธุรการ
-2-

12. สานักงานอัยการสูงสุด (อส.)


1. เป็นส่วนราชการ
2. มีอิสระในการบริหารงานบุคคล การงบประมาณ และ
การดาเนินการอื่น
3. เป็นนิติบุคคล
4. อั ย การสู ง สุ ด (อสส.) เป็ น ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชา และ
สานักงานอัยการสูงสุด
เป็นผู้แทนนิติบุคคล
(อส.)
5. ข้ าราชการฝ่ ายอั ยการ สั งกั ดส านั กงานอั ยการสู งสุ ด
(อส.)
6. การแบ่ ง หน่ ว ยงาน การจั ด ตั้ ง การก าหนดท้ อ งที่
ของภาค การกาหนดอานาจหน้าที่ของหน่วยงานภายใน
ทาเป็นประกาศ ก.อ.
13. การปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรอัยการ
การปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรอัยการ ต้องเป็นไป “ตามกฎหมายและหลักนิติธรรม”
14. พนักงานอัยการ มี 18 ตาแหน่ง (17+1) และมีเงินเดือน 8 ชั้น
ที่ ตาแหน่ง ชั้นเงินเดือน
1 อัยการสูงสุด เงินเดือนชั้น 8
2 รองอัยการสูงสุด
เงินเดือนชั้น 7
3 ผู้ตรวจการอัยการ
4 อธิบดีอัยการ
5 อธิบดีอัยการภาค
6 รองอธิบดีอัยการ
เงินเดือนชั้น 6
7 รองอธิบดีอัยการภาค
8 อัยการพิเศษฝ่าย
9 อัยการผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
10 อัยการผู้เชี่ยวชาญ เงินเดือนชั้น 5
11 อัยการจังหวัด
เงินเดือนชั้น 4
12 อัยการจังหวัดประจาสานักงานอัยการสูงสุด
13 อัยการประจาสานักงานอัยการสูงสุด
เงินเดือนชั้น 3
14 รองอัยการจังหวัด
15 อัยการประจากอง
เงินเดือนชั้น 2
16 อัยการจังหวัดผู้ช่วย
17 อัยการผู้ช่วย เงินเดือนชั้น 1
18 (+1) อัยการอาวุโส เงินเดือนและเงินประจาตาแหน่ง
เท่ากับเงินเดือนเดิมก่อนดารงตาแหน่ง
ถามกี่ตาแหน่ง ตอบ 18 ตาแหน่ง แต่ถ้าถามเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ ตอบ 17 ตาแหน่ง
-3-

15. การแต่งตั้งและการให้อัยการสูงสุดพ้นจากตาแหน่ง
(ตามมติ ก.อ. โดย สว. เห็นชอบ และ ปธ.สว. ลงนามรับสนอง)
การแต่งตั้ง การพ้น
โอน/ทหาร/
ตาย/พ้น/
ตาแหน่ง ผู้เสนอ เสนอต่อ ผู้เห็นชอบ ผู้แต่งตั้ง สั่งให้ออก/
ลาออก
ไล่ออก/ปลดออก
K. แต่งตั้ง นาความกราบฯ
นาความกราบฯ
อัยการสูงสุด ประธาน ก.อ. ก.อ. สว. ปธ.สว. เพื่อมีพระบรม
เพือ่ ทรงทราบ
ลงนามรับสนอง ราชโองการ

16. การแต่งตั้งและการให้พนักงานอัยการพ้นจากตาแหน่ง เป็นไปตามระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ

17. ให้มีพนักงานอัยการไว้เป็นทนายแผ่นดินประจาศาลต่าง ๆ ยกเว้น ศาลทหาร ตามกรอบอัตรากาลังที่ ก.อ. กาหนด

18. ในภาคหนึ่งๆ มีสานักงานอัยการภาค มีพนักงานอัยการคนหนึ่งเป็นหัวหน้า เรียกว่า “อธิบดีอัยการภาค”


จานวนและตาแหน่งของพนักงานอัยการ ตามที่ ก.อ. กาหนด

19. ในท้องที่ตั้งศาลจังหวัด ศาลแขวง หรือศาลเยาวชนและครอบครัว ยกเว้น เขต กทม. มีสานักงานอัยการจังหวัด


ประจ าศาลแต่ ล ะศาล เขตพื้ น ที่ ต าม ก.อ. ประกาศก าหนด มี พ นั ก งานอั ย การคนหนึ่ งเป็ น หั ว หน้ า เรีย กว่ า
“อัยการจังหวัด” จานวนและตาแหน่งของพนักงานอัยการ ตามที่ ก.อ. กาหนด

20. ใน กทม. ให้ พนักงานอัยการซึ่งรับราชการประจาส่วนกลางเป็น พนักงานอัยการประจาศาลชั้น ต้น ทุกศาล


ให้ “อั ยการสู งสุ ด ” หรื อ “รองอั ย การสู งสุ ด ” หรือ “อธิ บ ดี อั ย การ” ที่ ได้ รั บ มอบหมายจากอั ย การสู งสุ ด
เป็นหัวหน้าการปฏิบัติราชการของพนักงานอัยการประจาศาลชั้นต้นนั้น
-4-
21. อานาจหน้าที่ของพนักงานอัยการ
อานาจหน้าที่ของพนักงานอัยการ
1. ตามรัฐธรรมนูญ บทบังคับ
2. คดีอาญา ตาม ป.วิ.อาญา บทบังคับ
และตามกฎหมายอื่ น ซึ่ ง บั ญ ญั ติ ว่ า เป็ น
อ านาจหน้ า ที่ ข องส านั ก งานอั ย การสู ง สุ ด
หรือพนักงานอัยการ
3. คดีแพ่ง คดีปกครอง ดาเนินคดีแทน รัฐบาล หน่วยงานของรัฐที่เป็นองค์กร บทบังคับ
ตาม รธน. ส่ ว นกลาง ส่ ว นภู มิ ภ าค ในศาล หรื อ
กระบวนการทางอนุญาโตตุลาการ และตามกฎหมายอื่น
บั ญ ญั ติว่าเป็น อานาจหน้าที่ของส านั กงานอัยการสู งสุ ด
หรือพนักงานอัยการ
4. คดีแพ่ง คดีปกครอง หรือ คดีอาญา - จนท.ของรัฐถูกฟ้อง ในเรื่องที่กระทาไปตามหน้าที่ ดุลยพินิจ
- คดี แ พ่ ง หรื อ คดี อ าญาที่ ร าษฎรถูก ฟ้ อ งในเรื่องที่ ได้
กระท าไปตามค าสั่ ง ของ จนท.ของรั ฐ ที่ สั่ ง โดยชอบ
ด้ ว ยกฎหมาย หรือ เข้ า ร่ ว มช่ ว ยเหลื อ จนท.ของรั ฐ ใน
หน้าที่ราชการ จะรับแก้ต่างให้ก็ได้
5. คดีแพ่ง คดีปกครอง หรือ หน่ ว ยงานของรั ฐ นอกเหนื อ จาก (3) หรื อ นิ ติ บุ ค คล ดุลยพินิจ
อนุญาโตตุลาการ ที่มิใช่หน่วยงานของรัฐแต่มี พ.ร.บ. หรือ พ.ร.ฎ จัดตั้งขึ้น
เป็ น คู่ ก รณี โดย มิ ใช่ ข้อ พิ พ าทกั บ รั ฐ บาลหรื อ ระหว่า ง
หน่วยงานของรัฐด้วยกันเอง จะรับว่าต่างหรือแก้ต่างให้ก็ได้
6. คดีที่ราษฎรฟ้องเองไม่ได้โดยกฎหมายห้าม เมื่อเห็นสมควรพนักงานอัยการมีอานาจเป็นโจทก์ ได้ ดุลยพินิจ
7. การบังคับคดีอาญา เฉพาะในส่ ว นของการยึ ด ทรั พ ย์ สิ น ใช้ ค่ า ปรั บ ตาม ดุลยพินิจ
คาพิพากษา มิให้ เรียกค่าฤชาธรรมจากพนักงานอัยการ
8. การผิ ด สั ญ ญ าประกั น จ าเลย หรื อ ให้ดาเนินคดีในการบังคับให้เป็นไปตามสัญญา บทบังคับ
ก ารรั บ สิ่ งข อ งไป ดู แ ล รั ก ษ าต าม มิให้ เรียกค่าฤชาธรรมจากพนักงานอัยการ
ป.วิ.อาญา
9. ต าม ที่ ก.อ. ป ระกาศก าห น ดห รื อ
เห็ น ชอบ เพื่ อ ให้ ป ฏิ บั ติ เ ป็ น ไปตาม
กฎหมาย หรือมติคณะรัฐมนตรี
10. ปฏิบัติหน้าที่อื่น
ต า ม ที่ ก ฎ ห ม า ย ก า ห น ด ให้ เป็ น
อานาจหน้าที่ของพนักงานอัยการ
11. ปฏิบัติหน้าที่อื่น
ตามที่ ก าหนดให้ เ ป็ น อ านาจหน้ า ที่
ของส านั ก งานอั ย การสู ง สุ ด ตามที่
ได้รับมอบหมายจากอัยการสูงสุด
การปฏิบัติหน้าที่ในการ ทาแทน/รับแก้ต่าง พนักงานอัยการจะออกคาสั่งเรียกบุคคลใด ๆ ที่เกี่ยวข้องมาให้ถ้อยคาก็ได้
แต่จะเรียกคู่ความอีกฝ่ายโดยไม่ยินยอมไม่ได้
พนักงานอัยการตาแหน่งใด มีอานาจดาเนินการได้เพียงใด เป็นไปตามระเบียบสานักงานอัยการสูงสุด โดยความเห็นชอบของ ก.อ.
-5-

22. อานาจในการดาเนินคดี
1) อัยการสูงสุด และ รองอัยการสูงสุดมีอานาจดาเนินคดีได้ทุกศาล
2) อธิบดีอัยการภาค มีอานาจดาเนินคดีได้ทุกศาลภายในภาค
3) พนักงานอัยการ ผู้อื่นมีอานาจดาเนินคดีได้เฉพาะศาลแห่งท้องที่ที่ผู้นั้นรับราชการประจา
เว้นแต่
- คาสั่งอัยการสูงสุดให้พนักงานอัยการซึ่งรับราชการประจาในท้องที่หนึ่งไปช่วยราชการในอีกท้องที่หนึ่งชั่วคราว
หรือไปดาเนินคดีเฉพาะเรื่อง มีอานาจดาเนินคดีได้จนถึงศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา หรือศาลปกครองสูงสุด
- คาสั่งอธิบดีอัยการภาคให้พนักงานอัยการซึง่ รับราชการประจาในท้องที่หนึ่งภายในภาคไปช่วยราชการในอีก
ท้องที่หนึ่งชั่วคราวภายในภาคหรือไปดาเนินคดีเฉพาะเรื่อง มีอานาจดาเนินคดีได้จนถึงศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา
หรือศาลปกครองสูงสุด
- คาสั่งอธิบดีอัยการภาคให้พนักงานอัยการซึ่งรับราชการประจาภายในภาคให้ดาเนินคดีได้ทุกศาลภายในภาค
มีอานาจดาเนินคดีได้จนถึงศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา หรือศาลปกครองสูงสุด
- คดี ที่พ นักงานอัยการได้ ด าเนิน การไว้ในศาลชั้น ต้น ขึ้น มาสู่การพิ จารณาของศาลอุทธรณ์ หรือศาลฎีกา
พนั กงานอัย การผู้ด าเนิ น คดี นั้ น หรือพนักงานอัยการผู้ อื่น ประจ าศาลชั้ น ต้ น นั้ น หรือได้รั บ แต่งตั้ ง หรือ
ได้รับมอบหมายจากอัยการสูงสุด มีอานาจในการดาเนินคดีในชั้นอุทธรณ์หรือฎีกาได้
- คดีที่ศาลส่งประเด็นไปสืบพยานหรือโอนคดีไปพิจารณายังศาลอื่น พนักงานอัยการผู้ดาเนินคดีมาแต่ต้น หรือ
พนักงานอัยการประจาศาลอื่นนั้น หรือพนักงานอัยการประจาศาลที่ดาเนินคดีมาแต่ต้น มีอานาจดาเนินคดี
ในศาลที่สืบพยานตามประเด็น หรือศาลที่รับโอนคดีนั้นได้

23. การปฏิบั ติการตามอ านาจหน้ าที่เฉพาะในคดี ที่ ต้องตั้งต้น ที่พ นัก งานอัยการ หรือการตรวจสอบข้อเท็จ จริ ง
เพื่อดาเนินการตาม รธน. หรือตามกฎหมายอื่น ให้พนักงานอัยการมีอานาจในการแสวงหาข้อเท็จจริง รวบรวม
พยานหลักฐาน เอกสารหรือวัตถุ สอบปากคาพยานบุคคล ออกคาสั่งเรียกบุคคลมาให้การต่อหน้า ออกคาสั่ง
ให้ส่งพยานหลักฐาน และดาเนินการอื่นตามที่เห็นสมควร รวมทั้งอาจแจ้งให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการตามทีเ่ ห็นสมควร
แต่ทั้งนี้ ถ้าผู้ได้รับคาสั่งเป็น คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งหรือเป็น ผู้ถูกกล่าวหา บุคคลดังกล่าวจะไม่มาหรือไม่ให้ถ้อยคา
หรือไม่ส่งพยานหลักฐาน เอกสารหรือวัตถุตามที่เรียกก็ได้

24. การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานอัยการในกรณีที่กฎหมายกาหนดให้มีอานาจหน้าที่ในการสอบสวนคดีอาญา ซึ่งมิใช่


การร่ ว มสอบสวนหรื อ ร่ ว มท าส านวนกั บ พนั ก งานสอบสวน พนั ก งานอั ย การให้ มี อ านาจหน้ า ที่ ส อบสวน
เช่ น เดี ย วกั บ พนั ก งานสอบสวน ทั้ งนี้ ให้ พ นั ก งานอั ย การเป็ น พนั ก งานฝ่ า ยปกครองหรื อ ต ารวจชั้ น ผู้ ใ หญ่
และมีอานาจหน้าที่ตาม ป.วิ.อาญา โดยในการค้น การจับ การคุมขัง อาจร่วมหรือแจ้งให้ เจ้าพนักงานตารวจ
หรือเจ้าพนักงานอื่นดาเนินการได้

25. คาสั่งของพนักงานอัยการ ถือเป็น คาบังคับของพนักงานอัยการตามประมวลกฎหมายอาญา

26. การใช้อานาจหรือกระทาหน้าที่ของ ป.วิ.อาญา หรือกฎหมายอื่น ให้อัยการสูงสุดมีอานาจทาคาสั่งเฉพาะเรื่อง


หรือวางระเบียบไว้ให้ปฏิบัติการได้
ในกรณี ที่กฎหมายบั ญ ญั ติให้ เป็ น อานาจของอัยการสู งสุ ด ถ้า มิ ได้ มีกฎหมายกาหนดวิธีการมอบอานาจไว้เป็ น
การเฉพาะ อั ย การสู ง สุ ด จะมอบอ านาจให้ ร องอั ย การสู ง สุ ด หรื อ อธิ บ ดี อั ย การภาคก็ ไ ด้ การมอบอ านาจ
อัยการสูงสุดจะวางระเบียบให้ผู้รับมอบอานาจต้องปฏิบัติด้วยก็ได้
-6-

27. การรักษาราชการแทนและการปฏิบัติราชการแทนของพนักงานอัยการ เป็นไปตามระเบียบที่ ก.อ. กาหนด


- ในกรณีที่มีกฎหมายอื่นแต่งตั้งพนักงานอัยการให้ดารงตาแหน่งใดเป็นกรรมการ หรือให้มีอานาจหน้าที่อย่างใด
ให้ผู้รักษาราชการแทนหรือปฏิบัติราชการแทน มีอานาจหน้าที่เป็นกรรมการหรือเช่นเดียวกับผู้ดารงตาแหน่งนั้น
แล้วแต่กรณี

28. - พนักงานอัยการมีอิสระในการพิจารณาสั่งคดี และการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตาม รธน. และตามกฎหมายโดย


สุจริตและเที่ยงธรรม
- ถ้าพนักงานอัยการเห็นว่าการฟ้องคดีอาญา
1) ไม่เป็นประโยชน์แก่สาธารณชน
2) มีผลกระทบต่อความปลอดภัยของชาติ
3) ความมั่นคงของชาติ
4) ผลประโยชน์อันสาคัญของประเทศ
ให้เสนอต่ออัยการสูงสุด และให้อัยการสูงสุด มีอานาจสั่งไม่ฟ้องได้ ตามระเบียบที่สานักงานอัยการสูงสูด
กาหนด โดยความเห็นชอบของ ก.อ.
- กรณี พ นั ก งานอัย การไม่ ยื่น ค าร้ อ ง ไม่ อุ ท ธรณ์ ไม่ ฎี กา ถอนฟ้ อ ง ถอนค าร้ อ ง ถอนอุท ธรณ์ และถอนฎี ก า
ให้ เสนอต่ ออัยการสูงสุด และให้ อัย การสู งสุ ด มีอานาจสั่งไม่ฟ้ องได้ ตามระเบี ยบที่ สานั กงานอัยการสูงสู ด
กาหนด โดยความเห็นชอบของ ก.อ.
- ดุลยพินิจของพนักงานอัยการในการพิจารณาสั่งคดีและการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ซึ่งได้แสดงเหตุผลประกอบแล้ว
ย่อมได้รับความคุ้มครอง

29. สานักงานอัยการสูงสุด (อส.) มีอานาจหน้าที่ ดังนี้


*(1) งานธุรการและงานวิชาการ เพื่อสนับสนุนและอานวยความสะดวกให้แก่พนักงานอัยการ* (งานหลัก)
(2) การช่วยเหลือประชาชนในการดาเนินการทางกฎหมาย การคุ้มครองป้องกันสิทธิเสรีภาพของประชาชน และ
การให้ความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชน
(3) ให้คาปรึกษา ตรวจร่างสัญญา หรือเอกสารทางกฎหมายให้แก่รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ
- ในการตรวจร่างสัญญาให้สานักงานอัยการสูงสุดรักษาประโยชน์ของรัฐ และมีหน้าที่รายงานรัฐบาล หรือ
หน่วยงานของรัฐ หรือนิติบุคคล ที่เป็นคู่สัญญาให้ทราบถึงข้อปรับปรุงหรือแก้ไขให้สมบูรณ์ ข้อเสียเปรียบ
หรือข้อที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ
(4) ให้คาปรึกษา ตรวจร่างสัญญา หรือเอกสารทางกฎหมายให้แก่นิติบุคคลซึ่งมิใช่หน่วยงานของรัฐ แต่ได้มี
พ.ร.บ. หรือ พ.ร.ฎ. จัดตั้งขึ้น ตามที่เห็นสมควร
(5) การบังคับคดีแพ่ง คดีปกครองแทนรัฐบาลหรือหน่วยงานของรัฐซึ่งพนักงานอัยการได้รับดาเนินคดีให้
(6) ดาเนินการตามที่คณะรัฐมนตรีร้องขอ เว้นแต่ ขัดต่องานในหน้าที่หรือขัดต่อความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่
ของพนักงานอัยการ
(7) การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาข้าราชการฝ่ายอัยการ
(8) ร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐในการอานวยความยุติธรรม การรักษาผลประโยชน์ของรัฐและประชาชน
(9) ติ ด ต่ อ ประสานงานกั บ องค์ ก รหรื อ หน่ ว ยงานต่ า งประเทศเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งที่ อ ยู่ ใ นอ านาจหน้ า ที่ ข อง
พนักงานอัยการหรือสานักงานอัยการสูงสุด
(10) ปฏิบัติการอื่นตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของพนักงานอัยการหรือสานักงานอัยการสูงสุด
-7-

30. ให้สานักงานอัยการสูงสุดเสนองบประมาณรายจ่ายต่อ ครม. เพื่อจัดสรรเป็นเงินอุดหนุนไว้ในร่าง พ.ร.บ.งปม. ประจาปี


หรื อ ร่ า ง พ.ร.บ.งปม. รายจ่ า ยเพิ่ ม เติ ม ในกรณี ที่ ไ ด้ รั บ จั ด สรรไม่ เ พี ย งพอให้ เ สนอค าขอแปรญั ตติ
ต่อ คณะกรรมการ กมธ. พิจารณางบประมาณ ของ สส. ได้โดยตรง

31. ให้สานักงานอัยการสูงสุดเป็นหน่วยรับตรวจตามกฎหมายว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน เมื่อ สตง. ตรวจสอบ


รับรองบัญชีแล้ว ให้เสนอผลการตรวจโดยตรงต่อ สส. สว. และ ครม. ด้วย

32. กรณี มีการยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษี การยกเว้น หรือการผ่อนผัน ให้ส านักงานอัยการสูงสุด ได้รับการยกเว้น หรือ
ผ่อนผันในเรื่องนั้นด้วย

33. อัยการสูงสุด (อสส.) มีอานาจหน้าที่ ดังนี้


(1) กาหนดนโยบายและรับผิดชอบการปฏิบัติราชการของสานักงานอัยการสูงสุด
(2) ควบคุมดูแล และรับผิดชอบในการบริหารราชการ ปฏิบัติราชการ บริหารงานบุคคล ของสานักงานอัยการสูงสุด
ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ แบบแผนและประเพณีของทางราชการ
(3) บริหารจัดการงบประมาณ การเงิน ทรัพย์สิน การพัสดุของสานักงานอัยการสูงสุด
- อัยการสูงสุดอาจมอบอานาจให้รองอัยการสูงสุด หรือข้าราชการฝ่ายอัยการปฏิบัติหน้าที่แทนได้
- อัยการสูงสุดโดยความเห็นชอบของ ก.อ. มีอานาจออกระเบียบเกี่ยวกับงบประมาณ การเงิน ทรัพย์สิน
การพัสดุ ของสานักงานอัยการสูงสุด
- อัยการสูงสุดมีอานาจออกระเบียบ ประกาศ หรือคาสั่งอันจาเป็นต่อการปฏิบัติราชการของสานักงานอัยการสูงสุด
เกี่ยวกับการกาหนดนโยบาย รับผิดชอบ ควบคุมดูแลการปฏิบัติราชการ การบริหารราชการ บริหารงานบุคคล
เท่าที่ไม่ขัดแย้งกับระเบียบ หรือประกาศที่ ก.อ. กาหนดตาม พ.ร.บ นี้



You might also like