You are on page 1of 15

บทเรียนจากสูเราะฮฺ อัต-ตะกาษุรฺ

[ ไทย – Thai – ‫] ﺗﺎﻳﻼﻧﺪي‬

ดร.อะมีน บิน อับดุลลอฮฺ อัช-ชะกอวีย

แปลโดย : อันวา สะอุ


ตรวจทานโดย : ซุฟอัม อุษมาน
ที่มา : หนังสือ อัด-ดุร็อรฺ อัล-มุนตะกอฮฺ มิน อัล-กะลีมาต อัล-
มุลกอฮฺ

2013 - 1434
‫رة اﺘﻟﺎﻜﺛﺮ‬
‫» ﺎلﻠﻐﺔ اﺘﻟﺎﻳﻼﻧﺪﻳﺔ «‬

‫د‪ .‬أﻣ� ﺑﻦ ﻋﺒﺪا� الﺸﻘﺎوي‬

‫ﺮﻤﺟﺔ‪ :‬أﻧﻮر إﺳﻤﺎﻋﻴﻞ‬


‫مﺮاﺟﻌﺔ‪ :‬ﺎﻲﻓ ﻋﺜﻤﺎن‬
‫ﻤﻟﺼﺪر‪ :‬اﺪﻟرر اﻤﻟﻨﺘﻘﺎة ﻣﻦ الﻠﻜﻤﺎت اﻤﻟﻠﻘﺎة‬

‫‪2013 - 1434‬‬
ดวยพระนามของอัลลอฮฺ ผูทรงเมตตา ปรานียิ่งเสมอ

บทเรียนจากสูเราะฮฺ อัต-ตะกาษุรฺ

มวลการสรรเสริ ญ เป น สิ ท ธิ ข องอั ล ลอฮฺ การยกย อ ง


สรรเสริญและความสันติจงประสบแดทานศาสนทูตของอัลลอฮฺ
ขาขอปฏิ ญ าณตนว าไม มี พ ระเจ าอื่ น ใดที่ ควรเคารพสั กการะ
นอกจากอัลลอฮฺพระองคเดียวเทานั้น โดยปราศจากการตั้งภาคี
ใดๆกั บ พระองค และขอปฏิ ญ าณตนว ามุ หั ม หมัด นั้น คือ บา ว
และศาสนทูตของพระองค
ในคัมภีรอัลกุรอานมีสูเราะฮฺอยูหนึ่งที่เรามักไดรับฟงอยู
บอยครั้ง คือ สูเราะฮฺ อัต-ตะกาษุรฺ ซึ่งเราควรที่จะตองพิจารณา
และใครครวญถึงความหมายของสูเราะฮฺนี้เปนอยางยิ่ง
อัลลอฮฺไดตรัสวา
َّ ّ َ َ َ َ َّ َ ۡ ُ ٰ ّ َ� ١ ‫�َ َ�ثُ ُر‬ ُ ٰ ََۡ
َ َ‫ُم‬ ٣ ‫ َ َس ۡوف � ۡعل ُمون‬٢ ‫َ ُز ۡر� ُم ٱل َمقاب ِ َر‬ ّ ‫� ُم‬ ‫﴿�لهٮ‬
ّ ٦ ‫يم‬ َ ‫ح‬ ۡ ّ
َ َ‫َُن‬ َ � ۡ ۡ َ َ َ َ ّ
‫ َ و‬٥ �ِ‫ َ ل ۡو � ۡعل ُمون عِل َم ٱ�َق‬٤ ‫َس ۡو َف � ۡعل ُمون‬
َ َ َ َ
َ‫ُم‬ ِ �‫ٱ‬ ِ
‫ّ َ ُ لُن‬ ۡ ََۡ َّ�‫�َو‬
[‫﴾ ]رة اﺘﻟﺎﻜﺛﺮ‬٨ ‫ُمَ لت ۡسٔ�َ َّ يَ ۡو َم� ِ ٍذ َع ِن �َعِي ِم‬
ّ ٧ �ِ ِ ‫َََُها �� ٱ�َق‬

3
ความวา "การสะสมทรัพยสมบัติเพื่ออวดอางไดทําใหพวกเจา
เพลิดเพลิน จนกระทั่งพวกเจาไดเขาไปเยือนหลุมฝงศพ เปลา
เลย พวกเจาจะไดรู แลวก็เปลาเลย พวกเจาจะไดรู มิใชเชนนั้น
ถาพวกเจาไดรูอยางแทจริง แลวแนนอน พวกเจาจะเห็นไฟที่ลุก
โชน แลวแนนอนพวกเจาจะไดเห็นมันดวยสายตาที่แนชัด แลว
ในวันนั้ นพวกเจ าจะถู กสอบถามเกี่ยวกั บความโปรดปราน ที่
ไดรับ (ในโลกดุนยา)" (อัต-ตะกาษุร)ฺ

َۡ
คําดํารัสของอัลลอฮฺ (ُ�‫�َ َ�ثُر‬ ُ ٰ َ
ّ ‫� ُم‬ ‫ ) �لهٮ‬ความวา “การ
สะสมทรั พ ย ส มบั ติ เ พื่ อ อว ดอ า งได ทํ า ให พ ว ก เจ า
เพลิดเพลิน ”
อิ บนุ กะษี รฺ กล าวว า “อั ล ลอฮฺ ไ ด ตรั ส ว า พวกเจานั้ น
เพลิ ดเพลิ น กั บความรั กที่ มี ตอ โลก ความสุ ข สบายและความ
เพริศแพรวของมั น โดยลืมการแสวงหาเสบียงสําหรับวันอาคิ
เราะฮฺ พวกเจาอยูในภวังคนั้นจนกระทั่งความตายไดมาหาพวก
เจา แล วในที่ สุ ดพวกเจ า ได ไ ปเยี่ ยมหลุ ม ฝ ง ศพและในที่ สุด ก็
กลายเปนชาวสุสาน” (ตัฟสีรฺ อิบนุกะษีรฺ 4/44)

4
มีรายงานจากมุ ฏ็ อรริ ฟฺ จากบิ ดาของเขา อับดุล ลอฮฺ
บิน อัช-ชิคคีรฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮฺ กลาววา
ُ ُ َ ّ ُ ُ ٰ ََۡ ُ ّ
‫ »ﻳﻘﻮل‬: ‫�َ�ث ُر﴾ ﻗﺎل‬ ‫ ﴿�لهٮ�م‬: ‫ اﻨﻟﻲﺒَّ ﺻ�َّ اﷲُ ﻋﻠﻴﻪِوﺳﻠَ َﻢ وﻫﻮ ﻳﻘﺮأ‬
‫ﺖ‬ َ ْ‫ﻚ إ َّ َﻣﺎ َأ َ�ﻠ‬
َ َ ْ َ َ َ َ ْ َ ْ َ ْ َ َ ُ
ِ ِ‫ ﻳﺎ اﺑﻦ آدم ! ِﻣﻦ ﻣﺎل‬، ‫ ﻣ ِﻲﻟ ) ﻗﺎل ( وﻫﻞ لﻚ‬. ‫ ﻣ ِﻲﻟ‬: ‫اﺑﻦ آدم‬
َ َ
‫ َو َﻣﺎ ذ لِﻚ‬: ‫ﺖ ؟ و� رواﻳﺔ‬ َ ْ‫ﺖ َﻓﺄَ ْم َﻀﻴ‬ َ ْ‫ﺖ َﻓﺄَﺑْﻠَﻴ‬
َ ‫ َأ ْو َﺗ َﺼ َّ ْﻗ‬، ‫ﺖ‬ َ ْ‫َﻓﺄَ ْ�ﻨَﻴ‬
َ ‫ َأ ْو َﻟب ْﺴ‬، ‫ﺖ‬
ِ
ّ ُ ُ َ ٌ َ َُ
(٢٩٥٨ : ‫ ﺑﺮﻗﻢ‬، ٢٢٧٣/٤ ‫ )مﺴﻠﻢ‬.‫ﺎس‬ ِ َ‫�ﻬ َﻮ ذا ِﻫﺐ َوﺗﺎرِ �ﻪ لِﻨ‬
ความว า “ฉั น ได ไ ปพบท า นนบี ศ็ อลลั ล ลอฮุ อะลั ยฮิ วะสั ล ลั ม
ُ ٰ ََۡ
ทานไดอานอายะฮฺ (‫�َ َ�ثُ ُر‬
ّ ‫� ُم‬ ‫ )�لهٮ‬ทานนบี กลาววา ลูกหลาน
อาดัมมักจะกลาววา "ทรัพยสินของฉัน ! ทรัพยสินของฉัน !"
ทานนบี กลาววา "โอลูกหลานอาดัมเอย ทรัพยสินของเจามิใช
สิ่งที่เจาไดบริโภคไปและมันก็สูญสิ้นดอกหรือ หรือสิ่งที่เจาได
สวมใสและมันก็พุพังสลายไปดอกหรือ หรือสิ่งที่เจาไดใชจายไป
และมันก็หมดไปดอกหรือ” ในบางสายรายงานทานนบีกลาววา
“ทั้งหมดที่กลาวมานั้นจะสูญสิ้น สวนทรัพยสินที่เหลือจะถูกทิ้ง
ไวสําหรับคนอื่น(ครอบครองตอไป)” (บันทึกโดยมุสลิม เลมที่ 4
หนา 2273 หมายเลขหะดีษ 2958 )

ۡ
คําดํารัสของพระองค (‫ ) �َ ّ َٰ ُز ۡر ُ� ُم ٱل َم َقاب ِ َر‬ความวา
"จนกระทั่งพวกเจาไดเขาไปเยือนหลุมฝงศพ"
5
อิบนุล ก็อยยิม กลาววา “การที่พระองคใชคําวา เยือน
หลุมฝงศพ โดยไมใชคําวา ความตาย เปนการชี้วา มนุษยทุกคน
ไมมีใครพํานักอยูในสุสานอยางนิจนิรันดร พวกเขาอยูในสุสาน
เสมือนแขกผู มาเยื อนเปน ครั้ ง คราวเท านั้น ในที่ สุดก็ตองจาก
สถานที่ แ ห ง นั้ น ไป เช น เดี ย วกั บ ชี วิ ต พวกเขาในโลกดุ น ยาก็
เปรียบเสมือนผูมาเยือนเชนกัน เนื่องจากพวกเขามิไดพํานักอยู
บนโลกอย างจีรัง แตส ถานที่ พํานั กอั นนิ รันดร คือ สวนสวรรค
หรือขุมนรก” (ตัฟสีรฺ อิบนุลก็อยยิม หนา 512)

َ ّ َ َ ّ
คําดํารัสของพระองค ( ‫ ُّمَ ََ َس ۡوف‬٣ ‫ون‬ َ ُ َۡ ۡ َ َ
‫َ سوف �علم‬
َ َ َ
‫ )� ۡعل ُمون‬ความวา "เปลาเลย พวกเจาจะไดรู แลวก็เปลาเลย
พวกเจาจะไดรู"
คือ ทําไมพวกเจาถึงเพลิดเพลินกับการสะสมความมั่ง
คั่งบนโลกจนลืมการภักดีตออัลลอฮฺเชนนี้ แลวพวกเจาจะไดรูถึง
ผลลัพ ธ ของการเพลิ ดเพลิ น กั บการสะสมความมั่ง คั่ง บนโลก
อั ล ลอฮฺ ไ ด ก ล า วซ้ํ า ประโยคนี้ ห ลายครั้ ง เพื่ อ ยื น ยั น ดั ง ที่ นั ก
อรรถาธิบายอัลกุรอานบางทานไดกลาว

6
อิบนุ อัล-ก็อยยิม กลาววา “การทวนคําวาเจาจะไดรูซ้ํา
กัน ไม ใช เ พื่ อการยื น ยั น แต การรู ใ นอายะฮฺ แ รกหมายถึง การ
มองเห็นดวยตาและตอนลงไปยังหลุมฝงศพ และการรูในอายะฮฺ
ที่ส องหมายถึ ง สภาพในหลุ ม ฝ งศพ ซึ่ ง เป นทั ศนะเดียวกัน กับ
ทั ศ นะของ อั ล -หะสั น และมุ ก อติ ล และเป น สิ่ ง ที่ ร ายงาน
โดยอะฏออจากอิบนุอับบาส” (ตัฟสีรฺ อิบนุ อัล-ก็อยยิม หนาที่
515)

ۡ ۡ َ
َ ُ َۡ ۡ َ َ ّ
คําดํารัสของพระองค (�ِِ ‫ون عِل َم ٱ�َق‬ ‫ )َ لو �علم‬ความ
วา "มิใชเชนนั้น ถาพวกเจาไดรูอยางแทจริง"
คือ หากพวกเจารูในสิ่งที่พวกเจาจะประสบกับมันในวัน
ขางหนาแนนอนพวกเจาคงไมเพลิดเพลินกับการสะสมความสุข
สบายในโลกนี้ แตพวกเจาจะหันไปประชันในการประกอบคุณ
งามความดี แตทวา พวกเจาปราศจากความยังรูที่แทจริง จึงทํา
ใหพวกเจาทําในสิ่งที่พวกเจาเห็นอยางผิวเผิน

� ۡ �
และคําดํารัสของพระองค ( ‫ ُّمَ َ َ وَ �ُ َّ َها‬٦ ‫ٱ� ِح َيم‬ ّ ‫َو‬
َ َ‫ُن‬ ََ
َۡ َ ۡ َ
�ِ
ِ ‫ )�� ٱ�ق‬ความวา “แลวแนนอน พวกเจาจะเห็นไฟที่ลุก

7
โชน แล ว แน นอนพวกเจ า จะได เ ห็ นมั นด ว ยสายตาที่แน
ชัด”
นี่คื อ ประโยคสาบานของอั ล ลอฮฺ ว า แท จ ริ ง บ า วของ
พระองคทุกคนไมวาจะเปนผูศรัทธาหรือผูปฏิเสธศรัทธาจะตอง
ไดเห็นไฟนรกดวยสายตาของพวกเขาเอง พระองคไดยืนยันวา
เรื่องนี้จะตองเกิดขึ้นแนนอนซึ่งมิอาจหลีกเลี่ยงได เมื่อนั้นพวก
เขาไดแลเห็นไฟนรกดวยสายตาจึงมั่นใจเต็มที่โดยไมคลางแคลง
ใจอีกเลย แตสําหรับผูศรัทธาอัลลอฮฺจะใหพวกเขารอดพนจาก
ไฟนรกอันรอนแรง และการที่พระองคใหผูศรัทธาไดมองเห็นไฟ
นรกก็ เ พื่ อจะให พ วกเขาสํ านึ กในพระกรุ ณ าธิ คุณ อั น ลน พน ที่
พระองคใหพวกเขารอดพนจากไฟนรกที่ลุกโชนได
ดังที่พระองคไดตรัสวา
ْ َّ َ ّ ّ َُ ُّ ٗ ۡ ّ ٗ ۡ َ َ ّ َ َٰ َ َ َ َ ُ َ ّ ۡ ُ ّ
‫ �َ �ن ِ� �َِين �َقوا‬٧ ‫ض ّيا‬
ِ ‫﴿�ن مِن�م ِ�َ وارِدها ۚ �ن � ر�ِك حتما َق‬
ٗ َ َ ّ ُ ََّ
[٧٢-٧١ ‫﴾ ]مﺮ�ﻢ‬٧ ‫جث ِّيا‬ ِ ‫َنذر ل�َٰل ِ ِم� �ِيها‬
ความวา "และไมมีผูใดในหมูพวกเจา นอกจากจะเปนผูผานเขา
ไปในมัน มันเปนสิ่งที่กําหนดไวแนนอนแลวสําหรับพระเจาของ
เจา แลวเราจะใหบรรดาผูยําเกรงรอดพน แลวเราจะปลอยให
บรรดาผูอธรรมคุกเขาอยูในนั้น" (มัรยัม : 71-72)

8
‫َ لُن‬
และคําดํารัสของพระองค (‫) ُّمَ لتُ ٔ�َس َّ يَ ۡو َم� ِ ٍذ َع ِن �َّعِي ِم‬
ความวา “แลวในวันนั้นพวกเจาจะถูกสอบถามเกี่ยวกับ
ความโปรดปรานที่ไดรับ (ในโลกดุนยา)"
หมายถึ ง อั ล ลอฮฺ จ ะทรงสอบถามพวกเจ าในวัน กิย า
มะฮฺ ถึ ง นิ อฺ ม ะฮฺ (ความโปรดปรานที่ อัล ลอฮฺ ประทานให ) ทุ ก
อยาง อาทิเชน ความปลอดภัย สุขภาพที่ดี การฟง การมองเห็น
ปลอดจากโรคภัยไขเจ็บ ตลอดจนถึงอาหารและเครื่องดื่มที่มวล
มนุษยบริโภค วาพวกเจาไดขอบคุณโดยการมอบสิทธิตางๆ ที่
พึง มีตออั ล ลอฮฺ โดยไม ประพฤติ ใ นสิ่ ง ที่ ฝ าฝ นหรือเนรคุณ ต อ
พระองคหรือไม หรือวาพวกเจาไดหลงระเริงในความสุขสบายที่
ได รั บ แล ว ไม สํ า นึ ก ในพระกรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระองค เมื่ อ เป น
เชนนั้นพระองคจะทรงลงโทษพวกเจาในสิ่งพวกเจาไดกระทําไว
รายงานจากอบู ฮุร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัลลอฮุอันฮฺ กลาว
วา
ْ ‫ْﻠَﺔٍ ﻓَﺈ ذَا ﻫُﻮَ ﺑِﺄَﻲ‬ ّ ّ
‫ِﺑ َﺑ� ٍﺮ‬ ِ َ‫ رَﺳُﻮلُ ا�َ َّ ا�َُّ ﻋَﻠَﻴْﻪِوَﺳَﻠَ َﻢ اتَ ﻳَﻮْمٍ أَوْ ﻴﻟ‬ ِ َ ‫َﺮَج‬
ُ ْ َ ََ ّ ‫ﻴُﻮﺗِ�ُﻤَﺎ ﻫَﺬ‬ َ َ ُ
‫ ﺠﻟُﻮع َﻳﺎ‬: ‫ﺎﻋﺔ ؟« ﻗﺎﻻ‬ َ‫هِِالﺴ‬ ُ� ْ‫ » َﺎ أَﺧْﺮَﺟَﻜ ُﻤَﺎ ﻣِﻦ‬: ‫ ﻗﺎل‬، ‫َو� َﻤ َﺮ‬
ُ ْ َ ّ ‫ﻔﻲ‬ َ َ ّ
، ‫اﺬﻟَ ي أ ﺧ َﺮ َﺟﻜ َﻤﺎ‬ ِ
ِ�‫ﺧْﺮَﺟ‬
َ ، ِ‫ وَاﺬﻟَ ِّي �َْ ِﺴ �ِ ﻴَﺪِه‬، ‫ » ّﺎ أَﻧَﺎ‬: ‫ ﻗﺎل‬، َ�‫َﺳُﻮلَ ا‬
ِ
ََُْ ّ ‫ﺑَي‬ َ‫ﻓَﺈِذَا ﻫُﻮَ ﻟَيْﺲ‬ َ ُ ُ‫ﻗ‬
‫ﻲﻓِ ْ ﺘِﻪِﻓَﻠَﻤَﺎ رأﺗﻪ‬ ، ِ‫ ﻓَﺄَﻰﺗ رَﺟُﻼ ﻣِﻦَ اﻷَﻧْﺼَﺎر‬، ُ‫َﺎمُﻮا ﻣَﻌَﻪ‬ . «‫ﻮمﻮا‬
ّ َ ّ َ ََ َْ ْ َ‫ال ْ َﻤ ْﺮأَ ُة ﻗَﺎﻟ‬
: ‫َﻬَﺎ رَﺳُﻮلُ ا�َ ّ ا�َُّ �َﻌﺎﻰﻟَ ﻋَﻠَﻴْﻪِوَﺳَﻠَ َﻢ‬
ِ ‫ �ﻘﺎل‬، ‫ َم ْﺮ َﺣﺒًﺎ َوأﻫﻼ‬: ‫ﺖ‬
9
َ َ ّ َ َ َ ْ َ َ ٌ ُ َ َْ
‫ �ﻨَﻈ َﺮ‬، ُ‫ إِذْ ﺟَﺎءَ اﻷَﻧْﺼَﺎرِي‬، ِ‫ ﻫﺐ �َﺴ ْﺘَﻌْﺬِبُ ﻨﻟَﺎ ﻣِﻦَ الْﻤَﺎء‬: ‫ﺖ‬ ‫»أ�ﻦ ﻓﻼن ؟« ﻗﺎﻟ‬
َ‫ ﻣﺎ‬، ّ َ َ ّ َْ َ َ َّ ‫ ﻋَﻠَﻴْﻪ‬ َ ّ
ِ َِ� ُ‫ ﻟَْﻤْﺪ‬: ‫ﺎﺣﺒﻴﻪِ ُﻢَ ﻗﺎل‬ ِ ‫ا�َ ّ ا�َُّ �َﻌﺎﻰﻟَ ِوَﺳَﻠَﻢ وﺻ‬ ِ ِ‫ﻰﻟَ رَﺳُﻮل‬
،‫ﺐ‬ ٌ ْ ‫ ﻓَﺎ�ْﻄَﻠَﻖَ ﻓَﺠَﺎءَﻫُﻢْ ﺑِﻌِﺬْق ٍ �ِﻴﻪِ�ُ ﺮ‬،ِّ�ِ‫ﻮْمَ أَ�ْﺮَم أَﺿْﻴَﺎﻓًﺎ ﻣ‬
ٌ ‫ﺴ َو َ� ْﻤ ٌﺮ َو ُر َﻃ‬ َ َْ‫ِﺪُاﻴﻟ‬
َ ّ ّ َ ََْ ُْ َ َ َ َ َ ْ ُُ َ َ َ
‫ َ�َ َُّ �َﻌَﺎﻰﻟ‬، َ�‫ُ رَﺳُﻮلُ ا‬ ِ َ ‫ ﻘﺎلَ ﻪﻟ‬، ‫ وأ ﺧﺬ الﻤﺪ ﻳﺔ‬، ِ‫ ﻛﻮا ِﻣﻦ ﻫﺬِه‬: ‫�ﻘﺎل‬
ْ ْ َ َ ْ َ ّ ْ
َ ُ‫ﻳَّﺎكَ وَاﺤﻟَﻠ‬ ّ
، ِ‫ َﺬَﺑَﺢَ لَﻬُﻢْ ﻓَﺄَ�َﻠُﻮا ﻣِﻦَ الﺸَﺎةِ و ِﻣﻦ ذلِﻚ اﻟﻌِﺬق‬. «‫ﻮب‬ » : ‫َﻠَﻴْﻪِوَﺳَﻠَ َﻢ‬
ْ ‫ّ َﻲ‬ َ ّ ََ
‫ ﻗَﺎلَ رَﺳُﻮلُ ا�َ ّ ا�َُّ �َﻌﺎﻰﻟَ ﻋَﻠَﻴْﻪِوَﺳَﻠَ َﻢ ِﺑ ﺑَ� ٍﺮ‬، ‫ﺒِﻌُﻮا وَرَوُوا‬
ِ َ‫ﻠﻤّﺎ أَنْ ﺷ‬
ْ َ ‫ُﺴ‬ ‫ﻔ ﻲ‬ ََ ُ َ
، ِ‫ﻴﻢ َﻳ ْﻮ َم ا ﻟ ِﻘﻴَﺎ َﻣﺔ‬ ّ َ
ِ ‫ ْﺄَﻟُﻦَّ �َﻦْ ﻫَﺬا اﻨ ﻟ َ ِﻌ‬، ِ‫ » ﺬﻟَ ِّي � َْ ِﺴ �ِ ﻴﺪِه‬: ‫و �ﻤﺮ‬
َ َ ُ َ ُ ‫َ ﺟَ�ُﻢْ ﻣِﻦْ �ُﻴُﻮﺗِ�ُﻢُ اﺠﻟُْﻮع‬
‫ُ �ﻢَّ لَﻢْ ﺗَﺮْﺟِﻌُﻮا ﺣَﻰﺘ َّ أ َﺻﺎ َﺑ� ْﻢ ﻫﺬا‬ ‫ﺮ‬
ُ ‫ﻟَﻌ‬
[٢٠٣٨ : ‫ ﺑﺮﻗﻢ‬١٦٠٩/٣ ‫ﻴﻢ« ]أﺧﺮﺟﻪ مﺴﻠﻢ‬ ِّ
ความวา มีอยูในวันหนึ่งหรือในคืนหนึ่งทานนบี ศ็อลลัลลอฮุฮะ
ลั ย ฮิ ว ะสั ล ลั ม ได เ ดิ น ออกจากบ า นของท า น แล ว ท า นได พ บ
กับอบู บักรฺ และอุมัรฺ ทานนบี ไดถามสหายของทานทั้งสองวา
“เป น เพราะเหตุ ใดที่ ทํ าให เ จ าต อ งเดิ น ออกนอกบ า นในเวลา
เชนนี้” ทั้ง สองตอบวา เพราะความหิ ว โอ ทานเราะสูล ทานบี
กลาววา “และฉันขอสาบานดวยผูซึ่งชีวิตของฉันอยูในพระหัตถ
ของพระองค แทจริงเหตุที่ทําใหฉันออกนอกบาน ก็เหมือนกับที่
ทานทั้งสองออกนอกบานเชนกัน (คือความหิว) ดังนั้นพวกทาน
ทั้งสองจงลุกขึ้น” แลวเขาทั้งสองไดลุกขึ้นเดินพรอมกับทานนบี
ไปยังบานของชายชาวอันศอรฺคนหนึ่ง แตปรากฎวาชายชาวอัน
10
ศอรฺผูนั้นไมอยูที่บาน เมื่อภรรยาเจาของบานเห็นทานนบี และ
สหายของทานมาเยือน นางจึงกล าววา ยิ นดีตอนรับ ทานนบี
เลยถามวา สามีของเธอไปไหน นางตอบวา เขาไปตักน้ํา แลว
ชายชาวอั น ศอรฺ กลั บมาถึง บ าน เมื่ อเขาเห็ น ท านเราะสูล และ
สหายของท า น เขากล า วว า มวลการสรรเสริ ญ เป น สิ ท ธิ
ของอั ล ลอฮฺ ไม มี วั น ใดที่ เ รามี แ ขกที่ มี เ กี ย รติ ม าเยื อ นเราจะ
เทียบเท าได เ ช น วั น นี้ อีกแล ว เขาจึ ง เดิ น ไปเก็ บอิ น ทผลัม ชนิ ด
ตางๆ ใหทานนบีและสหายทั้งสองรับประทาน เขากลาว พวก
ทานจงรับประทานเถิด แลวชายคนนั้นไดหยิบมีดเพื่อไปเชือด
แพะ ทานนบีกลาววา “ทานอยาไดเชือดแพะตัวที่มีน้ํานมเยอะ”
แลวเขาไดเชือดแพะหนึ่งตัวใหทานบีและสหายของทานไดรับ
ประทาน เมื่ อ พวกเขาได รั บ ประทานจนอิ่ ม แล ว ท า นนบี
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัมกลาวแก อบูบักรฺและอุมัรฺ วา “ฉัน
ขอสาบานดวยผูซึ่งชีวิตของฉันอยูในพระหัตถของพระองค ใน
วันกิยามะฮฺพวกเจาจะถูกสอบถามเกี่ยวกับความโปรดปรานที่
ไดรับ (ในโลกดุนยา) เนื่องจากพวกเจาออกจากบานดวยความ
หิวและพวกเจามิไดกลับไปยังบานของพวกเจาจนกวาพวกเจา
ไดรับความโปรดปรานเหลานี้” (มุสลิม หมายเลข 2038)
11
อิหม าม อั น-นะวะวี ย ได อธิ บายหะดี ษบทนี้ วา “การ
สอบสวนของอัลลอฮฺ ณ ที่นี้คือการถามเพื่อใหเกิดความสํานึก
ต อ พระกรุ ณ าธิ คุ ณ ที่ พ ระองค ป ระทานแก ป วงบ า ว มิ ใ ช เ ป น
คําถามเพื่อตําหนิ ประณาม หรือเพื่อชําระบัญชีแตอยางใด” (ดู
ชัรหฺ อัน-นะวะวีย เลมที่ 5 หนา 214 )
ส ว นคํ า ถามสํ า หรั บ ผู ป ฏิ เ สธศรั ท ธาแล ว ถื อ ว า เป น
คําถามเชิงตําหนิ ขูสําทับ และเพื่อชําระบัญชีความบาป
รายงานจาก อบี บัร ซะฮฺ อั ล -อั ส ละมีย เราะฎิยัล ลอฮุ
อั น ฮฺ กล า วว า แท จ ริ ง ท า นนบี ศ็ อ ลลั ล ลอฮุ อ ะลั ย ฮิ ว ะสั ล ลั ม
กลาววา
ُ َ ُ ّ ََ
ُ
،‫أﻓﻨﺎه‬ ‫ َﻋﻦ � ُﻤﺮِه ﻓﻴﻤﺎ‬: ‫أر�ﻊ‬
ٍ ‫»ﺗﺰولُ ﻗَﺪﻣﺎ ﻋﺒﺪٍ ﻳﻮمَ اﻟﻘﻴﺎﻣﺔِ ﺣﻰﺘَ �ﺴﺄل ﻋﻦ‬
َْ َ َ َ ُ َ
‫ َو� ْﻦ ﺎﻪﻟِِ ِﻣ ْﻦ أ� َﻦ‬، ِ‫ َو� ْﻦ ﻋِﻠﻤِﻪِ ﻣﺎذا َﻋ ِﻤﻞ ﻓﻴﻪ‬،‫أﺑﻼه‬ ‫و� ْﻦ َﺟ َﺴﺪِهِ ﻓﻴﻤﺎ‬
َُ ُ َْ
‫ ﺣﺪﻳﺚ‬:‫ وﻗﺎل‬٢٤١٦ ‫ ﺑﺮﻗﻢ‬٦١٢/٤ ‫اﻛت َﺴﺒَﻪ وﻓﻴﻤﺎ أﻧﻔﻘﻪ« ]ﺧﺮﺟﻪ اﻟﺮﺘﻣﺬي‬
[‫ﺣﺴﻦ ﺻﺤﻴﺢ‬
ความวา "ในวันกิยามะฮฺบาวคนหนึ่งคนใดจะไมกาวเทาของเขา
จนกว า จะถู ก สอบถามถึ ง สี่ ป ระการ คื อ จะถู ก สอบถามถึ ง
อายุขั ยของเขาว าใช เ วลาช ว งที่ มี ชี วิตหมดไปกั บสิ่ง ใด จะถู ก

12
สอบถามถึ ง ร า งกายของเขาว า สู ญ เสี ย ไปกั บ สิ่ ง ใด จะถู ก
สอบถามถึงความรูที่เขาไดรับวาเขาไปปฏิบัติเชนใด และจะถูก
สอบถามถึ ง ทรั พ ย สิ น ว า ได ม าจากแหล ง ใดและใช จ า ยไปใน
หนทางใด" (บั น ทึ ก โดยอั ต -ติ ร มิ ซี ย เล ม ที่ 4 หน า ที่ 612
หมายเลขหะดีษ 2416 ทานกลาววา เปนหะดีษ หะสัน เศาะฮีหฺ)

รายงานจากอบู ฮุ ร็อยเราะฮฺ เราะฎิยัล ลอฮุอันฮฺ จาก


ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ในหะดีษที่เกี่ยวกับการ
มองเห็นอัลลอฮฺ วา
َ ْ ‫ وَأُز‬، ‫َﻢْ أُ�ْﺮِمْﻚَ وَأُﺳَﻮِّدْك‬
، ‫َ َوِّﺟﻚ‬ ‫»ن اﷲ ﺗﻌﺎﻰﻟ ﻳﻘﻮل لﻠﻌﺒﺪ ﻳﻮم اﻟﻘﻴﺎﻣﺔ أَل‬
ُ ُ َ َ َ َ َ َ ََ َ َ ْ
، ِّ‫ أَيْ رَب‬، َ�َ : ‫ �ﻴَﻘﻮل‬: ‫ َوأذ ْر َك ﺗ ْﺮأ ُس َوﺗ ْﺮ َ� ُﻊ ؟ ﻗﺎل‬، ‫أُﺳَﺨِ ّﺮْ لَﻚَ اﺨﻟَﻴْﻞ َواﻹِﺑِﻞ‬
َ َ ََْ َ َْْ ُ ُ َ ُ ُ َ ّ َ َ‫ َﻨ‬: ‫ﻮل‬ ُ ََُ َ َ
‫ﺎك ﻛ َﻤﺎ‬ ‫ �ِّاﻴﻟﻮم أ�ﺴ‬: ‫�ﻴَﻘﻮل‬، ‫ ﻻ‬: ‫ﻧَّﻚَ مُﻼﻲﻗِ ؟ �ﻴَﻘﻮل‬ َ � َ‫ﻨْﺖ‬ ‫ �ﻴﻘ‬: ‫ﻗﺎل‬
َ
[٢٩٦٨ ‫ ﺑﺮﻗﻢ‬،٢٢٧٩/٤ ‫�ﺴِيﺘَ�ِ « ]مﺴﻠﻢ‬
ความวา “ในวันกิยามะฮฺอัลลอฮฺจะตรัสแกบาวของพระองควา
โอบาว! ฉันเคยใหเจามีเกียรติ มีอํานาจ และมีคูสมรส มิใชดอก
หรือ และฉันไดใหบรรดาสรรพสัตวอยางมาและอูฐตางยอมสยบ
แกเจามิใชหรือ และเจาสามารถบังคับพวกมันตามใจปรารถนา
มิใชดอกหรือ บาวผูนั้นตอบวา ถูกตองแลว ขาแตพระองค แลว

13
พระองคถามบาวผูนั้นอีกวา แลวเจาศรัทธาวาสักวันเจาจะตอง
มาพบกั บ ข า หรื อ ไม บ า วผู นั้ น ตอบว า ฉั น ไม ไ ด ศ รั ท ธา แล ว
พระองคตรัสวา ดังนั้น ในวันนี้ฉันจะลืมเจาดังที่เจาไดเคยลืมฉัน
(ตอนที่มีชีวิตบนโลก)” (บันทึกโดยมุสลิม เลมที่ 4 หนาที่ 2279
หมายเลขหะดีษ 2968)

รายงานจากอบู ฮุ ร็ อยเราะฮฺ เราะฎิ ยัล ลอฮุอัน ฮฺ จาก


ทานนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม กลาววา
َ َ َُ ْ َ ُ َ َُ َ َّ
‫ َلَﻢْ أُﺻِﺢ َّ لﻚ‬: ‫أَن �َﻘُﻮلُ ﻪﻟ‬ ِ‫ﺐ َﻋﻠﻴْﻪِ اﻟ َﻌﺒْ ُﺪ ﻳَ ْﻮ َم ﻟْﻘِﻴَﺎﻣَﺔ‬ ‫»َّ إِنَّ أَوَل ﻣﺎ �ﺎﺳ‬
َْ
،٧٢٠٣ ‫ ﺑﺮﻗﻢ‬١٥٤/٤ ‫ِﺴْﻤَﻚَ وَأَرْوِكَ ﻣِﻦَ الْﻤَﺎءِ اﺒﻟﺎرِ ِد« ]ﺎ�ﻢ ﻲﻓ اﻤﻟﺴﺘﺪرك‬
[٥٣٩ ‫ ﺑﺮﻗﻢ‬٧٦/٢ ‫ﺤﺤﻪ اﻷﺒﻟﺎ� ﻲﻓ الﺴﻠﺴﻠﺔ الﺼﺤﻴﺤﺔ‬
ความวา “และสิ่งแรกที่บาวจะถูกชําระบัญชีในวันกิยามะฮฺ คือ
เขาจะถูกถามวา ฉันมิไดใหเจามีรางกายแข็งแรงสุขภาพดีและ
ให เ จ า ได ดื่ ม น้ํ า เย็ น ดอกหรื อ ?” (บั น ทึ ก โดยอั ล -หากิ ม ใน
ตําราอัล-มุสตัดร็อก 4/154 หมายเลขหะดีษ 7203 อัล-อัล
บานียไ ด ระบุ วาเป น หะดี ษ เศาะหี้ หฺ ในหนั ง สื อสิล สิล ะฮฺ อัศ-
เศาะหี้หะฮฺ 2/76 หมายเลขหะดีษ 539)

14
อิบนุ อัล-ก็อยยิม กลาววา “ชางเปนสูเราะฮฺของอัลลอฮฺ
ที่ยิ่งใหญนัก ซึ่งบรรจุดวยบทเรียน ขอคิด ขอตักเตือน เปนสิ่ง
เตือนใจใหเรานึกถึงวันอาคิเราะฮฺ และมีความสมถะในการใช
ชีวิตบนโลกนี้ สูเราะฮฺนี้มีประโยคที่รวบรัดแตถอยคําถูกเรียบ
เรียงอย า งวิ จิ ต รงดงาม ดั ง นั้ นความประเสริ ฐ จะประสบแก ผู
กลาวสูเราะฮฺนี้ดวยสัจจริง และศาสนทูตของพระองคไดเผยแพร
สูเราะฮฺนี้แลว” (ตัฟสีรฺ อัล-ก็อยยิม หนาที่ 523)

،�‫اﺤﻟﻤﺪ ﷲ ب اﻟﻌﺎﻤﻟ‬

.�‫ﻠﻢ ﻰﻠﻋ ﻧبﻴﻨﺎ �ﻤﺪ وﻰﻠﻋ آﻪﻟ وﺻﺤﺒﻪ أﻤﺟﻌ‬

15

You might also like