You are on page 1of 22

้ งต้นเกีย

ความรูเ้ บือ ่ วก ับ
กฎหมายทว่ ั ไป
PPS 1102
บุคคล คือ?
ิ่ ทีส
• สง ิ ธิและหน ้าทีไ่ ด ้ตามกฎหมาย เฉพาะ
่ ามารถมีสท
มนุษย์เท่านัน
้ ทีส ิ ธิและหน ้าที่
่ ามารถมีสท
• การรวมตัวของหมูค
่ น กลุม
่ คน ก็สามารถกลายเป็ นบุคคล
ิ ธิและหน ้าทีไ่ ด ้ เชน
โดยมีสท ่ สมาคม มูลนิธ ิ หรือกระทรวง
ทบวงกรม เป็ นต ้น
บุคคล แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
1. บุคคลธรรมดา
 มนุษย์ทง
ั ้ ปวงไม่วา่ จะเป็ นเด็ก ผู ้ใหญ่ ผู ้หญิง หรือผู ้ชาย และต ้องมี
ซงึ่ มีสท
ิ ธิและหน ้าทีต
่ ามกฎหมาย
2. นิตบ
ิ ค
ุ คล
่ บุคคลหรือองค์กรซงึ่ กฎหมายบัญญัตใิ ห ้เป็ นบุคคลอีกประเภท
 กลุม
่ ค
หนึง่ ทีไ่ ม่ใชบ ิ ธิและหน ้าทีต
ุ คลธรรมดา มีสท ่ ามกฎหมาย
บุคคลธรรมดา
•การเกิดสภาพบุคคล
•องค์ประกอบสภาพของบุคคล
ั ชาติ
• สญ
ื่
• ชอ
• ภูมล
ิ ำเนา
• ความสามารถ
การเกิดสภาพบุคคล
•“มาตรา 15 สภาพบุคคลย่อมเริม่
แต่เมือ
่ คลอดแล ้วอยูร่ อดเป็ นทารก
และสน ิ้ สุดลงเมือ
่ ตาย
ทารกในครรภ์มารดาก็สามารถมี
ิ ธิตา่ งๆ ได ้ หากว่าภายหลังคลอด
สท
แล ้วอยูร่ อดเป็ นทารก”
ลักษณะสำคัญของการเกิดสภาพบุคคล

1. ต้องมีการคลอด : ไม่วา่ จะโดยการคลอดตาม


ธรรมชาติหรือโดยวิธผี า่ ตัด
2. สามารถอยูร ่ อดเป็นทารก : คือจะต ้องมีการ
หายใจ และการเต ้นของหัวใจ
3. ทารกในครรภ์มารดาย ังไม่มส ี ภาพบุคคล :
ิ ธิไว ้
แต่กฎหมายมาตรา 1604 ได ้บัญญัตใิ ห ้สท
ป.พ.พ. มาตรา 1604
“บุคคลธรรมดาจะเป็ นทายาทได ้ก็ตอ ่ เมือ
่ มี
สภาพบุคคลหรือสามารถมีสท ิ ธิได ้ตามมาตรา
15 แห่งประมวลกฎหมายนีใ้ นเวลาทีเ่ จ ้ามรดก
ถึงแก่ความตาย
เพือ่ ประโยชน์แห่งมาตรานีใ้ ห ้ถือว่าเด็กที่
เกิดมารอดอยูภ ่ ายในสามร ้อยสบ ิ วัน นับแต่วน ั
ทีเ่ จ ้ามรดกถึงแก่ความตายนัน ้ เป็ นทารกใน
ครรภ์มารดาอยูใ่ นเวลาทีเ่ จ ้ามรดกถึงแก่ความ
องค์ประกอบสภาพบุคคล

•สญชาติ คือ ความผูกพันกับประเทศทีต ่ น
มีสญั ชาติอยู่ ในกรณีบค ุ คลจะได ้สญั ชาติ
ไทย
(1) ผู ้เกิดโดยมีบดิ าหรือมารดาเป็ นผู ้มี
สญั ชาติไทย
(2) ผู ้เกิดในราชอาณาจักรไทย
องค์ประกอบสภาพบุคคล (ต่อ)
ื่ : ตามพระราชบัญญัตช
• ชอ ื่ บุคคล พ.ศ.2505
ิ อ
ในมาตรา 4 ให ้ความหมายดังนี้
•“ชอ ื่ ” หมายความว่า ชอ ื่ ประจำตัวของบุคคล
•“ชอ ื่ รอง” หมายความว่า ชอ ื่ ประกอบถัดจาก
ื่ ตัว
ชอ
•“ชอ ื่ สกุล” หมายความว่า ชอ ื่ ประจำวงศส
์ กุล
ื่ , ชอ
การตัง้ ชอ ื่ รอง
ั ชาติไทยต ้องมีชอ
• กฎหมายได ้บัญญัตใิ ห ้ผู ้มีสญ ื่ ตัว
ื่ สกุลและจะมีชอ
และชอ ื่ รองหรือไม่ก็ได ้
ื่ ตัว
• ชอ ื่ รอง ต ้องไม่พ ้องหรือมุง่ หมายให ้
หรือชอ
คล ้ายกับพระปรมาภิไธย พระนามของพระราชน ิ ี
หรือราชทินนามและไม่มค ี ำหรือความหมาย
หยาบคาย และบุคคลทีม ่ คี ส ู่ มรสอาจใชช้ อ
ื่
สกุลของอีกฝ่ ายหนึง่ เป็ นชอ ื่ รองได ้
ื่ สกุล
ข ้อห ้ามในการตัง้ ชอ

(1) ต ้องไม่พ ้องหรือมุง่ หมายให ้คล ้ายกับพระ


ปรมาภิไธย หรือพระนามของพระราชนิ ี
oพระปรมาภิไธย หมายถึง พระนามของพระมหา
กษั ตริย ์
พระบาทสมเด็ จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสน ิ ทร
มหาวชริ าลงกรณ มหิศรภูมพ
ิ ลราชวรางกูร กิตส ิ ริ ิ
สมบูรณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศรราชวโรดม
บรมนาถบพิตร พระวชริ เกล ้าเจ ้าอยูห
่ วั
ื่ สกุล (ต่อ)
ข ้อห ้ามในการตัง้ ชอ
สมเด็จพระนางเจ ้าสุทด
ิ า พัชรสุธา
พิมลลักษณ พระบรมราชน ิ ี
(2) ต ้องไม่พ ้องหรือมุง่ หมายให ้คล ้ายกับพระราชทินนาม
เว ้นแต่ราชทินนามของตน ของผู ้ของผู ้บุพการหรือของผู ้
สบื สน ั ดาน
oพระราชทินนาม หมายถึง หรือชอ ื่ ทีไ่ ด ้รับ
พระราชทานซงึ่ แสดงถึงตำแหน่ง หน ้าทีข ่ องขุนนาง
ด ้วย เข่น ณ ป้ อมเพชร , ณ อยุธยา
ื่ สกุล (ต่อ)
ข ้อห ้ามในการตัง้ ชอ
(3) ต ้องไม่ซ้ำกับชอ ื่ สกุลทีไ่ ด ้รับพระราชทานจากพระ
มหากษั ตริย ์ หรือชอ ื่ สกุลทีไ่ ด ้จดทะเบียนไว ้แล ้ว
(4) ไม่มคี วามหมายหยาบคาย
(5) มีพยัญชนะไม่เกิน 10 พยัญชนะ เว ้นแต่ใช ้
ราชทินนามเป็ นชอ ื่ สกุล
นายตายนานแล้ว ลืมจำ
ไม่ได้
ื่ สกุล (ต่อ)
ข ้อห ้ามในการตัง้ ชอ
ื่ สกุล (ต่อ)
ข ้อห ้ามในการตัง้ ชอ
สงิ่ ทีเ่ ราควรระวัง
ภูมล
ิ ำเนา
คือถิน
่ ทีอ
่ ยูป
่ ระจำของบุคคล การย ้าย
หรือเปลีย่ นแปลงภูมล ิ ำเนานัน้ สามารถ
กระทำได ้ ด ้วยการแสดงเจตนาปรากฏ
ั แจ ้งว่าจะเปลีย
ชด ่ นภูมลิ ำเนา
ภูมล
ิ ำเนา
(1) ถ ้าบุคคลมีถน
ิ่ ทีอ
่ ยูห
่ ลายแห่งให ้ถือเอาแห่งใดแห่งหนึง่
เป็ น
ภูมล
ิ ำเนาของบุคคลนัน ้
(2) ถ ้าบุคคลมีภมู ล
ิ ำเนาไม่ปรากฏให ้ถือถิน่ ทีอ่ ยูป
่ ระจำเป็ น
ภูมลิ ำเนา
(3) ภูมลิ ำเนาของสามีภริยา ได ้แก่ถน
ิ่ ทีอ
่ ยูก
่ น
ิ ด ้วยกันฉั นสามี
ภริยา เว ้นแต่ได ้แสดงเจตนาให ้ปรากฏว่าแยกต่างหากจากกัน
ภูมล
ิ ำเนา
(4) ภูมล ิ ำเนาของผู ้เยาว์ ได ้แก่ภม
ู ล
ิ ำเนาของผู ้แทน
โดยชอบธรรมหรือผู ้ปกครอง ถ ้าบิดา และมารดามี
ภูมลิ ำเนาแยกต่างหากกัน ภูมล ิ ำเนาของผู ้เยาว์ได ้แก่
ภูมล ิ ำเนาของบิดาหรือมารดาซงึ่ ผู ้เยาว์อยูด ่ ้วย
(5) ภูมล ิ ำเนาของคนไร ้ความสามารถ ได ้แก่
ภูมล ิ ำเนาของผู ้อนุบาล
ภูมล
ิ ำเนา
(6) ภูมลิ ำเนาของข ้าราชการ ได ้แก่ถน
ิ่ อันเป็ น
ทีท
่ ำการตามตำแหน่งหน ้าที่
(7) ภูมลิ ำเนาของผู ้ถูกจำคุกตามคำพิพากษา
ถึงทีส
่ ดุ ของศาล ได ้แก่เรือนจำหรือทัณฑสถานทีถ ่ ก

จำคุกอยู่
จบ.

You might also like