You are on page 1of 51

หน่วยที่ 10 กฎหมายการทูต

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. กฤติญดา เกิดลาภผล


1. คำจำกัดความของกฎหมายการทูต”
กฎหมายการทูตเป็ นสาขาหนึ่งของกฎหมายระหว่างประเทศ
แผนกคดีเมือง
คำจำกัดความของ “กฎหมายการทูต”
กฎหมายการทูต หมายความถึง กฎเกณฑ์ที่มุ่งวางนิตสิ มั พันธ์
ระหว่างองค์กรต่างๆ ของบุคคลระหว่างรัฐ หรือ องค์การระหว่าง
ประเทศ ซึ่งมีหน้าท่อย่างถาวร หรือ อย่างชั ่วคราวในการดำเนิน
ความสัมพันธ์ภายนอกของรัฐ หรือหลักเกณฑ์ทางกฎหมายที่มุ่ง
บังคับในการดำเนินความสัมพันธ์น้นั ๆ ประกอบด้วย
• กฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต
• กฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล
• กฎหมายการทูตเป็ นสาขาหนึ่งของกฎหมายระหว่าง
ประเทศแผนกคดีเมือง
• กำหนดสิทธิและหน้าที่ของตัวแทนทางการทูตและกงสุล
ในฐานะที่เป็ นตัวแทนของรัฐผูส้ ง่ เพื่อปฏิบตั หิ น้าที่รฐั ผูร้ บั
• ขอบข่ายเอกสิทธิ์และความคุม้ กันของผูแ้ ทนทางการทูต
นั้นได้แก่ การยกเว้นภาษาอากร ภาษีศุลกากร ค่า
ธรรมเนียม ความคุม้ กันเกี่ยวกับตัวบุคคล ความคุม้ กัน
สถานที่
• ส่วนเอกสิทธิ์และความคุม้ กันทางกงสุลจำแนกออกเป็ น
ความละเมิดมิได้ในสถานที่ ความละเมิดมิได้ในตัว
บุคคล การยกเว้นภาษีอากรและภาษีศุลกากร
• กฎหมายการทูตเป็ นกฎหมายระหว่างประเทศ การนำ
กฎหมายดังกล่าวมาใช้ในประเทศไทยจะต้องมีการอนุ
วัตกิ ารออกมาในรูปกฎหมายภายใน ซึ่งปั จจุบนั นี้ ได้แก่
พระราชบัญญัตวิ ่าด้วยเอกสิทธิ์และความคุม้ กันทางการ
ทูต พ.ศ. 2527 และพระราชบัญญัตวิ ่าด้วยเอกสิทธิ์
และความคุม้ กันทางกงสุล พ.ศ. 2541
คณะผูแ้ ทนทางการทูตและกงสุล
คณะผูแ้ ทนทางการทูต
เป็ นตัวแทนที่รฐั ส่งไปประจำอยูใ่ นรัฐผูร้ บั และคอยควบคุมดูแลกิจการทุกอย่างของรัฐผู ้
ส่งในในอาณาจักรของรัฐผูร้ บั โดยเฉพาะอย่างยิง่ การรักษาสัมพันธ์ภาพอันดีในทุกทาง
ระหว่างรัฐทั้งสอง
กงสุล
กงสุลเป็ นเพียงเจ้าพนักงานของรัฐผูส้ ง่ ที่ได้รบั มอบหมายให้อำนวยความสะดวกช่วย
เหลือคนชาติของรัฐผูส้ ง่ กับการคุม้ ครองสิทธิประโยชน์สว่ นบุคคลของคนชาติน้ันๆใน
ต่างประเทศ ในการควบคุมดูแลการพาณิชย์และปกป้องผลประโยชน์คนชาติของตนใน
ต่างแดน
หน้าที่ของกงสุลมีหลายประการแต่หน้าที่ สำคัญสามประการ ตามอนุสญ ั ญากรุงเวียน
นาค.ศ. 1963 คือ
1. ออกรายการตรวจลงตราหนังสือเดินทาง
2. เป็ นตัวแทนคนชาติของรัฐผูส้ ง่ เช่น ในองค์กรตุลาการ เป็ นต้น
3. พิทกั ษ์รกั ษาผลประโยชน์ของผูเ้ ยาว์ บุ คคลไร้ความสามารถ และพิทกั ษ์รกั ษาผล
ประโยชน์ของคนชาติของรัฐผูส้ ง่
รากฐานทางทฤษฎีเกี่ยวกับเอกสิทธิและความคุม้ กันของผู ้
แทนทางการทูต

• รากฐานทางทฤษฎีเกี่ยวกับเอกสิทธิ์และความคุม้ กันมี
3 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีลกั ษณะตัวแทนของผูแ้ ทนทางการ
ทูต ทฤษฎีสภาพนอกอาณาเขต ทฤษฎีประโยชน์ในการ
ปฏิบตั หิ น้าที่และการถ้อยทีถอ้ ยปฏิบตั ิ ปั จจุบนั นี้ ได้
ยอมรับนับถือทฤษฎีหลังนี้ เป็ นรากฐานของเอกสิทธิ์และ
ความคุม้ กัน
วิวฒ
ั นาการของกฎหมายการทูต

• กฎหมายการทูตและกงสุลวิวฒ ั นาการมาจากจารีต
ประเพณี และแนวทางปฏิบตั ขิ องรัฐมาเป็ นเวลาช้านาน
จนก่อให้เกิดเป็ นกฎหมายจารีตประเพณีทางการทูต
• ต่อมาคณะกรรมาธิการกฎหมายระหว่างประเทศ
(International Law Commission) ได้ประมวลกฎหมาย
จารีตประเพณีว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต และกงสุล
ขึ้นสองฉบับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องคือ
วิวฒ
ั นาการของกฎหมายการทูต

– Vienna Convention on Diplomatic Relations 1961


อนุสญ
ั ญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูต ค.ศ.
1961
– Vienna Convention on Consular Relations 1963
อนุสญั ญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล
ค.ศ. 1963
วิวฒ
ั นาการของกฎหมายการทูต

– Convention on the prevention and punishment of crime


against internationally protected persons, including diplo
matic agent 1973
อนุสญ
ั ญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมที่
กระทำต่อบุคคลที่ได้รบั ความคุม้ ครองระหว่างประเทศ
รวมทั้งตัวแทนทางทูต ค.ศ. 1973
- Convention against the taking of Hostage 1979
อนุสญั ญาต่อต้านการจับบุคคลเป็ นตัวประกัน ค.ศ
. 1979
บุคคลในคณะผูแ้ ทนทางการทูต
1. คณะผูแ้ ทนทางการทูต ประกอบด้วยบุคคลหลายประเภทด้วยกัน
อันได้แก่ หัวหน้าคณะผูแ้ ทน บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูต บุคคลในคณะ
เจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและวิชาการ บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการ
ครอบครัวของบุคคลในคณะผูแ้ ทนทางการทูต คนรับใช้สว่ นตัว
2. การเข้าดำรงตำแหน่งของผูแ้ ทนทางการทูต ย่อมแตกต่าง
กันไปตามประเภทของบุคคลในคณะผูแ้ ทนทางการทูต
3. การเข้าดำรงตำแหน่งของหัวหน้าคณะผูแ้ ทนทางการทูต
ย่อมต้องขอความเห็นชอบจากรัฐผูร้ บั และการเข้าดำรงตำแหน่ง
ของหัวหน้าคณะผูแ้ ทนจะสมบูรณ์ตอ่ เมื่อได้ถวายพระราชสาสน์
ตราตั้งหรืออักษรสาสน์ตราตั้งที่ถูกต้องต่อกระทรวงการต่าง
ประเทศของรัฐผูร้ บั
บุคคลในคณะผูแ้ ทนทางการทูต
4. การเข้าดำรงตำแหน่งของบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูต บุคคล
ในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการไม่จำต้องขอความเห็นชอบจากรัฐ
ผูร้ บั เป็ นแต่แจ้งการแต่งตั้งบุคคลดังกล่าวไปยังกระทรวงการ
ต่างประเทศของรัฐผูร้ บั ก็เป็ นการเพียงพอแล้ว
5. การสิ้นสุดของการดำรงตำแหน่งผูแ้ ทนทางการทูต อาจมีได้ 3
สาเหตุ คือสาเหตุอนั เนื่องมาจากรัฐผูส้ ง่ เรียกตัวกลับ สาเหตุอนั
เนื่องมาจากรัฐผูร้ บั ส่งตัวกลับ และสาเหตุอื่นอันเนื่องมาจาก
ตัวแทนทางการทูตนั ่นเอง
6. วิธีการที่ทำให้การดำรงตำแหน่งของผูแ้ ทนทางการทูตสิ้นสุดลง
มีได้ 2 วิธี คือ การเรียกหัวหน้าคณะหรือบุคคลอื่นในคณะผูแ้ ทน
กลับ และการขับไล่บุคคลในคณะผูแ้ ทนทางการทูตโดยรัฐผูร้ บั
บุคคลในคณะผูแ้ ทนทางการทูต
7. หน้าที่ของคณะผูแ้ ทนทางการทูต มีหลายประการ คือ การเป็ น
ตัวแทนของรัฐผูส้ ง่ การคุม้ ครองประโยชน์ของคนชาติของตนใน
รัฐผูร้ บั การเจรจากับรัฐบาลของรัฐผูร้ บั การเสาะแสวงหาข่าว
และรายงาน การส่งเสริมและพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ ระหว่างรัฐผูร้ บั กับรัฐผูส้ ง่
สาระสำคัญของกฎหมายว่าด้วย
ความสัมพันธ์ทางการทูต

บุคคลในคณะผูแ้ ทนทางการทูต
1. หัวหน้าคณะผูแ้ ทน แบ่งออกเป็ น 4 ระดับ
-เอกอัครราชทูต
-รัฐทูตพิเศษ / อัครราชทูต
- อุปทูต
2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูต จะมีตำแหน่งทางการทูต
ส่วนมาก ได้แก่ ข้าราชการในกระทรวงต่างประเทศ นอกจากนั้นอาจจะเป็ นเจ้า
พนักงานในหน่วยราชการอื่นที่สง่ มาประจำยังสถานทูต เช่นผูช้ ่วยทูตฝ่ ายทหาร
บก ผูช้ ่วยทูตฝ่ ายทหารเรือ ผูช้ ่วยทูตฝ่ ายทหารอากาศ ผูช้ ่วยทูตฝ่ ายวัฒนธรรม
ผูช้ ่วยทูตฝ่ ายพาณิชย์ เป็ นต้น ชื่อจะปรากฏอยูใ่ นบัญชีคณะทูต
สาระสำคัญของกฎหมายว่าด้วย
ความสัมพันธ์ทางการทูต

3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและวิชาการ
เช่นเลขานุการทั ่วไป พนักงานแปล พนักงานพิมพ์ดีด เป็ นต้น บุคคล
เหล่านี้ไม่สามารถอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุม้ กันทางการทูตได้
เหมือนเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูต แต่แค่มีสถานะพิเศษในเรื่องนี้เท่านั้น
4. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการ
คือลูกจ้างของรัฐผูส้ ง่ ในกิจการของคณะผูแ้ ทน โดยไม่ใช่เป็ นคนที่ให้
บริการส่วนตัวแก่สมาชิกคณะผูแ้ ทน เช่น คนขับรถ คนสวนของ
สถานทูต เป็ นต้น
สาระสำคัญของกฎหมายว่าด้วย
ความสัมพันธ์ทางการทูต

5. ครอบครัวของบุคคลในคณะผูแ้ ทนทางการทูต
ครอบครัวหัวหน้าคณะผูแ้ ทน ครอบครัวคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูต
ครอบครัวคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและวิชาการ
ครอบครัวคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการไม่สามารถอุปโภคเอกสิทธิ์และ
ความคุม้ กันได้
6. คนรับใช้สว่ นตัว
ขึ้นอยูก่ บั กฎหมายภายในของรัฐผูร้ บั
เอกสิทธิ์และความคุม้ กัน

• เอกสิทธิ์ (Privilege)
เอกสิทธิ์ทางการทูต หมายความถึง สิทธิของผูใ้ ห้หรือเกิดขึ้น
ทางด้านผูใ้ ห้ ที่จะให้สิทธิพิเศษในรูป ผลประโยชน์หรือผล
ปฏิบตั อิ ย่างใดอย่างหนึ่ง หรืออาจเป็ นการยกเว้นให้ไม่ตอ้ ง
ปฏิบตั หิ รือไม่ตอ้ ง มีภาระอย่างใดอย่างหนึ่ง
เอกสิทธิ์และความคุม้ กัน

• ความคุม้ กัน (Immunities)


ความคุม้ กันทางการทูต หมายความถึง สิทธิของผูร้ บั หรือ
เกิดขึ้นทางด้านผูร้ บั ผูใ้ ห้จำจะต้องให้ ความคุม้ กันแก่ผไู ้ ด้รบั
เพราะผูไ้ ด้รบั มีสิทธิที่จะได้รบั ความคุม้ กันนั้นอยูใ่ นตัวเอง ผู ้
ให้จะไม่ให้ไม่ได้ ความคุม้ กันออกมาในรูปของการยกเว้นให้
ผูไ้ ด้รบั ปลอดหรือหรือหลุดพ้นจากอำนาจหรือภาระหรือภัย
อย่างใดอย่างหนึ่ง
แนวคิดทั ่วไปเกี่ยวกับเอกสิทธิ์และความคุม้ กันของผูแ้ ทนทางการทูต

ขอบเขตของเอกสิทธิ์และความคุม้ กันทางการทูต
ความคุม้ กันทางการทูต เช่น
1. ความคุม้ กันเกี่ยวกับตัวบุคคล
2. ความคุม้ กันเกี่ยวกับสถานที่
3. ความคุม้ กันทางศาล
มูลฐานและขอบเขตของเอกสิทธิ์และ
ความคุม้ กันทางการทูต
ขอบเขตของเอกสิทธิและความคุม้ กันทางการทูต
1. เอกสิทธิเกี่ยวกับภาษีอากร ค่าธรรมเนียม หรือค่าภาระที่
เรียกเก็บในรัฐผูร้ บั
2. เสรีภาพในการคมนาคมสื่อสาร
3. ความละเมิดมิได้ในตัวบุคคล
4. ความละเมิดมิได้ในสถานที่ของคณะผูแ้ ทน
5. ความคุม้ กันจากอำนาจศาล
แนวคิดเกี่ยวกับกฎหมายการทูต
ทฤษฎีมูลฐานทางกฎหมายของเอกสิทธิ์และความคุม้ กัน
ทางการทูตที่สำคัญมี 3 ทฤษฎี ได้แก่
1. ทฤษฎีลกั ษณะตัวแทนของผูแ้ ทนทางการทูต
2. ทฤษฎีสภาพนอกอาณาเขต
3. ทฤษฎีประโยชน์ในการปฏิบตั หิ น้าที่และการถ้อยทีถอ้ ย
ปฏิบตั ิ
สถาบันกงสุล
1. กงสุลแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ พนักงานฝ่ าย
กงสุลอาชีพ กับพนักงานฝ่ ายกงสุลกิตติมศักดิ์
2. อนุสญ
ั ญากรุงเวียนนา ค.ศ. 1963 ว่าด้วยความสัมพันธ์
ทางกงสุล ได้เน้นถึงสถานที่ที่ทำการของกงสุลเป็ นสำคัญ
โดยจัดแบ่งเป็ น 4 ระดับคือ สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล
สถานรองกงสุล สำนักตัวแทนทางกงสุล
สถาบันกงสุล
3. กงสุลมีหน้าที่คมุ ้ ครองผลประโยชน์ของรัฐผูส้ ง่ และคน
ของชาติแห่งรัฐผูส้ ง่ สืบเสาะด้วยวิธีการอันชอบด้วย
กฎหมาย ถึงภาวะเศรษฐกิจ พาณิชย์ วัฒนธรรมของรัฐ
ผูร้ บั และส่งเสริมความสัมพันธ์อนั ดีในด้านต่างๆ ดัง
กล่าวข้างต้น
4. การแต่งตัง้ หัวหน้าเจ้าหน้าสถานที่ทำการกงสุล ต้องได้
รับคำยอมรับจากรัฐผูร้ บั เสมอ โดยคำยอมรับนี้จะออกมา
ในรูปของอนุมตั บิ ตั ร
เอกสิทธิ์และความคุม้ กันทางกงสุล

เอกสิทธิ์และความคุม้ กันเกี่ยวกับสถานที่ทางกงสุล แบ่ง


ออกเป็ น 4 ประเภท คือ
1. ความละเมิดมิได้ในสถานที่ทางกงสุล
2. ความละเมิดมิได้ของบรรณสารและเอกสารทางกงสุล
3. การยกเว้นการเก็บภาษีอากรสถานที่ทางกงสุล
4. เสรีภาพในการสื่อสาร
เอกสิทธิ์และความคุม้ กันทางกงสุล

ความคุม้ กันของบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลประกอบ
ด้วย
ก. ความละเมิดมิได้ในตัวพนักงานฝ่ ายกงสุล แต่ความละเมิด
มิได้น้ ีมิได้เด็ดขาด โดยหลักแล้วพนักงานฝ่ ายกงสุลจะไม่
ตกเป็ นผูถ้ ูกกักขังหรือจับกุมในระหว่างพิจารณาคดี เว้น
แต่เป็ นอาชญากรรมที่รา้ ยแรง และความคำวินิจฉัยของ
ศาล
เอกสิทธิ์และความคุม้ กันทางกงสุล
ข. ความคุม้ กันเกี่ยวกับการพิจารณาคดี พนักงานฝ่ ายกงสุล
และลูกจ้างฝ่ ายกงสุลจะมีความคุม้ กันเกี่ยวกับการ
พิจารณาคดี ในส่วนที่เกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้กระทำไปใน
การปฏิบตั หิ น้าที่ทางกงสุล เว้นแต่
1) การดำเนินคดีแพ่งเกี่ยวกับสัญญา ซึ่งพนักงานฝ่ ายกงสุล
และลูกจ้างฝ่ ายกงสุลได้กระทำไปโดยมิใช่ในฐานะของ
ตัวแทนของรัฐผูส้ ง่ อย่างแจ่มแจ้งหรือโดยปริยาย
2) คดีแพ่งโดยฝ่ ายที่สาม สำหรับความเสียหายอันเกิดจาก
อุบตั เิ หตุในรัฐผูร้ บั โดยเนื่องมาจากยวดยาน เรือ หรือ
อากาศยาน
การบังคับใช้กฎหมายการทูตในประเทศไทย
การบังคับใช้กฎหมายการทูตในประเทศไทย
ประเทศไทยมีพระราชบัญญัตวิ ่าด้วยเอกสิทธิ์และความคุม้
กันทางการทูต พ.ศ. 2527 และพระราชบัญญัตวิ ่าด้วย
เอกสิทธิ์และความคุม้ กันทางกงสุล พ.ศ. 2541 เพื่ออนุวตั ิ
การอนุสญ ั ญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต
ค.ศ. 1961 และอนุสญ ั ญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์
ทางกงสุล ค.ศ. 1963 ตามลำดับ
ขอบเขตของเอกสิทธิ์และความคุม้ กันทางกงสุล
เอกสิทธิ์และความคุม้ กันของสถานที่ทางกงสุล
1) เอกสิทธิ์เกี่ยวกับภาษีอากรสถานที่ทางกงสุล
2) เสรีภาพในการสื่อสาร
3) ความละเมิดมิได้ในสถานที่ทางกงสุล
4) ความละเมิดมิได้ของบรรณสารและเอกสารทางกงสุล
ขอบเขตของเอกสิทธิ์และความคุม้ กันทางกงสุล
เอกสิทธ์และความคุม้ กันของบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่าย
กงสุล
1) เอกสิทธิ์เกี่ยวกับภาษีอากรและภาษีศุลกากร
2) ความละเมิดมิได้ในตัวบุคคลของพนักงานฝ่ ายกงสุล
3) ความคุม้ กันจากอำนาจศาล
อนุสญ
ั ญาเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์
ทางการทูต
The Vienna Convention on Diplomatic Relations 1961
Article 3 หน้าที่ของคณะผูแ้ ทน
(1) เป็ นตัวแทนของรัฐในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ
ผูส้ ง่ (Sending State) และรัฐผูร้ บั (Receiving State)
(2) เป็ นตัวแทนในการคุม้ ครองผลประโยชน์และคน
ชาติของรัฐผูส้ ง่
(3) เป็ นตัวแทนในการให้ขอ้ มูลข่าวสารและส่งเสริม
ความสัมพันธ์ฉนั มิตรระหว่างรัฐผูส้ ง่ กับรัฐผูร้ บั
Article 4
• รัฐผูส้ ง่ ต้องทำให้เป็ นที่แน่นอนว่ารัฐผูร้ บั ได้ให้ความเห็น
ชอบแล้วสำหรับบุคคลที่จะแต่งตัง้ เป็ นหัวหน้าคณะผูแ้ ทน
• รัฐผูร้ บั ไม่จำเป็ นต้องให้เหตุผลแก่รฐั ผูส้ ง่ ในการปฏิเสธ
ไม่ให้ความเห็นชอบ
Article 9
รัฐผูร้ บั อาจบอกกล่าว ณ เวลาใด ว่าหัวหน้า หรือบุ คคลใดใน
คณะผูแ้ ทนเป็ น บุคคลที่ไม่พึงปรารถนา (Persona non grata)

Article 13
หัวหน้าคณะผูแ้ ทนต้องยืน่ สาส์นตราตัง้ (credentials) เพื่อ
บอกกล่าวการมาถึงของตน และเพื่อถือได้ว่าได้รบั การหน้าที่
ของตนในรัฐผูร้ บั
Article 14
หัวหน้าคณะผูแ้ ทนแบ่งออกเป็ น 3 ชั้น
1) ชั้นเอกอัครราชทูต เอกอัครสมณทูต
2) ชั้นรัฐทูต อัครราชทูต อัครสมณทูต
3) ชั้นอุปทูต
ความคุม้ กันแก่สถานที่
Article 22 สถานที่ของคณะผูแ้ ทนจะถูกละเมิดมิได้
สถานที่ เครื่องตกแต่ง และทรัพย์สินอื่นของคณะผูแ้ ทน
และพาหนะในการขนส่งของคณะผูแ้ ทนได้รบั การคุม้ กัน
จากการค้น การเรียกเกณฑ์ การอายัดหรือการบังคับคดี
ความคุม้ กันแก่สถานที่
Article 24 เอกสารและบรรณสาร (Archives) ของคณะผู ้
แทนจะถูกละเมิดมิได้
Article 23 นอกจากการชำระค่าบริการจำเพาะแล้ว ให้รฐั ผู ้
ส่งและหัวหน้าคณะผูแ้ ทนได้รบั การยกเว้นภาษีอากรทั้ง
ของชาติ ท้องถิ่น หรือเทศบาล ในส่วนที่เกี่ยวกับสถานที่
ของคณะผูแ้ ทนไม่ว่าจะเป็ นเจ้าของหรือเช่า
ความคุม้ กันด้านการสื่อสาร
Article 27
• การอนุญาตและคุม้ ครองการสื่อสารโดยเสรี
• หนังสือตอบโต้ทางการจะละเมิดมิได้
• ถุงทางทูต (Diplomatic Bag) จะไม่ถูกเปิ ดหรือกักไว้
ความคุม้ กันแก่ตวั บุคคล
Article 29 ตัวบุคคลของตัวแทนทางทูตจะถูกละเมิด
มิได้ จะไม่ถูกจับกุม หรือกักขังในรูปใด
Article 30 ที่อยูส่ ว่ นตัว เอกสาร และหนังสือโต้ตอบ
และทรัพย์สินของตัวแทนทางทูตจะละเมิดมิได้
ความคุม้ กันทางกฎหมายของตัวแทนทางทูต
Article 31 ตัวแทนทางทูตจะได้อุปโภคความคุม้ กันจาก
อำนาจศาลทางอาญา ทางแพ่ง และทางปกครองของ
รัฐผูร้ บั เว้นแต่
ก) การดำเนินคดีกรรมสิทธิ์ หรือสิทธิครอบครองเกี่ยวกับ
อสังหาริมทรัพย์สว่ นตัว
ข) การดำเนินคดีเกี่ยวกับการสืบมรดก
ค) การดำเนินคดีเกี่ยวกับกิจกรรมใดในทางอาชีพ หรือ
พาณิชย์
• ตัวแทนทางการทูตไม่จำต้องให้การในฐานะพยาน
ความคุม้ กันทางกฎหมาย
Article 33 ตัวแทนทางการทูตได้รบั การยกเว้นจาก
บทบัญญัตเิ กี่ยวกับการประกันสังคม
Article 34 ได้รบั การยกเว้นจากค่าติดพันและภาษีท้งั ปวง
ของชาติ ของท้องถิ่น หรือของเทศบาล ในส่วนบุคคล
หรือในทรัพย์สิน เว้นแต่
ก) ภาษีทางอ้อมที่รวมอยูใ่ นราคาสินค้าหรือบริการแล้ว
ข) ค่าติดพันและภาษีจากอสังหาริมทรัพย์สว่ นตัว
ค) อากรกองมรดก การสืบมรดก
ง) ค่าติดพันและภาษีจากเงินได้สว่ นตัว
จ) ค่าภาระสำหรับบริการจำเพาะ
ฉ) ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน ค่าธรรมเนียมศาล ค่าติดพันใน
การจำนอง และอากรแสตมป์ ในส่วนที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์
การยกเว้นภาษีนำเข้าและ
การตรวจตราสิ่งของ
Article 36 ได้รบั อนุญาตให้นำเข้า และยกเว้นจากอากร
ศุลกากร ภาษี และค่าภาระแก่สิ่งของ สำหรับใช้ในทางการ
ใช้สว่ นตัวของตัวแทนทางการทูต หรือคนในครอบครัว ซึ่ง
ประกอบเป็ นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางทูต
หีบห่อส่วนบุคคลของบุคคลของตัวแทนทางทูตจะได้รบั
ยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอนั ร้ายแรงที่
ทำให้สนั นิษฐานได้ว่า บรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยูใ่ นข่ายแห่งการ
ยกเว้น
เอกสิทธิ์และความคุม้ กันแก่บุคคลอื่นๆ
ในคณะผูแ้ ทน
คนในครอบครัวของตัวแทนทางทูต ซึ่งประกอบเป็ นส่วน
ของครัวเรือน ถ้าไม่ใช่คนชาติของผูร้ บั จะได้รบั อุปโภคเอก
สิทธิและความคุม้ กันตาม Article 29-36
เอกสิทธิ์และความคุม้ กันแก่บุคคลอื่นๆ
ในคณะผูแ้ ทน
2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการ และฝ่ ายวิชาการของ
คณะผูแ้ ทน รวมทั้งคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็ นส่วนของ
ครัวเรือน ได้รบั สิทธิตาม Article 29-35 แต่ความคุม้ กันจาก
อำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองไม่ขยายไปถึงการกระ
ทำนอกวิถีทางของหน้าที่ตน
ได้รบั การยกเว้นเมื่อนำเข้าสิ่งของตาม Article 36 (1)
สำหรับการเข้ารับหน้าที่ครั้งแรก
เอกสิทธิ์และความคุม้ กันแก่บุคคลอื่นๆ
ในคณะผูแ้ ทน
3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการ ได้รบั การคุม้ กันในการกระทำตาม
วิถีทางของหน้าที่ของตน ยกเว้นภาษีจากค่าจ้างและการ
ประกันสังคม
4. คนรับใช้สว่ นตัว ได้รบั การยกเว้นภาษีจากการรับจ้าง
ของตน และเอกสิทธิหรือความคุม้ กันอื่นๆ เท่าที่รฐั ผูร้ บั
ยอมให้เท่านั้น
การคุม้ กันแก่คณะกงสุล
กงสุลเป็ นตัวแทนของรัฐในกิจการด้านการบริหาร เช่น การ
ออกพาสปอร์ต วีซ่า ส่งเสริมผลประโยชน์ทางการค้า และ
ให้ความช่วยเหลือแก่คนชาติ
มีภารกิจทางการเมืองน้อย
โดยหลักการได้รบั ความคุม้ กันเช่นเดียวกันกับคณะผูแ้ ทน
ทางทูต แต่คมุ ้ กันในระดับที่นอ้ ยกว่า
อนุสญ
ั ญาเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง
กงสุล (Vienna Convention on Consular
Relations) ค.ศ. 1963
Article 11 ต้องมีสญ ั ญาบัตรตราตัง้ (commission) จากรัฐผูส้ ง่
และอนุมตั บิ ตั ร (authorization) จากรัฐผูร้ บั
Article 23 รัฐผูร้ บั อาจแจ้งแก่รฐั ผูส้ ง่ ณ เวลาใดก็ได้ว่า เจ้า
หน้าที่กงสุลเป็ นบุคคลไม่พึงปรารถนา หรือสมาชิกคนใดใน
คณะกงสุลไม่เป็ นที่ยอมรับ
ความคุม้ กันแก่คณะกงสุล
Article 31 สถานที่กงสุล จะถูกละเมิดมิได้ ทรัพย์สิน
เครื่องตกแต่ง พาหนะ จะได้รบั ความคุม้ กัน แต่อาจถูก
เรียกเกณฑ์ได้ หากจำเป็ น เพื่อการป้องกันชาติ
Article 32 ยกเว้นภาษีแก่สถานที่
Article 35 ความคุม้ กันแก่ถุงทางกงสุล และหนังสือโต้ตอบ
แต่อาจขอให้เปิ ดได้หากสงสัย
ความคุม้ กันแก่คณะกงสุล
Article 41 ความคุม้ กันจากการถูกจับกุม คุมขัง เว้นแต่ใน
กรณีที่เป็ นอาชญากรรมร้ายแรง และหลังจากที่มีการ
ตัดสินโดยองค์กรทางศาลที่มีอำนาจแล้ว
Article 43 ได้รบั ความคุม้ กันจากกฎหมายอาญาและ
กฎหมายแพ่ง เฉพาะในกิจการที่กระทำตามหน้าที่ในทาง
กงสุลเท่านั้น
ความคุม้ กันแก่คณะกงสุล
Article 44 อาจถูกเรียกไปปรากฏตัวในฐานะพยาน
Article 49 ได้รบั ยกเว้นภาษีและอากรนำเข้าเช่นเดียวกับ
ตัวแทนทางทูต
คำถาม
• ให้อธิบายคำจำกัดความและความแตกต่างของเอกสิทธิ์
(privilege) และความคุม้ กัน (immunities) ของผูแ้ ทน
ทางการทูตโดยสังเขป และให้สรุปทฤษฎีสำคัญที่สนับสนุน
มูลฐานของเอกสิทธิ์และความคุม้ กันของผูแ้ ทนทางการทูต
คำถาม
เอกสิทธิ์ (Privilege) เอกสิทธิ์ทางการทูต หมายความถึง สิทธิของผูใ้ ห้หรือเกิด
ขึ้นทางด้านผูใ้ ห้ ที่จะให้สิทธิพิเศษในรูป ผลประโยชน์หรือผลปฏิบตั อิ ย่างใด
อย่างหนึ่ง หรืออาจเป็ นการยกเว้นให้ไม่ตอ้ งปฏิบตั หิ รือไม่ตอ้ ง มีภาระอย่างใด
อย่างหนึ่ง เอกสิทธิ์จงึ เป็ นกฎหมายที่คมุ ้ ครองสิทธิของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพื่อ
ทำให้บุคคลนั้นอยูภ่ ายนอก หรือ อยูเ่ หนือกฎหมายธรรมดาทั ่วไป เช่น ไม่ตอ้ ง
เสียภาษีบางอย่าง ไม่ตอ้ งรับราชการทหาร เป็ นตัน เอกสิทธิ์ จึงเป็ นเรื่องของ
การให้ประโยชน์เป็ นการพิเศษนอกเหนือจากกฎหมายธรรมดา เอกสิทธิ์เป็ น
สิทธิของผูใ้ ห้ ผูใ้ ห้เป็ นผูใ้ ห้สิทธิ ผูร้ บั จึงจะได้เอกสิทธิ์ เอกสิทธิ์ทางการทูตจึงให้
โดยรัฐผูร้ บั
คำถาม
ความคุม้ กัน (Immunities) เป็ นการที่ไม่ตอ้ งอยูภ่ ายใต้ภาระบางประการหรือการ
ได้รบั การยกเว้นไม่ตอ้ งอยูใ่ นบังคับของกฏเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ง ปลอดพ้น
จากภัย หรือการได้รบั การยกเว้นไม่ตอ้ งปฏิบตั อิ ย่างใดอย่างหนึ่ง การคุม้ กันเป็ น
เรื่องการยกเว้นจากการบังคับของกฎเกณฑ์ ความคุม้ กันเป็ นสิทธิของผูร้ บั อยูใ่ น
ตัว ผูใ้ ห้จำเป็ นต้องให้ความคุม้ กันจะไม่ให้ไม่ได้ ความคุม้ กันออกมาในรูปของ
การยกเว้นให้ผไู ้ ด้รบั ปลอดหรือหรือหลุดพ้นจากอำนาจหรือภาระหรือภัยอย่าง
ใดอย่างหนึ่ง
คำถาม
ทฤษฎีมูลฐานทางกฎหมายของเอกสิทธิ์และความคุม้ กันทางการทูตที่สำคัญมี 3 ทฤษฎี ได้แก
1. ทฤษฎีลกั ษณะตัวแทนของผูแ้ ทนทางการทูต ทฤษฎีน้ ี ถือว่าผูแ้ ทนทางการทูตเป็ นตัวแทน
ของ พระมหากษัตริย ์ หากล่วงละเมิดทูตก็เท่ากับว่าเป็ นการก่อความเสียหายแก่เกียรติยศของ
องค์พระมหากษัตริยผ์ สู ้ ง่ ทูตไปประจำนั ่นเอง
2. ทฤษฎีสภาพนอกอาณาเขต ทฤษฎีน้ ีถือว่าสถานทูตเป็ นดินแดนของรัฐผูส้ ง่ จึงถือเสมือนว่า ผู ้
แทนทางการทูตอยูน่ อกอาณาเขตของรัฐที่ตนปฏิบตั หิ น้าที่อยู่ ด้วยเหตุน้ ี ผูแ้ ทนทางการทูตจึงไม่
จำต้องอยูภ่ ายใต้อำนาจอธิปไตยเหนือดินแดนของรัฐผูร้ บั 3. ทฤษฎีประโยชน์ในการปฏิบตั ิ
หน้าที่และการถ้อยทีถอ้ ยปฏิบตั ิ ทฤษฎีน้ ี ถือว่ามูลฐานของเอกสิทธิ์และความคุม้ กันทางการทูต
มิใช่เพื่อประโยชน์แก่ตวั ผูแ้ ทนทางการทูตเอง หากแต่เป็ นความจำเป็ นเพื่อประกันการปฏิบตั ิ
หน้าที่ของผูแ้ ทนทางการทูตให้สามารถปฏิบตั หิ น้าที่ได้โดยอิสระและมีประสิทธิภาพ
นอกจากนั้นทฤษฎีน้ ียังมีหลักถ้อยทีถอ้ ยปฏิบตั ิ ซึ่งมีหลักปฏิบตั วิ ่า หากรัฐหนึ่งรัฐใดปฏิบตั ติ อ่ รัฐ
อื่น ๆ เช่นไร ผูแ้ ทนทางการทูตของรัฐนั้นก็ยอ่ มได้รบั การปฏิบตั ติ อบในทำนองเดียวกันนั้นจาก
รัฐอื่น

You might also like