You are on page 1of 9

เลี้ยงลูกอยางไรใหเปนมุอมิน?

[ภาษาไทย]

?‫ﻛﻴﻒ ﻧﺮﰊ أﻭﻻدﻧﺎ ﻋﲆ اﻹﻳﲈﻥ‬


[ ‫]اﻟﻠﻐﺔ اﻟﺘﺎﻳﻼﻧﺪﻳﺔ‬

ซุฟอัม อุษมาน
‫ﺻﺎﰲ ﻋﺜﲈﻥ‬

ตรวจทาน: อุษมาน อิดรีส


‫ ﻋﺜﲈﻥ إدرﻳﺲ‬:‫ﻣﺮاﺟﻌﺔ‬

สํานักงานความรวมมือเพื่อการเผยแพรและสอนอิสลาม อัร-ร็อบวะฮฺ กรุงริยาด

‫اﳌﻜﺘﺐ اﻟﺘﻌﺎوﲏ ﻟﻠﺪﻋﻮة وﺗﻮﻋﻴﺔ اﳉﺎﻟﻴﺎت ﺑﺎﻟﺮﺑﻮة ﺑﻤﺪﻳﻨﺔ اﻟﺮﻳﺎض‬

1430 – 2009
‫ﺑﺴﻢ اﷲ اﻟﺮﲪﻦ اﻟﺮﺣﻴﻢ‬

เลี้ยงลูกอยางไรใหเปนมุอมิน?

การเลี้ยงลูกใหเปนคนดีถือวาเปนความหวังของพอแมเกือบทุกคน เชื่อเหลือเกินวาไมมีพอ
แมคนใดที่อยากเห็น ลูกเปนคนชั่ว เวนแตคนจิตทรามหรือไรคุณธรรมความเปน มนุษยปกติแลว
เทานั้น หากเปนปุถุชนทั่วไปและโดยเฉพาะถาเปนมุสลิมผูศรัทธาดวยแลว ยอมตองหวังอยากเห็น
บุตรหลานเปนคนดีกันทั้งสิ้น
นิยามคําวาคนดีในมุมมองอิสลามนั้น มีเงื่อนไขแรกวา ตองมีคุณสมบัติเปน "มุอมิน" หรือผู
ศรัทธา เพราะมิเชนนั้นแลวยังมิอาจถือวาเปนคนดีได ... มีเหตุผลใดที่กลาวเชนนี้ ? คําตอบคือ เพราะ
ความศรัทธา หรือ "อีมาน" คือใบเบิกทางสิ่งดีๆ ทั้งหลายในชีวิตของมนุษย

ความสําคัญของอีมาน
อีมาน เปนปจจัยหลักในชีวิตที่มีอิทธิพลตอการสรางสิ่งดีงามแกตัวมนุษย และปกปองความ
ชั่วรายจากตัวเขา ดังที่จะไดอธิบายตอไปนี้
หนึ่ง ในดานการสรางสิ่งที่ดีใหชีวิต อัลลอฮฺไดตรัสถึงอิทธิพลของอีมานในดานนี้วา
ed c b a ` _ ~ } | { z y {
٩٧ :‫ اﻟﻨﺤﻞ‬z l k j i h g f
ความวา "ผูใดที่ปฏิบัติความดีงาม ไมวาจะเปนชายหรือหญิง โดยที่เขาเปนผู
ศรัทธา แนนอนเราจะใหเขาไดมีชีวิตที่ดี และเราจะตอบแทนผลบุญแกพวกเขา
ดวยสิ่งที่ดีที่สุดตอสิ่งที่พวกเขาไดปฏิบัติไว" (อัน-นะหลฺ : 97)

เห็นไดวาการศรัทธาหรืออีมาน คือเงื่อนไขพื้นฐาน เพราะแมจะทําความดีมากแคไหนหาก


ไมไดควบคูดวยการศรัทธาก็จะไมมีผลใดๆ ในตาชั่งของอัลลอฮฺ เชนที่พระองคตรัสถึงการงานของ
เหลาผูปฏิเสธศรัทธาวา
٢٣ :‫ اﻟﻔﺮﻗﺎﻥ‬z k j i h g f e d c b {
ความวา "และเราไดมุงไปยังการงานของพวกเขาที่พวกเขาไดทําไว และแลวเราก็
ไดทําใหมันสลายไปเชนผงที่ปลิววอน " (อัล-ฟุรกอน : 23)

คือการงานที่พวกเขาเชื่อมั่นวาเปนการงานที่ดีนั้น เชน การใหอาหารแกคนยากจนขัดสน


และการทําดีตอญาติ ฯลฯ อัลลอฮฺจะไมทรงรับมันเลย เพราะการงานเหลานั้นมิไดตั้งอยูบนมูลฐาน

1
ของการศรัทธา

สอง ในดานการปองปกมนุษยจากสิ่งชั่วชา มีหลักฐานจากหะดีษที่ระบุถึงอิทธิพลของอีมาน


ในเรื่องนี้วา
‫ﹺ‬ ‫ﹺ‬ ‫ﺣﲔ ﹶ ﹾ ﹺ‬‫ﻳﺰﲏ ﱠ ﹺ ﹺ‬
‫» ﹶﻻ ﹶ ﹾ ﹺ‬
‫ﻭﻫﻮ‬ ‫ﺣﲔ ﹶ ﹾ ﹶ ﹸ ﹶ‬
‫ﻳﴩﲠﺎ ﹶ ﹸ ﹶ‬ ‫ﻳﴩب ﹾﹶ ﹾ ﹶ‬
‫اﳋﻤﺮ ﹶ‬ ‫ ﹶ ﹶ‬,‫ﻣﺆﻣﻦ‬
‫ﻭﻻ ﹶ ﹾ ﹶ ﹸ‬ ‫ﻳﺰﲏ ﹶ ﹸ ﹶ‬
‫ﻭﻫﻮ ﹸ ﹾ ﹲ‬ ‫اﻟﺰاﲏ ﹶ‬
‫ﹺ‬
«‫ﻣﺆﻣﻦ‬ ‫ﺣﲔ ﹶ ﹾ ﹺ ﹸ‬‫ﹺ ﹸ ﹺ‬ ‫ﻭﻻ ﹶ ﹾ ﹺ ﹸ‬ ‫ﹺ‬
‫ ﹶ ﹶ‬,‫ﻣﺆﻣﻦ‬
‫ﻭﻫﻮ ﹸ ﹾ ﹲ‬
‫ﻳﴪﻕ ﹶ ﹸ ﹶ‬ ‫اﻟﺴﺎرﻕ ﹶ‬‫ﻳﴪﻕ ﱠ‬ ‫ﹸﹾ ﹲ‬
ความวา “คนที่ผิดประเวณีจะไมทําเชนนั้นในขณะที่เขาเปนผูอีมาน คนที่ดื่ม
เหลาจะไมดื่มมันในขณะที่เขาเปนผูมีอีมาน คนที่ขโมยจะไมขโมยในขณะที่เขา
เปนผูมีอีมาน” (อัล-บุคอรีย 5150, มุสลิม 86)

หมายความวา ในภาวะที่อีมานยังอยูกับเนื้อกับตัวมนุษยก็จะสามารถระงับตัวเองไมใหทํา
ผิดได การประพฤติผิดบาปนั้นเกิดขึ้นในชวงภาวะที่ไมมีอีมานนั่นเอง

ความจําเปนที่ตองเลี้ยงลูกใหเปนมุอมิน
เพราะฉะนั้นการเลี้ยงลูกใหเปนคนที่มีอีมาน จึงควรตองเปน "วาระแหงครอบครัว" ในบาน
ของมุสลิมทุกคน อัลลอฮฺไดตรัสสั่งบรรดาผูศรัทธาทุกคนวา
٦ :‫ اﻟﺘﺤﺮﻳﻢ‬z ² ± ° ¯ ® ¬ « {
ความวา "โอบรรดาผูศรัทธาเอย จงคุมครองตัวของพวกเจาและครอบครัวของ
พวกเจาใหพนจากไฟนรก..." (อัต-ตะหรีม : 6)

ความหมายของการปองกันตัวและครอบครัวใหพนจากนรกนั้น ไดรับการอธิบายจากเหลา
อุละมาอดวยความเห็นตางๆ เชน
อะลี บิ น อะบีฏ อลิบ เราะฎิยัล ลอฮฺ อั น ฮุ กล า ววา "จงสอนพวกเขา และจงขัด เกลา
มารยาทของพวกเขา" (ตัฟซีร อัต-เฏาะบะรีย 23:491)
อิบนุ อับบาส เราะฎิยัลลอฮฺ อันฮุมา กลาววา "คือใหเขากลาวสอนพวกเขาวา จงปฏิบัติ
อะมัลดวยการภักดีอัลลอฮฺ และจงปองกันการทําผิดบาปตออัลลอฮฺ จงสั่งครอบครัวของ
พวกทานดวยการกลาวรําลึกถึงอัลลอฮฺ ซึ่งพระองคจะใหพวกทานไดรอดพนจากนรก" (อัต-
เฏาะบะรีย เลมเดิม)
มุญาฮิด กลาววา "ใหสั่งเสียพวกเขาเพื่อใหยําเกรงตออัลลอฮฺ" (อัต-เฏาะบะรีย เลมเดิม
หนา 492)
เกาะตาดะฮฺ กลาววา "สั่งพวกเขาใหภักดีตออัลลอฮฺ และหามพวกเขาจากการทํา

2
มะอฺศิยะฮฺตอพระองค" (อัต-เฏาะบะรีย เลมเดิม หนา 492)
อัฎ-เฎาะหาก และ มุกอติล กลาววา "เปนหนาที่ของมุสลิมที่จักตองสอนครอบครัวของ
เขา ทั้งในหมูญาติและบาวไพรทั้งชายหญิง ในสิ่งที่อัลลอฮฺกําหนดเปนฟรฎเหนือพวกเขา
และสิ่งที่พระองคหามไมใหทํา" (ตัฟซีร อิบนุ กะษีร 8:167)

เนื้อหาการเลี้ยงลูกใหเปนมุอมิน
ถาถามวาเราจะสอนและขัดเกลา (ตามความหมายหนึ่งของอายะฮฺขางตน) บุตรหลานของ
เราในเรื่องใดบาง ?
คําตอบสําหรับประเด็นนี้ไดรับการระบุไวเปนบทเรียนตัวอยางพรอมแลวในอัลกุรอาน นั่นคือ
เรื่องราวของลุกมานุลหะกีมที่ไดสั่งสอนลูกของทานไว ตามที่อัลลอฮฺไดตรัสถึงวา
PONMLK JIHGFEDCBA{
a`_^]\[ZYXWVUTSRQ
mlk jihgfedc b
zyxwvuts rqpon
kjihgfedcba`_~}|{
y x w v u t s r q po n m l
«ª©¨§¦¥¤£¢¡~}|{z
½¼»º¹¸¶µ´³²±°¯®¬
Ï Î Í Ì Ë Ê É È Ç Æ Å Ä Ã ÂÁ À ¿ ¾
áàßÞÝÜÛÚÙØ ×ÖÕÔÓÒÑ Ð
١٩ − ١٢ :‫ ﻟﻘﲈﻥ‬zçæåä ã â
ความวา "12. และโดยแนนอน เราไดใหฮิกมะฮฺ แกลุกมานวา จงขอบพระคุณ
ตออัลลอฮฺ และผูใดขอบคุณแทจริงเขาก็ขอบคุณตัวของเขาเอง และผูใดปฏิเสธ
แทจริงอัลลอฮฺนั้นทรงร่ํารวยและทรงไดรับการสรรเสริญ 13. และจงรําลึกเมื่อลุก
มานไดกลาวแกบุตรของเขา โดยสั่งสอนเขาวา “โอลูกเอย เจาอยาไดตั้งภาคีใดๆ
ตออัลลอฮฺ เพราะแทจริงการตั้งภาคีนั้นเปนความผิดอยางมหันตโดยแนนอน
14. และเราไดสั่งการมนุษยเกี่ยวกับบิดามารดาของเขา โดยมีมารดาของเขาไดอุม
ครรภเขาออนเพลียลงครั้งแลวครั้งเลา และการหยานมของเขาในระยะเวลาสองป

3
เจาจงขอบคุณขา และบิดามารดาของเจา ยังเรานั้นคือการกลับไปสู 15. และถาเขา
ทั้งสองบังคับเจาใหตั้งภาคีตอขา โดยที่เจาไมมีความรูในเรื่องนั้น เจาอยาไดเชื่อฟง
ปฏิบัติตามเขาทั้งสอง และจงอดทนอยูกับเขาทั้งสองในโลกนี้ดวยการทําความดี
และจงปฏิบัติตามทางของผูที่กลับไปสูขา และยังเรานั้นคือทางกลับของพวกเจา
ดังนั้น ขาจะบอกแกพวกเจาในสิ่งที่พวกเจาไดกระทําไว 16.โอลูกเอย แทจริง (หาก
วาความผิดนั้น) มันจะหนักเทาเมล็ดผักสักเมล็ดหนึ่ง มันจะซอนอยูในหิน หรืออยู
ในชั้นฟาทั้งหลายหรืออยูในแผนดิน อัลลอฮฺก็จะทรงนํามันออกมาแทจริง อัลลอฮฺ
เปนผูทรงเมตตา ผูทรงรอบรูยิ่ง 17. โอลูกเอย เจาจงดํารงไวซึ่งการละหมาดและจง
ใชกันใหกระทําความดี และจงหามปรามกันใหละเวนการทําความชัว่ และจงอดทน
ตอสิ่งที่ประสบกับเจา แทจริง นั่นคือสวนหนึ่งจากกิจการทีห่ นักแนนมัน่ คง 18. และ
เจาอยาหันแกม (ใบหนา) ของเจาใหแกผูคนอยางยะโส และอยาเดินไปตาม
แผนดินอยางไรมารยาท แทจริง อัลลอฮฺ มิทรงชอบทุกผูหยิ่งจองหอง และผูคุยโวโอ
อวด 19.และเจาจงกาวเทาของเจาพอประมาณและจงลดเสียงของเจาลง แทจริง
เสียงที่นาเกลียดยิ่งคือเสียง (รอง) ของลา" (ลุกมาน 12:19)

ขอสรุปจากการสั่งสอนของลุกมานสามารถประมวลเปนฐานสําคัญในการอบรมลูกไดดังนี้
(ดูรายละเอียดเพิ่มเติม ใน ลุกมานสอนลูก : บทเรียนและแนวปฏิบัติ โดย มัสลัน มาหะมะ จาก
เว็บไซต iqraforum.com)
หนึ่ง ฐานแหงอะกีดะฮฺ
สอง ฐานแหงอิบาดะฮฺ
สาม ฐานแหงคุณธรรมจริยธรรม
จากรากฐานทั้งสามประการดังกลาวขางตน ลุกมานไดสั่งเสียแกลูกใหยึดมั่นคําสอน 10
ประการดังนี้
(1) จงอยาตั้งภาคีตออัลลอฮฺ (‫ﺗﴩﻙ ﹺﺑﺎﷲ‬
‫ﻳﺎﺑﻨﻲ ﻻ ﹸ ﹾ ﹺ ﹾ‬
‫)ﹶ ﹸ ﹶ ﱠ‬
‫اﻹﻧﺴﺎﻥ ﹺ ﹺ ﹶ ﹺ‬
(2) จงทําดีตอพอแม ‫ﻭﻭﺻﻴﻨﺎ ﹶ ﹶ ﹶ ﹾ‬
(... ‫ﺑﻮاﻟﺪﻳﻪ‬ ‫) ﹶ ﱠ ﹾﹶ‬
(3) จงเจริญรอยตามกลุมผูศรัทธาและบรรดาผูไดรับทางนํา ‫أﻧﺎب ﹺ ﹶ ﱠ‬
(‫إﱄ‬ ‫ﻣﻦ ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫ﻭاﺗﺒﻊ ﹶ ﹺ ﹾ ﹶ‬
‫ﺳﺒﻴﻞ ﹶ ﹾ‬ ‫)ﹶ ﱠﹺ ﹾ‬
(4) การซึมซับและปลูกฝงความรอบรูของอัลลอฮฺและการตรวจสอบของพระองค ‫ﺗﻚ‬ ‫ﻳﺎﺑﻨﻲ ﹺ ﹾ‬
‫إﻥ ﹶ ﹸ‬ ‫) ﹸﹶ ﱠ‬
‫اﻷرض ﹾ ﹺ‬
(‫ﻳﺄت ﹺﹶﲠﺎ اﷲ‬ ‫ﹺ‬ ‫ﻓﺘﻜﻦ ﰲ ﹾ ﹴ‬ ‫ﺣﺒﺔ ﹺﻣﹾﻦ ﹶ ﹶ ﹴ‬
‫ﻣﺜﻘﺎﻝ ﹴ‬ ‫ﹺ‬
‫اﻟﺴﻤﻮات ﹶأﻭ ﰲ ﹶ ﹾ ﹺ ﹶ‬
‫ﺻﺨﺮة ﹶأﻭ ﰲ ﱠ‬
‫ﺧﺮدﻝ ﹶ ﹶ ﹸ ﹾ ﹶ ﹶ‬ ‫ﹾ‬ ‫ﹾﹶ ﹶ ﹶ ﱠ‬
(5) จงดํารงละหมาด (‫اﻟﺼﻼة‬
‫أﻗﻢ ﱠ ﹶ‬ ‫ﺑﻨﻲ ﹶ ﹺ ﹺ‬
‫)ﹶﻳﺎ ﹸ ﹶ ﱠ‬
‫ﹺ‬
(6) จงใชกันใหกระทําความดีและจงหามปรามกันใหละเวน การทําความชั่ว ‫ﺑﺎﳌﻌﺮﻭﻑ‬ ‫ﻭأﻣﺮ ﹺ ﹶ ﹾ ﹸ‬
‫)ﹶﹾﹸﹾ‬

4
‫ﻋﻦ ﹸ ﹾ ﹶ ﹺ‬
(‫اﳌﻨﻜﺮ‬ ‫ﻭاﻧﻪ ﹶ ﹺ‬
‫ﹶ ﹾﹶ‬
(7) จงอดทนตอสิ่งที่ประสบกับเจา ‫ﻋﲆ ﹶﻣﺎ ﹶ ﹶ ﹶ ﹶ‬
(‫أﺻﺎﺑﻚ‬ ‫)ﹶ ﹾ ﹺﹾ‬
‫ﻭاﺻﱪ ﹶ ﹶ‬
‫ﹺ‬
‫اﻷرض ﹶ ﹶ ﹰ‬
(8) อยาหยิ่งยะโส โออวด และดูถูกคนอื่น (‫ﻣﺮﺣﺎ‬ ‫ﲤﺶ ﰲ‬ ‫ﺗﺼﻌﺮﺧﺪﻙ ﹺ ﱠ ﹺ‬
‫ﻟﻠﻨﺎس ﹶﻭﻻ ﹶ ﹾ ﹺ‬ ‫)ﹶﻭﻻ ﹸ ﹶ ﱢ ﹾ ﹶ ﱠ ﹶ‬
(9) จงกาวเทาพอประมาณ (‫ﻣﺸﻴﻚ‬ ‫)ﹶ ﹾ ﹺ ﹾ‬
‫ﻭاﻗﺼﺪ ﰲ ﹶ ﹾ ﹺ ﹶ‬
(10) จงลดเสียงของเจา ‫ﻣﻦ ﹶ ﹾ ﹺ ﹶ‬
(‫ﺻﻮﺗﻚ‬ ‫) ﹾ ﹸ ﹾ ﹺ‬
‫ﻭاﻏﻀﺾ ﹾ‬ ‫ﹶ‬

ปจจัยหลักที่ขาดไมได
การอบรมสั่งสอนที่กลาวมานี้ มีปจจัยหลักที่ขาดไมไดเพื่อใหบรรลุผลสําเร็จอยูสามประการ
หลักๆ คือ
หนึ่ง พอแมหรือผูปกครอง หมายถึง พอแมจะตองเปนตัวอยางของผูศรัทธาที่ดีแกลูก
ไมใชพร่ําสอนลูกแตตนเองหางไกลจากศรัทธาเหลือเกิน พอแมตองหมั่นศึกษาหาความรูในการเลี้ยง
ลูก และไมสอนลูกในทางที่ผิด เพราะในที่สุดแลว พอกับแมคือตัวแปรสําคัญที่สุดที่จะบอกไดวาลูก
จะออกมาเปนเชนใด ทานนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม กลาวถึงขอเท็จจริงนี้วา
‫ﹺﹺ‬ ‫ﳞﻮداﻧﻪ ﹶأﻭ ﹶ ﹺ ﹺ‬
‫ﹺﹺ‬ ‫ﻋﲆ ﹾ ﹺ ﹾ ﹺ‬ ‫ﻛﻞ ﹸ ﹴ‬
‫ﻳﻨﴫاﻧﻪ ﹶﹾأﻭ ﹸ ﹶ ﱢ ﹶ‬
«‫ﻳﻤﺠﺴﺎﻧﻪ‬ ‫ ﹶ ﹶ ﹶ ﹶ ﹸ‬,‫اﻟﻔﻄﺮة‬
‫ﻓﺄﺑﻮاﻩ ﹸ ﹶ ﱢ ﹶ ﹾ ﹸ ﱢ ﹶ‬ ‫ﹶ‬ ‫ﻣﻮﻟﻮد ﹸ ﹶ ﹸ‬
‫ﻳﻮﻟﺪ ﹶ ﹶ‬ ‫»ﹸﱡ ﹶﹾ‬
ความวา "เด็กทุกคนเกิดมาบนกมลสันดานอันบริสุทธิ์ แตแลวผูเปนพอแมนั่นเอง
ที่ทําใหเขาเปนยิว หรือเปนคริสต หรือเปนมะูซีย" (อัล-บุคอรีย 1270)

สอง สภาพแวดลอม หมายถึง สภาพแวดลอมในครอบครัวเปนอันดับแรก ซึ่งควรตองไม


เปนสภาพแวดลอมที่บั่นทอนอีมาน เต็มไปดวยพิษของชัยฏอน ตองระมัดระวังเรื่องสื่อตางๆ ใหจง
หนัก นอกจากนี้สภาพแวดลอมอาจจะรวมถึงคนรอบขางเชน ญาติมิตร เพื่อนฝูงของลูก ฯลฯ เหลานี้
ลวนเปนปจจัยที่อาจสงผลทั้งในทางบวกและลบแกลูกไดทั้งสิ้น
ในหะดีษกุดสียบทหนึ่ง ทานนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม กลาวถึงพระดํารัสของอัลลอฮฺวา
‫ﹺ‬ ‫ﺧﻠﻘﺖ ﹺ ﹺ‬
‫ﻋﻦ‬ ‫اﻟﺸﻴﺎﻃﲔ ﹶ ﹾ ﹶ ﹶ ﹾ ﹸ ﹾ‬
‫ﻓﺎﺟﺘﺎﻟﺘﻬﻢ ﹶ ﹾ‬ ‫ﻭإﳖﻢ ﹶ ﹶ ﹾ ﹸ ﹾ‬
‫أﺗﺘﻬﻢ ﱠ ﹶ ﹸ‬ ‫ ﹶ ﹺ ﱠ ﹸ ﹾ‬, ‫ﻛﻠﻬﻢ‬
‫ﺣﻨﻔﺎء ﹸ ﱠ ﹸ ﹾ‬ ‫» ﹶ ﹺﱢ‬
‫ﻭإﲏ ﹶ ﹶ ﹾ ﹸ ﹶ‬
‫ﻋﺒﺎدﻱ ﹸ ﹶ ﹶ ﹶ‬
‫أﻧﺰﻝ ﹺﹺﺑﻪ‬
‫ﻳﴩﻛﻮا ﹺﰊ ﹶﻣﺎ ﹶﱂ ﹾ ﹸ ﹾ ﹺ ﹾ‬
‫أﻥ ﹸ ﹾ ﹺ ﹸ‬ ‫ ﹶ ﹶ ﹶ ﹶ ﹾ ﹸ ﹾ‬,‫ﳍﻢ‬
‫ﻭأﻣﺮﲥﻢ ﹶ ﹾ‬ ‫ﻋﻠﻴﻬﻢ ﹶﻣﺎ ﹶ ﹾ ﹶ ﹾ ﹸ‬
‫أﺣﻠﻠﺖ ﹶﹸ ﹾ‬ ‫ﻭﺣﺮﻣﺖ ﹶ ﹶ ﹾ ﹺ ﹾ‬ ‫ﹺ ﹺﹺ‬
‫ ﹶ ﹶ ﱠ ﹶ ﹾ‬,‫دﻳﻨﻬﹾﻢ‬
‫ﹸ ﹾ ﹶ ﹰ‬
«‫ﺳﻠﻄﺎﻧﺎ‬
ความวา "แทจริงขา(อัลลอฮฺ)ไดสรางบาวทุกคนในสภาพบริสุทธิ์ และแทจริง พวก
เขาถู ก ชั ย ฏอนมาล อ ลวงให หั น เหจากศาสนาของพวกเขา มั น ทํ า ให สิ่ ง ที่ ข า
กําหนดวาหะลาลเปนสิ่งหะรอมแกพวกเขา และมันไดสั่งใหพวกเขาตั้งภาคีตอขา
ในสิ่งที่ขาไมไดใหหลักฐานใดๆ ลงมาเลย" (มุสลิม 5109)

5
สาม การพึ่งอัลลอฮฺ พอแมที่มีอีมานจะไมเผลอเรอและละเลยการพึ่งพาอัลลอฮฺ หลังจากที่
ไดทุมเทอุตสาหะอยางเต็มที่ในการดูแลบุตรแลว สิ่งที่ตองไมลืมคือการตะวักกัลตออัลลอฮฺ สอง
ประการขางตนเปนมูลเหตุเชิงรูปธรรมในการเลี้ยงดูลูก สวนการพึ่งพาอัลลอฮฺอาจจะรวมอยูในหมวด
ของอุตสาหะเชิงนามธรรม ซึ่งสําคัญไมแพกันและอาจจะสําคัญกวาปจจัยสองประการขางตนดวยซ้ํา
พอแมตองหมั่นขอดุอาอตออัลลอฮฺเพื่อใหบุตรหลานเปนคนดี ขอใหพระองคประทานความสําราญใจ
เกี่ยวกับบุตรหลาน เรื่องเชนนี้ไดมีระบุเปนตัวอยางมากมายในอัลกุรอาน เชน ทานนบี อิบรอฮีม อะ
ลัยฮิสลาม ที่ไดขอดุอาอวา
٤٠ :‫إﺑﺮاﻫﻴﻢ‬z¾½¼»º¹¸¶µ´³{
ความวา "โอ พระผูอภิบาลของขาพระองค ขอพระองคทรงใหขาพระองคและจาก
ลูกหลานของขาพระองคเปนผูดํารงการละหมาด โอ พระผูอภิบาลของเรา ขอ
พระองคทรงตอบรับการวิงวอนของขาพระองคดวยเทอญ" (อิบรอฮีม : 40)

นบี ซะกะรียา อะลัยฮิสลาม ก็เคยขอดุอาอวา


٣٨ :‫ آﻝ ﻋﻤﺮاﻥ‬zR Q P O NM L K J I H G{
ความวา "ขาแตพระผูอภิบาลแหงขาพระองค โปรดไดทรงประทานแกขาจาก
พระองค ซึ่ ง บุ ต รผู สื บ ทอดวงศ ต ระกู ล ที่ ดี แท จ ริ ง พระองค เ ป น ผู ท รงได ยิ น คํ า
วิงวอน" (อาล อิมรอน : 38)

เพราะฉะนั้นอยางนอยๆ พอแมทุกคนไมควรลืมอานดุอาอที่อัลลอฮฺตรัสถึงบรรดาบาวผูเปน
"อิบาดุรเราะหมาน" ของพระองค ซึ่งพวกเขาจะขอดุอาออยูเสมอวา
~}|{zyxwv u{
٧٤ :‫ اﻟﻔﺮﻗﺎﻥ‬z¡ 
ความวา "ขาแตพระผูเปนเจาของเรา ขอพระองคโปรดประทานแกเรา ซึ่งคูครอง
ของเราและลูกหลานของเรา ใหเปนที่รื่นรมยแกสายตาของเรา และทรงทําใหเรา
เปนแบบอยางแกบรรดาผูยําเกรง" (อัล-ฟุรกอน : 74)

พอแมจะตองระมัดระวังไมขอดุอาอใหลูกในเชิงเสียๆ หายๆ เชนเผลอตัวสาปแชงลูกของ


ตัวเองดวยคําพูดที่อัลลอฮฺไมทรงชอบ ทั้งนี้ เพราะดุอาอของพอแมตอลูกนั้นเปนดุอาอมุสตะญาบ
หมายถึงอัลลอฮฺจะทรงตอบรับ ทานนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม กลาววา

6
‫ﻭدﻋﻮة ﹾﹸ ﹶ ﹺ ﹺ‬
,‫اﳌﺴﺎﻓﺮ‬ ‫دﻋﻮة ﹾ ﹺ ﹺ‬
‫ ﹶ ﹾ ﹶ ﹸ ﹶ‬: ‫ﻓﻴﻬﻦ‬
‫ ﹶ ﹶ ﹾ ﹶ ﹸ‬,‫اﻟﻮاﻟﺪ‬ ‫ﻣﺴﺘﺠﺎﺑﺎت ﹶﻻ ﹶ ﱠ ﹺ‬
‫ﺷﻚ ﹺ ﱠ‬
‫ﹴ‬
‫دﻋﻮات ﹸ ﹾ ﹶ ﹶ ﹶ ﹲ‬ ‫»ﹶ ﹶ ﹸ‬
‫ﺛﻼث ﹶ ﹶ ﹶ‬
‫ﻭدﻋﻮة ﹾﹶ ﹾ ﹸ ﹺ‬
«‫اﳌﻈﻠﻮﻡ‬ ‫ﹶ ﹶﹾﹶﹸ‬
ความวา "ดุอาอสามประเภทที่จะถูกตอบรับโดยไมเปนที่สงสัยอีก นั่นคือ ดุอาอ
ของผูใหกําเนิด ดุอาอของคนเดินทาง และดุอาอของผูถูกอธรรม" (หะดีษ หะสัน :
อบู ดาวูด 1313, ดู เศาะฮีหฺ สุนัน อบี ดาวูด 1536)

สรุป
ความสําเร็จในการเลี้ยงลูกใหเปนมุอมินจะเกิดขึ้นไมได หากไมมีการดูแลเอาใจใสและการ
ใหความสําคัญจากผูปกครองอยางจริงจัง ตองไมลืมวาการลงทุนกับทรัพยากรมนุษยนั้นเปนการ
ลงทุนที่คุมคากวาสิ่งใดๆ
การเลี้ยงลูกใหเปนคนดีมีศรัทธาและเปนลูกที่ศอลิหถึงแมจะเปนภาระที่หนักหนวงและเหน็ด
เหนื่อย แตก็จะสงผลตอบแทนที่คุมคาแกผูเปนบิดามารดา ไมเพียงเฉพาะในโลกนี้ แตทวาในโลกแหง
หลุมฝงศพอันเดียวดายนั่นอีกเลา ที่มนุษยทุกคนตางเฝาเรียกหาความเมตตาจากอัลลอฮฺ ณ สถานที่
ที่ไมมีใครอยูเปนเพื่อน หากมีลูกที่ศอลิหที่ชวยพร่ําวอนขอดุอาอให ยังจะมีสิ่งใดที่เราตองการมากไป
กวานั้นอีก ทานนบี ศ็อลลัลลอฮฺ อะลัยฮิ วะสัลลัม ไดกลาววา
‫ﺻﺪﻗﺔ ﹺ ﹴ‬
‫ ﹶﹾأﻭ‬,‫ﺟﺎرﻳﺔ‬ ‫ﹴ‬ ‫ﹺ‬ ‫ﻋﻤﻠﻪ ﹺﱠإﻻ ﹺﻣﻦ ﹶ ﹶ ﹶ ﹴ‬
‫ ﹺﱠإﻻ ﹾ‬:‫ﺛﻼﺛﺔ‬
‫ﻣﻦ ﹶ ﹶ ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫ﹾ‬ ‫ﻋﻨﻪ ﹶ ﹶ ﹸ ﹸ‬
‫ﻧﻘﻄﻊ ﹶ ﹾ ﹸ‬ ‫ﻣﺎت ﹾ ﹺ ﹾ ﹶ ﹸ‬
‫اﻹﻧﺴﺎﻥ ا ﹾ ﹶ ﹶ ﹶ‬ ‫»ﹺﹶ‬
‫إذا ﹶ ﹶ‬
«‫ﻳﺪﻋﻮ ﹶﹸﻟﻪ‬ ‫ﻭﻟﺪ ﹶ ﹺ ﹴ‬
‫ﺻﺎﻟﺢ ﹶ ﹾ ﹸ‬
‫ ﹶأﻭ ﹶ ﹴ‬,‫ﻳﻨﺘﻔﻊ ﹺﹺﺑﻪ‬
‫ﹾ ﹶ‬ ‫ﹺﹾ ﹴ‬
‫ﻋﻠﻢ ﹸ ﹾ ﹶ ﹶ ﹸ‬
ความวา "เมื่อมนุษยเสียชีวิตลง การงานของเขาก็ตัดขาดเวนแตสามอยางเทานั้น
คือ เศาะดะเกาะฮฺญาริยะฮฺ (การจายทานที่มีประโยชนตอเนื่อง) หรือความรูที่ให
ประโยชน หรือลูกที่ศอลิหที่ขอดุอาอใหแกเขา" (มุสลิม 3084)

ครอบครัวผูศรัทธาไมเพียงจะมีความสุขในโลกนี้เทานั้น หากแตในอาคิเราะฮฺ อัลลอฮฺจะทรง


ใหพวกเขาไดมีความสุขรวมกันอีกในสวนสวรรคอันนิรันดร
a`_~}|{zyxwvu{
٢١ :‫ اﻟﻄﻮر‬z i h g f e d cb
ความวา "และบรรดาผูศรัทธาทั้งหลาย ที่ลูกหลานของพวกเขาไดดําเนินตามพวก
เขาดวยการศรัทธา เราจะใหลูกหลานของพวกเขาอยูรวมกับพวกเขา(ในสวน
สวรรค) และเราจะไมใหการงานของพวกเขาลดหยอนลงจากพวกเขาแตอยางใด
แตละคนยอมไดรับการค้ําประกันในสิ่งที่เขาขวนขวายไว" (อัต-ฏร : 21)

7
มารวมกันสรางครอบครัวแหงอีมาน และขอใหทุกทานไดศึกษาและเอาจริงเอาจังในการเลี้ยงลูก
ใหเปนมุอมิน เพื่อความอบอุนในครอบครัวและความสําเร็จของทุกทานในวันอาคิเราะฮฺ อามีน

****

You might also like