You are on page 1of 165

พระราชบัญญัติ

ล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓


                  
 
ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
(ตามประกาศประธานสภาผู้แทนราษฎร
ลงวันที่ ๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๐)
อาทิตย์ทิพอาภา
พล.อ. พิชเยนทรโยธิน
ตราไว้ ณ วันที่ ๓๐ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๘๓
เป็ นปี ที่ ๗ ในรัชกาลปั จจุบัน
 
โดยที่สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่า สมควรปรับปรุงกฎหมายว่า
ด้วยลักษณะล้มละลายเสียใหม่เพื่อให้เหมาะสมแก่กาลสมัยยิ่งขึน

 
จึงมีพระบรมราชโองการให้ตราพระราชบัญญัติขน
ึ ้ ไว้โ ดยคำ
แนะนำและยินยอมของสภาผู้แทนราษฎร ดังต่อไปนี ้
 
มาตรา ๑  พระราชบัญญัตินใี ้ ห้เรียกว่า “พระราชบัญญัติล้ม
ละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓”
 
มาตรา ๒ ๑]  ให้ใ ช้พ ระราชบัญ ญัต ิน ีต
[
้ ัง้ แต่ว ัน ที่ ๑ มกราคม
พุทธศักราช ๒๔๘๔ เป็ นต้นไป
ให้ใช้บทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินบ
ี ้ งั คับแก่คดีล้มละลาย
ทัง้ ปวงที่ได้ย่ น
ื ต่อศาลตัง้ แต่วันใช้พระราชบัญญัตินี ้ ไม่ว่ามูลคดีได้เกิดขึน

ก่อนหรือหลังวันใช้นน
ั ้ และแก่คดีล้มละลายทัง้ ปวงที่ค้างพิจารณาอยู่ใน
ศาลหรือที่เจ้าพนักงานรักษาทรัพย์
 
มาตรา ๓  ให้ใ ช้พ ระราชบัญ ญัต ิน ใี ้ นเขตจัง หวัด พระนคร
จัง หวัด ธนบุร ี จัง หวัด สมุท รปราการ และจัง หวัด นนทบุร ี และเมื่อ เห็น
สมควรจะให้ใ ช้ใ นเขตจัง หวัด อื่น ใดเมื่อ ใด จะได้ป ระกาศโดยพระราช
กฤษฎีกา
 
มาตรา ๔  ตั ง้ แต่วันใช้พระราชบัญญัตินี ้ ให้ยกเลิกพระราช
บัญ ญัต ิล ้ม ละลาย รัต นโกสิน ทรศก ๑๓๐ พระราชบัญญัต ิล ัก ษณะล้ม
ละลายแก้ไ ขเพิ่ม เติม พุท ธศัก ราช ๒๔๗๐ พระราชบัญ ญัต ิล ัก ษณะล้ม
ละลายแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๔๗๔ และบรรดากฎหมาย กฎ และ
ข้อบังคับอื่นในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี ้ หรือซึ่งแย้งกับ
บทแห่งพระราชบัญญัตินี ้
 
มาตรา ๕  ให้ร ัฐ มนตรีว ่า การกระทรวงยุต ิธ รรมรัก ษาการ
ตามพระราชบัญ ญัต ิน ี ้ และให้มอำ
ี นาจแต่งตัง้ และถอดถอนเจ้าพนักงาน
ออกกฎกระทรวง และจัดวางระเบียบข้อบังคับทางธุรการ เพื่อปฏิบัติการให้
เป็ นไปตามพระราชบัญญัตินี ้
กฎกระทรวงนัน
้ เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้
ใช้บังคับได้
 
มาตรา ๖  ในพระราชบัญ ญัต ิน ี ้ เว้น แต่ข ้อ ความจะแสดงให้
เห็นเป็ นอย่างอื่น
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราช
บัญญัตินี ้
“เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์” หมายความตลอดถึงบุคคลที่ได้
รับมอบหมายจากเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ให้ปฏิบัติการแทน
“เจ้าพนักงานบังคับคดี” หมายความถึงเจ้าพนักงานบังคับคดี
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
“เจ้า หนีม
้ ีป ระกัน ” หมายความว่า เจ้า หนีผ
้ ู้ม ส
ี ิท ธิเ หนือ
ทรัพย์สินของลูกหนีใ้ นทางจำนอง จำนำ หรือสิทธิยึดหน่วง หรือเจ้าหนีผ
้ ู้
มีบุริมสิทธิที่บังคับได้ทำนองเดียวกับผู้รับจำนำ
“กระบวนพิจารณาคดีล ้มละลาย” หมายความว่า กระบวน
พิจารณาซึ่งบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี ้ ไม่ว่าจะกระทำต่อศาลหรือต่อ
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตงั ้ แต่เริ่มคดีจนถึงคดีสน
ิ ้ สุด
“พิพากษา” หมายความตลอดถึงการที่ศาลวินิจฉัยชีข
้ าดคดี
โดยทำเป็ นคำสั่ง
“พิทักษ์ทรัพย์” หมายความว่า พิทักษ์ทรัพย์สินไม่ว่าเด็ดขาด
หรือชั่วคราว
“มติ”  หมายความว่า มติข องเจ้า หนีฝ
้ ่ ายที่ม ีจำ นวนหนีข
้ ้า ง
มาก ซึ่งได้เข้าประชุมด้วยตนเองหรือมอบฉันทะให้ผู้อ่ น
ื เข้าประชุมแทนใน
ที่ประชุมเจ้าหนีแ
้ ละได้ออกเสียงลงคะแนนในมตินน
ั้
“มติพเิ ศษ” หมายความว่า มติของเจ้าหนีฝ
้ ่ ายข้างมากและมี
จำนวนหนีเ้ ท่า กับ สามในสี่แ ห่ง จำนวนหนีท
้ งั ้ หมดของเจ้า หนีซ
้ ึ่ง ได้เ ข้า
ประชุมด้วยตนเองหรือมอบฉันทะให้ผ ู้อ่ น
ื เข้าประชุมแทนในที่ประชุมเจ้า
หนี ้ และได้ออกเสียงลงคะแนนในมตินน
ั้
[
“บุคคลภายในของลูกหนี”
้ ๒] หมายความว่า
(๑) กรรมการ ผู้จัด การ หุ้น ส่วนผู้จัด การ หุ้น ส่วนจำพวกไม่
จำกัด ความรับ ผิด บุค คลซึ่ง รับ ผิด ชอบในการดำเนิน กิจการ หรือ ผูส
้ อบ
บัญชีของลูกหนี ้
(๒) ผู้ถ ือ หุ้น ที่ถ ือ หุ้น เกิน จำนวนร้อ ยละห้า ของจำนวนหุ้น ที่
จำหน่ายได้แล้วทัง้ หมดของกิจการของลูกหนี ้
(๓) ๓] คูส
[
่ มรสและบุตรทีย
่ งั ไม่บรรลุนต
ิ ภ
ิ าวะของลูกหนีห
้ รือของ
บุคคลตาม (๑) หรือ (๒)
(๔) ห้างหุ้นส่วนสามัญ ที่ล ูก หนีห
้ รือ บุคคลตาม (๑) หรือ (๒)
หรือ (๓) เป็ นหุ้นส่วน
(๕) ห้า งหุ้น ส่ว นจำกัด ที่ล ูก หนีห
้ รือ บุค คลตาม (๑) หรือ (๒)
หรือ (๓) เป็ นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิด หรือเป็ นหุ้นส่วนจำพวก
จำกัดความรับผิดที่มีหุ้นรวมกันเกินร้อยละสามสิบของหุ้นทัง้ หมดของห้าง
หุ้นส่วนจำกัด
(๖) บริษัทจำกัด หรือบริษัทมหาชนจำกัดที่ลูกหนีห
้ รือบุคคล
ตาม (๑) หรือ (๒) หรือ (๓) หรือห้างหุ้นส่วนตาม (๔) หรือ (๕) ถือหุ้นรวม
กันเกินร้อยละสามสิบของจำนวนหุ้นที่จำ หน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษัท
นัน

(๗) บริษัทจำกัดหรือ บริษัทมหาชนจำกัด ที่ล ูก หนีห
้ รือ บุค คล
ตาม (๑) ถึง (๖) ถือ หุ้น รวมกัน เกิน ร้อ ยละสามสิบ ของจำ นวนหุ้น ที่
จำหน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบริษัทนัน

(๘) กรรมการ ผู้จัด การ หุ้น ส่วนผู้จัด การ หุ้น ส่วนจำพวกไม่
จำกัด ความรับ ผิด บุค คลซึ่ง รับ ผิด ชอบในการดำเนิน กิจการ หรือ ผูส
้ อบ
บัญชีของห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด หรือบริษัท
มหาชนจำกัด ตาม (๔) หรือ (๕) หรือ (๖) หรือ (๗) แล้วแต่กรณี หรือคู่
สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกล่าว
[
“บุคคลล้มละลายทุจริต ” ๔] หมายความว่า บุคคลล้มละลาย
ที่ถูกศาลพิพากษาว่า มีความผิดตามมาตรา ๑๖๓ ถึงมาตรา ๑๗๐ แห่ง
พระราชบัญ ญัต ิน ี ้ หรือ เป็ นบุค คลล้ม ละลายอัน เนื่ อ งมาจากหรือเกี่ยว
เนื่องกับการกระทำความผิดฐานยักยอกหรือฉ้อโกงตามประมวลกฎหมาย
อาญา หรือการกระทำความผิดอันมีลัก ษณะเป็ นการกู้ยืมเงิน ที่เ ป็ นการ
ฉ้อ โกงประชาชนตามกฎหมายว่า ด้ว ยการกู้ย ืม เงิน ที่เ ป็ นการฉ้อ โกง
ประชาชน
 
หมวด ๑
กระบวนพิจารณาตัง้ แต่ขอให้ล้มละลายจนถึงปลดจากล้มละลาย
                  
 
ส่วนที่ ๑
การขอให้ล้มละลายและการสั่งพิทักษ์ทรัพย์
                  
 
มาตรา ๗  ลูกหนีท
้ ี่มีหนีส
้ ินล้นพ้นตัวอาจถูกศาลพิพากษาให้
ล้ม ละลายได้ ถ้า ลูก หนีน
้ น
ั ้ มีภ ูม ิลำ เนาในราชอาณาจัก ร หรือ ประกอบ
ธุรกิจในราชอาณาจักรไม่ว่าด้วยตนเองหรือโดยตัวแทนในขณะที่มีการขอ
ให้ลูกหนีล
้ ้มละลาย หรือภายในกำหนดเวลาหนึ่งปี ก่อนนัน

 
มาตรา ๘  ถ้า มีเ หตุอ ย่า งหนึ่ง อย่า งใดดัง ต่อ ไปนีเ้ กิด ขึน
้ ให้
สันนิษฐานไว้ก่อนว่า ลูกหนีม
้ ีหนีส
้ ินล้นพ้นตัว
(๑) ถ้าลูกหนีโ้ อนทรัพย์สินหรือสิทธิจัดการทรัพย์สินของตนให้
แก่บุคคลอื่นเพื่อประโยชน์แห่งเจ้าหนีท
้ งั ้ หลายของตน ไม่ว่าได้กระทำการ
นัน
้ ในหรือนอกราชอาณาจักร
(๒) ถ้า ลูก หนีโ้ อนหรือ ส่ง มอบทรัพ ย์ส ิน ของตนไปโดยการ
แสดงเจตนาลวง หรือโดยการฉ้อ ฉล ไม่ว่า ได้กระทำการนัน
้ ในหรือนอก
ราชอาณาจักร
(๓) ถ้าลูกหนีโ้ อนทรัพ ย์ส ิน ของตนหรือ ก่อ ให้เ กิด ทรัพ ยสิท ธิ
อย่า งหนึ่งอย่างใดขึน
้ เหนือทรัพ ย์ส ิน นัน
้ ซึง่ ถ้า ลูก หนีล
้ ้มละลายแล้ว จะ
ต้อ งถือ ว่า เป็ นการให้เ ปรีย บ ไม่ว ่า ได้ก ระทำ การนัน
้ ในหรือ นอกราช
อาณาจักร
(๔) ถ้า ลูก หนีก
้ ระทำการอย่า งหนึ่ง อย่า งใดดัง ต่อ ไปนี ้ เพื่อ
ประวิงการชำระหนีห
้ รือมิให้เจ้าหนีไ้ ด้รับชำระหนี ้
ก. ออกไปเสียนอกราชอาณาจักร หรือได้ออกไปก่อนแล้ว
และคงอยู่นอกราชอาณาจักร
ข. ไปเสีย จากเคหสถานที่เ คยอยู่ หรือ ซ ่อ นตัว อยู่ใ น
เคหสถาน หรือหลบไป โดยวิธีอ่ น
ื หรือปิ ดสถานที่ประกอบธุรกิจ
ค. ยักย้ายทรัพย์ไปให้พ้นอำนาจศาล
ง. ยอมตนให้ต้องคำพิพากษาซึ่งบังคับให้ชำระเงินซึง่ ตนไม่
ควรต้องชำระ
(๕) ถ้า ลูก หนีถ
้ ูก ยึด ทรัพ ย์ต ามหมายบัง คับ คดี หรือ ไม ่ม ี
ทรัพย์สินอย่างหนึ่งอย่างใดที่จะพึงยึดมาชำระหนีไ้ ด้
(๖) ถ้าลูกหนีแ
้ ถลงต่อศาลในคดีใด ๆ ว่าไม่สามารถชำระหนี ้
ได้
(๗) ถ้าลูก หนีแ
้ จ้ง ให้เ จ้า หนีค
้ นหนึง่ คนใดของตนทราบว่า ไม่
สามารถชำระหนีไ้ ด้
(๘) ถ้าลูกหนีเ้ สนอคำขอประนอมหนีใ้ ห้แ ก่เ จ้า หนีต
้ งั ้ แต่ส อง
คนขึน
้ ไป
(๙) ถ้า ลูก หนีไ้ ด้ร ับ หนัง สือ ทวงถามจากเจ้า หนีใ้ ห้ ชำ ระหนี ้
แล้วไม่น้อยกว่าสองครัง้ ซึง่ มีระยะเวลาห่างกันไม่น้อยกว่าสามสิบวัน และ
ลูกหนีไ้ ม่ชำระหนี ้
 
มาตรา ๙ ๕]  เจ้าหนีจ
[
้ ะฟ้ องลูกหนีใ้ ห้ล้มละลายได้ก็ต่อเมื่อ
(๑) ลูกหนีม
้ ห
ี นีส
้ ินล้นพ้นตัว
(๒) ๖] ลูกหนีซ
[
้ ึ่งเป็ นบุคคลธรรมดาเป็ นหนีเ้ จ้าหนีผ
้ ู้เป็ นโจทก์คน
เดียวหรือหลายคนเป็ นจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งล้านบาท หรือลูกหนีซ
้ ึ่งเป็ น
นิติบค
ุ คลเป็ นหนีเ้ จ้าหนีผ
้ ู้เป็ นโจทก์คนเดียวหรือหลายคนเป็ นจำนวนไม่
น้อยกว่าสองล้านบาท และ
(๓) หนีน
้ น
ั ้ อาจกำหนดจำนวนได้โดยแน่นอนไม่ว่าหนีน
้ น
ั ้ จะถึง
กำหนดชำระโดยพลันหรือในอนาคตก็ตาม
 
มาตรา ๑๐ ๗]  ภายใต้บ ัง คับ มาตรา ๙ เจ้า หนีม
[
้ ีป ระกัน จะ
ฟ้ องลูกหนีใ้ ห้ล้มละลายได้ก็ต่อเมื่อ
(๑) มิได้เป็ นผู้ต้องห้ามมิให้บังคับการชำระหนีเ้ อาแก่ทรัพย์สิน
ของลูกหนีเ้ กินกว่าตัวทรัพย์ที่เป็ นหลักประกัน และ
(๒) ๘] กล่า วในฟ้ องว่า ถ้า ลูก หนีล
[
้ ้ม ละลายแล้ว จะยอมสละ
หลักประกันเพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนีท
้ งั ้ หลาย หรือตีราคาหลักประกันมา
ในฟ้ องซึง่ เมื่อหักกับจำนวนหนีข
้ องตนแล้ว เงินยังขาดอยู่สำหรับลูกหนีซ
้ ึ่ง
เป็ นบุคคลธรรมดาเป็ นจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งล้านบาท หรือลูกหนีซ
้ ึ่งเป็ น
นิติบุคคลเป็ นจำนวนไม่น้อยกว่าสองล้านบาท
 
มาตรา ๑๑ ๙]  เจ้า หนีผ
[
้ ู้เ ป็ นโจทก์ต ้อ งวางเงิน ประกัน ค่า ใช้
จ่า ยต่อ ศาลเป็ นจำนวนห้าพันบาทในขณะยื่น คำฟ้ องคดีล้มละลาย และ
จะถอนคำฟ้ องนัน
้ ไม่ได้ เว้นแต่ศาลจะอนุญาต
ศาลมีอำ นาจเรียกให้เ จ้า หนีผ
้ ู้เ ป็ นโจทก์วางเงิน ประกัน ค่า ใช้
จ่ายเพิ่มเติมได้ตามที่เห็นสมควร
 
มาตรา ๑๒  ถ้า มีคำ ฟ้ องหลายรายให้ล ูก หนีค
้ นเดีย วกัน ล้ม
ละลายก็ดี หรือให้ลูกหนีร้ ่วมกันแต่ละคนล้มละลายก็ดี ศาลมีอำนาจสั่งให้
รวมการพิจารณาได้
 
มาตรา ๑๓  เมื่อ ศาลสั่ง รับ ฟ้ องคดีล ้ม ละลายไว้แ ล้ว ให้
กำหนดวันนั่งพิจารณาเป็ นการด่วน และให้ออกหมายเรียกและส่งสำเนา
คำฟ้ องไปยังลูกหนีใ้ ห้ทราบก่อนวันนัง่ พิจารณาไม่นอ
้ ยกว่า ๗ วัน
 
มาตรา ๑๔  ในการพิจารณาคดีล้มละลายตามคำฟ้ องของเจ้า
หนีน
้ น
ั ้ ศาลต้องพิจารณาเอาความจริงตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๙ หรือ
มาตรา ๑๐ ถ้าศาลพิจารณาได้ความจริง ให้ ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของ
ลูกหนีเ้ ด็ดขาด แต่ถ้าไม่ได้ความจริงหรือลูกหนีนำ
้ สืบได้ว่าอาจชำระหนีไ้ ด้
ทัง้ หมดหรือมีเหตุอ่ น
ื ที่ไม่ควรให้ลูกหนีล
้ ้มละลาย ให้ศาลยกฟ้ อง
 
มาตรา ๑๕  ตราบใดที่ลูกหนีย
้ ังมิได้ถูกพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด
เจ้า หนีค
้ นหนึ่ง คนใดจะฟ้ องลูกหนีน
้ น
ั ้ เป็ นคดีล ้มละลายอีก ก็ไ ด้ แต่เ มื่อ
ศาลได้ส ั่ง ในคดีห นึ่ง คดีใ ดให้พ ิท ัก ษ์ท รัพ ย์ข องลูก หนีเ้ ด็ด ขาดแล้ว ให้
จำหน่ายคดีล้มละลายซึ่งเจ้าหนีอ
้ ่น
ื ฟ้ องลูกหนีค
้ นเดียวกันนัน

 
มาตรา ๑๖  เมื่อศาลได้รับคำฟ้ องคดีล้มละลายแล้ว ถ้าเจ้าหนี ้
ผู้เป็ นโจทก์มีคำ ขอฝ่ ายเดียวโดยทำเป็ นคำร้อง และโจทก์นำ สืบได้ว่าลูก
หนีไ้ ด้กระทำการอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี ้
ก. ออกไปหรือ กำลัง จะออกไปนอกเขตอำนาจศาล หรือ ได้
ออกไปก่อนแล้วและคงอยู่นอกเขตอำนาจศาลโดยเจตนาที่จะป้ องกันหรือ
ประวิงมิให้เจ้าหนีไ้ ด้รับการชำระหนี ้
ข. ปกปิ ด ซุกซ่อน โอน ขาย จำหน่าย หรือยักย้ายทรัพย์สิน
ดวงตรา สมุดบัญชี หรือเอกสาร ซึ่งจะเป็ นประโยชน์แก่เจ้าหนีท
้ งั ้ หลายใน
การดำเนิน คดีล ้ม ละลายให้พ ้น อำนาจศาล หรือ กำลัง จะกระทำการดัง
กล่าวนัน

ค. กระทำหรือกำลังจะกระทำการฉ้อโกงเจ้าหนี ้ หรือกระทำ
หรือ กำลัง จะกระทำความผิด อย่า งหนึ่ง อย่า งใด ซึ่ง มีโ ทษตามพระราช
บัญญัตินี ้
ศาลมีอำนาจสั่งอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี ้
(๑) ให้เ จ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์เ ข้า ไปในเคหสถานหรือ
ที่ทำการของลูกหนีร้ ะหว่างเวลาพระอาทิตย์ขน
ึ ้ จนถึงพระอาทิตย์ตกเพื่อ
ตรวจสอบทรัพย์สิน ดวงตรา สมุดบัญชีหรือเอกสารของลูกหนี ้ และให้มี
อำนาจสอบสวนลูกหนีห
้ รือออกหมายเรียกลูกหนีม
้ าสอบสวนได้
(๒) ให้ลูกหนีใ้ ห้ประกันจนพอใจศาลว่า ลูกหนีจ
้ ะไม่หลบหนี
ไปนอกอำนาจศาล และจะมาศาลทุกคราวที่ศาลสั่ง ถ้าลูกหนีไ้ ม่สามารถ
ให้ประกัน ศาลมีอำ นาจสั่งขังลูกหนีไ้ ด้มีกำ หนดไม่เกินครัง้ ละหนึ่งเดือน
แต่เมื่อรวมกันแล้วต้องไม่เกินหกเดือน
(๓) ออกหมายจับลูกหนีม
้ าขังไว้จนกว่าศาลจะพิพากษาให้ลูก
หนีล
้ ้มละลาย หรือจนกว่าศาลจะยกฟ้ องหรือจนกว่าลูกหนีจ
้ ะให้ประกัน
จนพอใจศาล
 
มาตรา ๑๗  ก่อนศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนีเ้ ด็ดขาด
เจ้า หนีผ
้ ู้เ ป็ นโจทก์จ ะยื่น คำขอฝ่ ายเดีย วโดยทำเป็ นคำร้อ งขอให้พ ิท ัก ษ์
ทรัพ ย์ข องลูก หนีช
้ ั่วคราวก็ไ ด้ เมื่อ ศาลได้รับ คำร้อ งนีแ
้ ล้ว ให้ดำ เนิน การ
ไต่สวนต่อไปโดยทันที ถ้าศาลเห็นว่าคดีมีมูล ก็ให้สงั่ พิทักษ์ทรัพย์ของลูก
หนีช
้ ั่วคราว แต่ก่อนจะสั่งดังว่านี ้ จะให้เจ้าหนีผ
้ ู้เป็ นโจทก์ให้ประกันค่าเสีย
หายของลูกหนีต
้ ามจำนวนที่เห็นสมควรก็ได้
 
มาตรา ๑๘  ถ้าคำสั่งตามมาตรา ๑๖ หรือมาตรา ๑๗ นัน
้ มี
เหตุอันสมควรจะเปลี่ยนแปลงแก้ไข โดยศาลเห็น เองก็ด ีหรือลูกหนีไ้ ด้มี
คำขอขึน
้ มาก็ดี ศาลมีอำนาจถอนคำสั่งนัน
้ หรือมีคำสั่งอย่างอื่นตามที่เห็น
สมควรได้
 
มาตรา ๑๙  คำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ให้ถือเสมือนว่า เป็ นหมายของ
ศาลให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เข้ายึดดวงตรา สมุดบัญชี และเอกสาร
ของลูกหนี ้ และบรรดาทรัพย์สินซึ่งอยู่ในความครอบครองของลูกหนี ้ หรือ
ของผู้อ่ น
ื อันอาจแบ่งได้ในคดีล้มละลาย
ในการยึดทรัพย์นน
ั ้ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำ นาจเข้าไป
ในสถานที่ใด ๆ อันเป็ นของลูกหนี ้ หรือที่ลูกหนีไ้ ด้ครอบครองอยู่ และมี
อำนาจหักพังเพื่อเข้าไปในสถานที่นน
ั ้ ๆ รวมทัง้ เปิ ดตู้นิรภัย ตูห
้ รือที่เก็บ
ของอื่น ๆ ตามที่จำเป็ น
ทรัพย์สินต่าง ๆ ที่ยึดไว้ตามมาตรานี ้ ห้ามมิให้ขายจนกว่าศาล
จะได้มีคำ พิพ ากษาให้ล ูกหนีล
้ ้มละลาย เว้น แต่เ ป็ นของเสียง่า ย หรือ ถ้า
หน่วงช้าไว้จะเป็ นการเสี่ยงความเสียหายหรือค่าใช้จ่ายจะเกินส่วนแห่งค่า
ของทรัพย์สินนัน

 
มาตรา ๒๐  เมื่อ ศาลเห็น เหตุอ ัน ควรเชื่อ ได้ว ่า มีท รัพ ย์ส ิน
ของลูก หนีซ
้ ุก ซ่อ นอยู่ในเรือนโรง เคหสถาน หรือสถานทีอ
่ ่น
ื อันมิใช่เป็ น
ของลูกหนี้ ศาลมีอำนาจออกหมายค้นให้แก่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หรือ
เจ้าพนักงานอื่นของศาล ให้มีอำนาจดำเนินการตามข้อความในหมายนัน

 
มาตรา ๒๑ ๑๐]  ถ้า เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ม ีคำ ขอ ศาลมี
[

อำนาจสั่งให้หน่วยงานหรือผู้ประกอบการเกี่ยวกับไปรษณีย์โทรเลขหรือ
การสื่อ สารอื่น ใด ส่ง โทรเลข ไปรษณีย ภัณ ฑ์ จดหมาย หนัง สือ ข้อ มูล
อิเ ล็ก ทรอนิก ส์ หรือ ข้อ มูล ทางการสื่อ สารอื่น ใด ที่ม ีถ ึง ลูก หนีภ
้ ายใน
กำหนดเวลาไม่เกินหกเดือนนับแต่วันที่ลูกหนีถ
้ ูกสั่งพิทักษ์ทรัพย์ ไปยังเจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์
 
มาตรา ๒๒  เมื่อ ศาลสั่ง พิท ัก ษ์ท รัพ ย์ข องลูก หนีแ
้ ล้ว เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวมีอำนาจดังต่อไปนี ้
(๑) จัดการและจำหน่ายทรัพย์สินของลูกหนี ้ หรือกระทำการ
ทีจำ
่ เป็ นเพื่อให้กิจการของลูกหนีท
้ ค
ี่ ้างอยู่เสร็จสิน
้ ไป
(๒) เก็บรวบรวมและรับเงินหรือทรัพย์สินซึ่งจะตกได้แก่ลูกหนี ้
หรือซึ่งลูกหนีม
้ ีสิทธิจะได้รับจากผู้อ่ น

(๓) ประนีประนอมยอมความ หรือฟ้ องร้อง หรือต่อสู้คดีใด ๆ
เกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี ้
 
มาตรา ๒๓  เมื่อลูกหนีไ้ ด้รับทราบคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ลูก
หนีต
้ ้อ งส่ง มอบทรัพ ย์ส ิน ดวงตรา สมุด บัญ ชี และเอกสารอัน เกี่ย วกับ
ทรัพย์สินและกิจการของตนซึ่งอยู่ในความครอบครองให้แก่เจ้าพนักงาน
พิทักษ์ทรัพย์ทงั ้ สิน

 
มาตรา ๒๔  เมื่อศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนีแ
้ ล้ว ห้ามมิให้
ลูกหนีก
้ ระทำการใด ๆ เกี่ยวกับทรัพย์สิน หรือกิจการของตน เว้นแต่จะ
ได้ก ระทำ ตามคำ สั่ง หรือ ความเห็น ชอบของศาล เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์
ทรัพย์ ผู้จัดการทรัพย์ หรือที่ประชุมเจ้าหนี ้ ตามที่บ ัญญัติไ ว้ในพระราช
บัญญัตินี ้
 
มาตรา ๒๕  ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เข้าว่าคดีแพ่งทัง้ ปวง
อันเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี ้ ซึ่งค้างพิจารณาอยู่ในศาลในขณะที่มีคำ
สั่ง พิท ัก ษ์ท รัพ ย์ และเมื่อ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ม ี คำ ขอโดยทำเป็ น
คำร้อง ศาลมีอำ นาจงดการพิจารณาคดีแพ่งนัน
้ ไว้ หรือจะสั่งประการใด
ตามที่เห็นสมควรก็ได้
 
มาตรา ๒๖  ตราบใดที่ศาลยังมิได้สั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี ้
เด็ดขาด เจ้าหนีจ
้ ะฟ้ องคดีแพ่งอันเกี่ยวกับหนีซ
้ ึ่งอาจขอรับชำระได้ตามพ
ระราชบัญ ญัต ิน ก
ี ้ ็ไ ด้ ในกรณีเ ช่น นีใ้ ห้นำ บทบัญ ญัต ิใ นมาตราก่อ นมาใช้
บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๒๗  เมื่อศาลสัง่ พิทก
ั ษ์ทรัพ ย์ข องลูกหนีเ้ ด็ด ขาดแล้ว
เจ้าหนีจ้ ะขอรับชำระหนีไ้ ด้กแ
็ ต่โดยปฏิบัติตามวิธีการที่กล่าวไว้ในพระราช
บัญญัตินี ้ แม้จะเป็ นเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา หรือเป็ นเจ้าหนีท
้ ี่ได้ฟ้องคดี
แพ่งไว้แล้ว แต่คดียังอยู่ระหว่างพิจารณาก็ตาม
 
มาตรา ๒๘  เมื่อศาลมีคำสัง่ พิทักษ์ทรัพย์แล้ว ให้เจ้าพนักงาน
พิทักษ์ทรัพย์โฆษณาคำสั่งนัน
้ ในราชกิจจานุเบกษาและในหนังสือพิมพ์ราย
วันไม่น้อยกว่าหนึ่งฉบับ ในคำโฆษณานัน
้ ให้แสดงการขอให้ล้มละลาย วัน
ที่ศาลมีคำสั่ง ชื่อ ตำบลที่อยู่ และอาชีพของลูกหนี ้
ในคำโฆษณาคำสั่ง พิท ัก ษ์ท รัพ ย์เ ด็ด ขาดนัน
้ ให้แ จ้ง กำหนด
เวลาให้เ จ้า หนีท
้ งั ้ หลายเสนอคำขอรับ ชำระหนีต
้ ่อ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์
ทรัพย์ด้วย
 
มาตรา ๒๙  ถ้า ปรากฏภายหลัง ว่า เจ้า หนีแ
้ กล้ง ให้ศ าลใช้
อำนาจดังกล่าวไว้ในมาตรา ๑๖ หรือมาตรา ๑๗ เมื่อลูกหนีม
้ ีคำขอโดยทำ
เป็ นคำร้อง ศาลมีอำ นาจสั่งให้เจ้าหนีช
้ ดใช้ค ่าเสียหายตามจำนวนที่เห็น
สมควรให้ลูกหนี ้ ในกรณีเช่นนีห
้ ากเจ้าหนีไ้ ม่ปฏิบัติตามคำสั่งศาล ศาลมี
อำนาจบังคับเจ้าหนีน
้ น
ั ้ เสมือนหนึ่งว่าเป็ นลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
 
ส่วนที่ ๒
คำชีแ
้ จงเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สินของลูกหนี ้
                  
 
มาตรา ๓๐  เมื่อศาลได้มีคำ สั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดแล้ว ลูก
หนีต
้ ้องปฏิบัติดังต่อไปนี ้
(๑) ภายในยี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่เวลาที่ลูกหนีไ้ ด้ทราบคำสั่งนัน

ลูกหนีต
้ ้องไปสาบานตัวต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์และยื่น คำชีแ
้ จงตาม
แบบพิมพ์ว่า ได้มีหุ้นส่วนกับผู้ใดหรือไม่ ถ้ามีให้ระบุช่ อ
ื และตำบลที่อยู่ของ
ห้างหุ้นส่วนและผูเ้ ป็ นหุ้นส่วนทัง้ หมด
(๒) ภายในเวลาเจ็ดวันนับแต่วันที่ลูกหนีไ้ ด้ทราบคำสั่งนัน
้ ลูก
หนีต
้ ้องไปสาบานตัวต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ และยื่น คำชีแ
้ จงเกี่ยว
กับกิจการและทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ามแบบพิมพ์ แสดงเหตุผลที่ทำ ให้มี
หนีส
้ ินล้นพ้นตัว สินทรัพย์และหนีส
้ ิน ชื่อ ตำบลที่อยู่ และอาชีพของเจ้า
หนี ้ ทรัพย์สินที่ได้ให้เป็ นประกันแก่เจ้าหนีแ
้ ละวันที่ได้ให้ทรัพย์สินนัน
้ ๆ
เป็ นประกัน รายละเอีย ดแห่ง ทรัพ ย์ส ิน อัน จะตกได้แ ก่ต นในภายหน้า
ทรัพ ย์ส ิน ของคูส
่ มรส ตลอดจนทรัพ ย์ส ิน ของบุค คลอื่น ซึ่ง อยู่ใ นความ
ยึดถือของตน
ระยะเวลาตามมาตรานี ้ เมื่อ มีเ หตุผ ลพิเ ศษ เจ้า พนัก งาน
พิทักษ์ทรัพย์อาจขยายให้ได้ตามสมควร
ถ้าลูกหนีไ้ ม่อยู่หรือไม่สามารถทำคำชีแ
้ จงตามมาตรานีไ้ ด้ ให้
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็ นผู้ทำแทน หรือช่วยลูกหนีใ้ นการทำคำชีแ
้ จง
แล้วแต่ก รณี และเพื่อการนีใ้ ห้มีอำ นาจจ้า งบุค คลอื่น เข้า ช่วยตามที่เ ห็น
จำเป็ น โดยคิดหักค่าใช้จ่ายจากกองทรัพย์สินของลูกหนี ้
 
ส่วนที่ ๓
การประชุมเจ้าหนี ้
                  
 
มาตรา ๓๑  เมื่อ ศาลได้ม ีคำ สั่ง พิท ัก ษ์ท รัพ ย์ล ูก หนีเ้ ด็ด ขาด
แล้ว ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เรียกประชุมเจ้าหนีท
้ งั ้ หลายโดยเร็วที่สุด
เพื่อปรึกษาว่าจะควรยอมรับคำขอประนอมหนีข
้ องลูกหนี ้ หรือควรขอให้
ศาลพิพากษาให้ลูกหนีล
้ ้มละลาย และปรึกษาถึงวิธีที่จะจัดการทรัพย์สิน
ของลูกหนีต
้ ่อไป การประชุมนีใ้ ห้เรียกว่าการประชุมเจ้าหนีค
้ รัง้ แรก
เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ต ้อ งโฆษณากำหนดวัน เวลา และ
สถานที่ที่จะประชุมเจ้าหนีค
้ รัง้ แรกในหนังสือพิมพ์รายวันไม่น้อยกว่าหนึ่ง
ฉบับล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน และต้องแจ้งไปยังเจ้าหนีท
้ งั ้ หลายเท่าที่
ทราบด้วย
 
มาตรา ๓๒  การประชุม เจ้า หนีค
้ รัง้ อื่น นัน
้ ให้เ จ้า พนัก งาน
พิทักษ์ทรัพย์เรียกตามเวลาที่เ ห็น สมควร หรือตามที่ก ฎหมายบัญ ญัต ิไ ว้
หรือตามที่ศาลสั่ง หรือเมื่อเจ้าหนีซ
้ งึ่ มีจำ นวนหนีร้ วมกันไม่น้อยกว่าหนึ่ง
ในสี่ของจำนวนหนีท
้ ี่ได้มีก ารยื่น คำขอรับ ชำระหนีไ้ ว้ไ ด้ทำ หนัง สือ ขอให้
เรียกประชุม
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ต้องแจ้งกำหนดวันเวลา และสถานที่
กับหัวข้อประชุมไปยังเจ้าหนีท
้ ี่ได้ย่ น
ื คำขอรับชำระหนีไ้ ว้ ล่วงหน้าไม่น้อย
กว่า สามวัน และในกรณีที่ยัง ไม่พ้น กำหนดเวลาที่เ จ้า หนีจ
้ ะยื่น คำขอรับ
ชำระหนีไ้ ด้นน
ั ้ ให้แจ้งไปยังเจ้าหนีท
้ ี่ยังไม่ได้ย่ น
ื คำขอรับชำระหนี ้ แต่มีช่ อ

ในบัญชีซึ่งลูกหนีไ้ ด้ทำยื่นไว้ หรือปรากฏตามหลักฐานอื่นด้วย
 
มาตรา ๓๓  ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็ นประธานในการ
ประชุม เจ้า หนีท
้ ุก คราว และให้ม ีร ายงานการประชุม ลงลายมือ ชื่อ เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์เก็บไว้เป็ นหลักฐาน
 
มาตรา ๓๔  เจ้าหนีท
้ ี่มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมเจ้าหนีต
้ ้อง
เป็ นเจ้า หนีซ
้ ึ่ง อาจขอรับ ชำระหนีไ้ ด้ และได้ย่ น
ื คำขอรับ ชำระหนีไ้ ว้แ ล้ว
ก่อนวันประชุมนัน

เจ้าหนีจ
้ ะออกเสียงด้วยตนเอง หรือมอบฉันทะเป็ นหนังสือให้
ผู้อ่ น
ื ออกเสียงแทนก็ได้
ข้อปรึกษาใดที่ทำ ให้เจ้าหนีห
้ รือผู้แทนหรือผู้มีหุ้นส่วนกับเจ้า
หนีห
้ รือผู้แทนได้รับผลประโยชน์จากทรัพย์สินของลูกหนีโ้ ดยตรงหรือโดย
อ้อม นอกจากที่ควรได้รับตามส่วนในฐานะเป็ นเจ้าหนีเ้ ช่นเดียวกับเจ้าหนี ้
อื่นนัน
้ เจ้าหนีห
้ รือผู้แทนจะออกเสียงลงคะแนนไม่ได้
 
[๑๑]
มาตรา ๓๕   ในการนับ คะแนนเสีย งในการประชุมเจ้า หนี ้
คราวหนึง่ ๆ ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ถามเจ้าหนีท
้ ี่มาประชุมนัน
้ ว่า ผู้
ใดจะคัดค้านการออกเสียงของเจ้าหนีท
้ ี่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ยังไม่ได้มี
คำสัง่ อนุญาตให้ได้รับ ชำระหนีร้ ายใดบ้างหรือไม่ ถ้าไม่มีผู้ใดคัดค้านก็ให้
นับคะแนนเสียงสำหรับเจ้าหนีร้ ายนัน

ถ้ามีผู้คัดค้านคำขอรับชำระหนีร้ ายใด ก็ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์
ทรัพย์สั่งให้ออกเสียงในจำนวนหนีไ้ ด้เท่าใดหรือไม่ ถ้าเจ้าพนักงานพิทก
ั ษ์
ทรัพย์เห็นว่ายังสัง่ ในขณะนัน
้ ไม่ได้ ก็ให้หมายเหตุการขัดข้องไว้แล้วให้เจ้า
หนีอ
้ อกเสียงไปพลางก่อน โดยมีเงื่อนไขว่า ถ้าต่อไปเจ้าพนักงานพิทักษ์
ทรัพย์สั่งไม่ให้ออกเสียงเพียงใดการออกเสียงของเจ้าหนีน
้ น
ั ้ ให้ถือว่าเป็ น
อันใช้ไม่ได้เพียงนัน

คำ สั่ง ของเจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ต ามวรรคสอง อาจ
คัดค้านไปยังศาลได้ภายในสิบสี่ วันนับแต่วันมีคำสั่ง
 
มาตรา ๓๖  เมื่อ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์เ ห็น ว่า มติข องที่
ประชุม เจ้า หนีข
้ ัด ต่อ กฎหมาย หรือ ประโยชน์อ ัน ร่ว มกัน ของเจ้า หนีท
้ งั ้
หลาย เจ้าพนัก งานพิทัก ษ์ทรัพ ย์อ าจยื่น คำขอโดยทำเป็ นคำร้องต่อศาล
และศาลอาจมีคำ สัง่ ห้ามมิให้ปฏิบต
ั ก
ิ ารตามมตินน
ั ้ ได้ แต่ตอ
้ งยื่น ต่อ ศาล
ภายในเจ็ดวัน นับแต่วันที่ที่ประชุมเจ้าหนีล
้ งมติ
 
ส่วนที่ ๔
กรรมการเจ้าหนี ้
                  
 
มาตรา ๓๗  ที่ประชุมเจ้าหนีอ
้ าจลงมติตงั ้ กรรมการเจ้าหนีไ้ ว้
เพื่อแทนเจ้าหนีท
้ งั ้ หลาย ในกิจการเกี่ยวกับการจัดการทรัพย์สินของลูก
หนีต
้ ามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี ้
กรรมการเจ้าหนีต
้ ้องมีจำ นวนไม่น้อยกว่า สามคนและไม่เกิน
กว่าเจ็ดคน โดยเลือกจากเจ้าหนีห
้ รือผู้รับมอบอำนาจจากเจ้าหนี ้ แต่เจ้า
หนีห
้ รือผู้รับมอบอำนาจนัน
้ จะกระทำการเป็ นกรรมการเจ้าหนีไ้ ด้ตอ
่ เมื่อ
เจ้าพนักงานพิทก
ั ษ์ทรัพย์มีคำ สัง่ อนุญาตให้ได้รบ
ั ชำระหนีข
้ องเจ้าหนีน
้ น
ั้
[๑๒]
แล้ว
 
มาตรา ๓๘  มติของกรรมการเจ้าหนีน
้ น
ั ้ ให้ถือเสียงข้างมาก
ของผู้มาประชุม และกรรมการเจ้าหนีต
้ ้องมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งจำนวน
จึงเป็ นองค์ประชุม
 
มาตรา ๓๙  กรรมการเจ้าหนีข
้ าดจากตำแหน่งด้วยเหตุดังต่อ
ไปนี ้
(๑) ลาออกโดยมีหนังสือแจ้งไปยังเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
(๒) ถูกศาลพิพากษาให้ล้มละลาย หรือถูกศาลสั่ง ให้เ ป็ นผู้ไร้
ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถ
(๓) ที่ประชุมเจ้าหนีใ้ ห้ออกจากตำแหน่ง โดยได้แจ้งการที่จะ
ประชุมให้ออกนีใ้ ห้เจ้าหนีท
้ งั ้ หลายทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน
เมื่อ ตำแหน่ง กรรมการเจ้า หนีว้ ่า งลง ด้ว ยเหตุห นึ่ง เหตุใ ดดัง
กล่าวแล้ว ให้เจ้าพนักงานพิทัก ษ์ทรัพ ย์เ รียกประชุมเจ้าหนีโ้ ดยไม่ชัก ช้า
เพื่อเลือกตัง้ ผู้อ่ น
ื ขึน
้ แทน
 
มาตรา ๔๐  ในระหว่างที่ยังไม่ได้เลือกตัง้ กรรมการเจ้าหนีข
้ น
ึ้
แทนตามความในมาตราก่อน ถ้ากรรมการเจ้าหนีม
้ ีจำนวนเหลืออยู่ไม่น้อย
กว่ากึ่งหนึ่งแล้ว ให้กรรมการเจ้าหนีน
้ น
ั ้ กระทำการต่อไปได้
 
มาตรา ๔๑  ถ้าไม่ได้ตงั ้ กรรมการเจ้าหนีไ้ ว้ การกระทำใด ๆ ที่
พระราชบัญญัตินีกำ
้ หนดไว้ว่า ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรรมการเจ้า
หนีก
้ ่อนนัน
้ ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ขอความเห็นชอบจากที่ประชุม
เจ้าหนี ้
 
ส่วนที่ ๕
การไต่สวนลูกหนีโ้ ดยเปิ ดเผย
                  
 
มาตรา ๔๒  เมื่อได้มีการประชุมเจ้าหนีค
้ รัง้ แรกเสร็จแล้ว ให้
ศาลไต่สวนลูกหนีโ้ ดยเปิ ดเผยเป็ นการด่วน เพื่อทราบกิจการและทรัพย์สิน
ของลูกหนี ้ เหตุผลที่ทำให้มีหนีส
้ ินพ้นตัว ตลอดจนความประพฤติของลูก
หนี ้ ว่าได้กระทำหรือละเว้น กระทำการใด ซึ่งเป็ นความผิดตามพระราช
บัญ ญัต ิน ห
ี ้ รือ ตามกฎหมายอื่น เกี่ย วกับ การล้ม ละลาย หรือ เป็ นข้อ
บกพร่องอันจะเป็ นเหตุให้ศาลไม่ยอมปลดจากล้มละลายโดยไม่มีเงื่อนไข
ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ส ่งประกาศแจ้งความกำหนดวัน
เวลาที่ศาลนัดไต่ส วนโดยเปิ ดเผยให้ล ูก หนีแ
้ ละเจ้า หนีท
้ ราบล่วงหน้า ไม่
น้อยกว่าเจ็ดวัน และให้โฆษณาในหนังสือพิมพ์รายวันไม่น้อยกว่าหนึ่งฉบับ
 
มาตรา ๔๓  ในการไต่สวนโดยเปิ ดเผย ลูกหนีต
้ ้องสาบานตัว
และตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ได้กล่าวไว้ในมาตรา ๔๒ วรรคแรก ซึ่งศาล
ได้อ นุญ าตให้เ จ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ทรัพ ย์แ ละเจ้า หนีซ
้ ึ่ง ได้ข อรับ ชำระหนี ้
แล้ว หรือผู้ได้รับมอบอำนาจจากเจ้าหนีน
้ น
ั ้ ถาม หรือศาลจะถามเองตามที่
เห็นสมควร และให้ศาลจดถ้อยคำของลูกหนีอ
้ ่า นให้ล ูก หนีฟ
้ ั งแล้วให้ล ูก
หนีล
้ งลายมือชื่อไว้ และให้ใช้เป็ นพยานหลักฐานยันแก่ลูกหนีไ้ ด้ ในการนี ้
ลูกหนีจ
้ ะให้ทนายความเข้าทำการแทนไม่ได้
เมื่อศาลได้ไต่สวนลูกหนีไ้ ด้ความเพียงพอแล้ว ให้ศาลมีคำ สัง่
ปิ ดการไต่สวนและส่งสำเนาการไต่สวนให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หนึ่ง
ฉบับ คำสั่งนีไ้ ม่ตัดอำนาจศาลที่จะสั่งให้ไต่สวนลูกหนีเ้ พิ่มเติมอีกเมื่อมีเหตุ
อันสมควร
 
มาตรา ๔๔  เมื่อปรากฏว่าลูกหนีเ้ ป็ นคนวิกลจริตหรือจิตฟั่ น
เฟื อนไม่สมประกอบ หรือกายพิการ ซึ่งศาลเห็นว่าไม่สามารถจะให้ศาล
ไต่สวนโดยเปิ ดเผยได้ ศาลมีอำ นาจสั่งงดการไต่สวนโดยเปิ ดเผย หรือจะ
สั่งให้มีการไต่สวนโดยวิธีอ่ น
ื ใด ณ ที่ใดตามที่เห็นสมควรก็ได้
 
ส่วนที่ ๖
การประนอมหนีก
้ ่อนล้มละลาย
                  
 
[๑๓]
มาตรา ๔๕   เมื่อลูกหนีป
้ ระสงค์จะทำความตกลงในเรื่องหนี ้
สินโดยวิธีขอชำระหนีแ
้ ต่เพียงบางส่วนหรือโดยวิธีอ่ น
ื ให้ทำคำขอประนอม
หนีเ้ ป็ นหนังสือยื่นต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในกำหนดเจ็ดวันนับ
แต่ว ัน ยื่น คำ ชีแ
้ จงเกี่ย วกับ กิจ การและทรัพ ย์ส ิน ตามมาตรา ๓๐ หรือ
ภายในเวลาตามที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้กำหนดให้
คำขอประนอมหนีต
้ ้อ งแสดงข้อ ความแห่ง การประนอมหนี ้
หรือวิธีจัดกิจการหรือทรัพย์สินและรายละเอียดแห่งหลักประกัน หรือผู้ค้ำ
ประกัน ถ้ามี และอย่างน้อยต้องมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้
(๑) ลำดับการชำระหนีต
้ ามพระราชบัญญัตินี ้
(๒) จำนวนเงินที่ขอประนอมหนี ้
(๓) แนวทางและวิธีการในการปฏิบัติตามคำขอประนอมหนี ้
(๔) กำหนดเวลาชำระหนี ้
(๕) การจัดการกับทรัพย์สินอันเป็ นหลักประกัน ถ้ามี
(๖) ผู้ค้ำประกัน ถ้ามี
ถ้า คำขอประนอมหนีม
้ ีรายการไม่ค รบถ้วนชัด เจนตามวรรค
สอง ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แจ้งให้ลูกหนีแ
้ ก้ไขให้ครบถ้วนชัดเจน
ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เรียกประชุมเจ้าหนีเ้ พื่อปรึกษาลง
มติพิเศษว่าจะยอมรับคำขอประนอมหนีน
้ น
ั ้ หรือไม่
 
มาตรา ๔๖  การยอมรับคำขอประนอมหนีโ้ ดยมติพิเศษของที่
ประชุมเจ้าหนีย
้ ังไม่ผ ูก มัดเจ้า หนีท
้ งั ้ หลาย จนกว่า ศาลจะได้มีคำ สั่งเห็น
ชอบด้วยแล้ว
 
มาตรา ๔๗  ลูก หนีอ
้ าจขอแก้ไ ขคำขอประนอมหนีใ้ นเวลา
ประชุมเจ้าหนีห
้ รือในเวลาที่ศาลพิจารณาได้ ถ้าเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
หรือศาลเห็นว่าการแก้ไขนัน
้ จะเป็ นประโยชน์แก่เจ้าหนีโ้ ดยทั่วไป
 
มาตรา ๔๘  ในการประชุมเจ้าหนีเ้ พื่อพิจารณาคำขอประนอม
หนีน
้ น
ั ้ เจ้าหนีท
้ ี่ไม่มาประชุมจะออกเสียงโดยทำเป็ นหนังสือก็ได้ แต่ต้อง
ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้รับหนังสือนัน
้ ก่อนวันประชุม ในกรณีเช่นนี ้
ให้ถือเสมือนหนึ่งว่าเจ้าหนีน
้ น
ั ้ ได้มาประชุมและออกเสียงด้วยตนเอง
 
มาตรา ๔๙  เมื่อเจ้าหนีไ้ ด้ลงมติพิเศษยอมรับ คำขอประนอม
หนีข
้ องลูก หนีแ
้ ล้ว ลูก หนีห
้ รือ เจ้า พนัก งานพิทัก ษ์ท รัพ ย์ม ีอำ นาจขอต่อ
ศาลให้สั่งว่าจะเห็นชอบด้วยหรือไม่
การกำหนดวันนั่งพิจารณาคำขอนี ้ ต้องให้เจ้าพนักงานพิทักษ์
ทรัพย์มีเวลาส่งแจ้งความให้ลูกหนีแ
้ ละเจ้าหนีท
้ งั ้ หลายทราบล่วงหน้า ไม่
น้อยกว่าเจ็ดวัน
 
มาตรา ๕๐  ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ย่ น
ื รายงานเกี่ยวกับ
การประนอมหนี ้ กิจการทรัพย์สินและความประพฤติของลูกหนีต
้ ่อศาล
ไม่น้อยกว่าสามวันก่อนวันที่ศาลนั่งพิจารณา
 
มาตรา ๕๑  ห้ามมิให้ศาลพิจารณาคำขอประนอมหนีจ
้ นกว่า
จะได้ไต่สวนลูกหนีโ้ ดยเปิ ดเผยแล้ว เว้นแต่กรณีที่ลูกหนีร้ ่วมขอประนอม
หนีน
้ น
ั ้ แม้ศาลจะยังมิได้ไต่สวนลูกหนีท
้ งั ้ หมดโดยเปิ ดเผย เพราะเหตุว ่า
ลูกหนีบ
้ างคนไม่สามารถจะมาศาลโดยเจ็บป่ วยหรืออยู่นอกราชอาณาจักร
ก็ตาม ถ้าเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์รายงานว่าไม่จำเป็ นจะต้องไต่สวนลูก
หนีน
้ ัน
้ ๆ ศาลมีอำ นาจพิจ ารณาคำขอประนอมหนีไ้ ด้ แต่ต ้อ งได้ม ีก าร
ไต่สวนลูกหนีโ้ ดยเปิ ดเผยแล้วอย่างน้อยคนหนึ่ง
 
มาตรา ๕๒  ในการที่ศาลจะมีคำสั่งเห็นชอบด้วยการประนอม
หนีห
้ รือไม่นน
ั ้ ให้ศาลพิจารณารายงานของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์และ
ข้อคัดค้านของเจ้าหนี ้ ถ้ามี
เจ้าหนีท
้ ี่ได้ย่ น
ื คำขอรับชำระหนีแ
้ ล้วมีอำนาจคัดค้านต่อศาลได้
ถึงแม้จะได้เคยออกเสียงลงมติยอมรับไว้ในที่ประชุมเจ้าหนีก
้ ็ตาม
 
มาตรา ๕๓  ห้ามมิให้ศาลมีคำ สัง่ เห็น ชอบด้วยการประนอม
หนีใ้ นกรณีดังต่อไปนี ้
(๑) การประนอมหนีไ้ ม่มีข้อความให้ใช้หนีก
้ ่อนและหลังตาม
ลำดับที่กฎหมายบัญญัติไว้ว่าด้วยการแบ่งทรัพย์สินของบุคคลล้มละลาย
(๒) การประนอมหนีน
้ น
ั ้ ไม่เป็ นประโยชน์แก่เจ้าหนีท
้ ั่วไป หรือ
ทำให้เจ้าหนีไ้ ด้เปรียบเสียเปรียบแก่กัน หรือปรากฏข้อเท็จจริงอย่างหนึ่ง
อย่างใด ซึ่งถ้าหากว่าลูกหนีต
้ ้องล้มละลายแล้ว ไม่มีเหตุที่จะปลดลูกหนี ้
จากล้มละลายได้เลย
 
มาตรา ๕๔  ถ้า ปรากฏข้อ เท็จ จริง อย่า งหนึ่ง อย่า งใด ซึ่ง ถ้า
หากว่า ลูก หนีล
้ ้ม ละลายแล้ว จะปลดลูก หนีจ้ ากล้มละลายได้กแ
็ ต่โ ดยมี
เงื่อ นไข ศาลจะมีคำ สัง่ เห็นชอบด้วยการประนอมหนีก
้ ไ็ ด้  เมื่อ ลูก หนีใ้ ห้
ประกันสำหรับชำระหนีไ้ ม่น้อยกว่าหนึ่งในสี่ของจำนวนหนีท
้ ี่ไม่มีประกัน
ซึ่งเจ้าหนีอ
้ าจขอรับชำระได้
ในกรณีอ่ น
ื ศาลอาจมีคำ สั่งเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบด้วยการ
ประนอมหนีก
้ ็ได้ ตามแต่จะเห็นสมควร
 
มาตรา ๕๕  เมื่อศาลได้มีคำสั่งเห็นชอบด้วยการประนอมหนี ้
แล้ว ให้เ จ้า พนัก งานพิทก
ั ษ์ท รัพ ย์โ ฆษณาในราชกิจ จานุเ บกษาและใน
หนังสือพิมพ์รายวันไม่นอ
้ ยกว่าหนึง่ ฉบับภายในเจ็ดวัน นับแต่วันที่ศาลมีคำ
สั่งเห็นชอบ
 
มาตรา ๕๖  การประนอมหนีซ
้ ึ่ง ที่ป ระชุม เจ้า หนีไ้ ด้ย อมรับ
และศาลเห็นชอบด้วยแล้ว ผูกมัดเจ้าหนี ท
้ ั ง้ หมดในเรื่ องหนี ซ
้ ึ่งอาจขอรับ
ชำ ระได้ แต่ไ ม่ผ ูก มัด เจ้า หนี ค
้ นหนึ่ง คนใดในเรื่ อ งหนี ซ
้ ึ่ง ตามพระราช
บัญญัตินล
ี้ ก
ู หนีไ้ ม่อาจหลุดพ้นโดยคำสัง่ ปลดจากล้มละลายได้ เว้นแต่เจ้า
หนีค
้ นนัน
้ ได้ยินยอมด้วยในการประนอมหนี ้
 
มาตรา ๕๗  เจ้า หนีค
้ นหนึ่ง คนใดหรือ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์
ทรัพย์ มีอำ นาจขอต่อศาลให้บังคับลูกหนีห
้ รือผู้ค้ำประกันให้ปฏิบัติตาม
ข้อความที่ประนอมหนีไ้ ด้
 
มาตรา ๕๘  ในการประนอมหนี ้ ถ้า ได้ต งั ้ ผู้จ ัด การทรัพ ย์ส ิน
หรือกิจการของลูกหนีเ้ พื่อจัดการชำระหนี ้ ให้นำบทบัญญัติในหมวด ๔ ว่า
ด้ว ยวิธ ีจ ัด การทรัพ ย์ส ิน ของลูก หนี ้ และหมวด ๕ ว่า ด้ว ยเจ้า พนัก งาน
พิทักษ์ทรัพย์ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๕๙  การประนอมหนีไ้ ม่ทำให้บุคคลซึ่งเป็ นหุ้นส่วนกับ
ลูกหนีห
้ รือรับผิดร่วมกับลูกหนี ้ หรือค้ำประกันหรืออยู่ในลักษณะอย่างผู้
ค้ำประกันของลูกหนี ้ หลุดพ้นจากความรับผิดไปด้วย
 
มาตรา ๖๐  ถ้าลูก หนีผ
้ ิด นัด ไม่ชำ ระหนีต
้ ามที่ไ ด้ต กลงไว้ใน
การประนอมหนีก
้ ็ด ี หรือ ปรากฏแก่ศ าลโดยมีพ ยานหลัก ฐานว่า การ
ประนอมหนีน
้ น
ั ้ ไม่อ าจดำ เนิน ไปได้โ ดยปราศจากอยุต ิธ รรมหรือ จะ
เป็ นการเนิ่นช้าเกินสมควรก็ดี หรือการที่ศาลได้มี คำ สั่งเห็น ชอบด้วยนัน

เป็ นเพราะถูกหลอกลวงทุจริตก็ดี เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์รายงาน
หรือ เจ้า หนีค
้ นใดมีคำ ขอโดยทำ เป็ นคำ ร้อ ง ศาลมีอำ นาจยกเลิก การ
ประนอมหนีแ
้ ละพิพากษาให้ลูกหนีล
้ ้มละลาย แต่ทงั ้ นีไ้ ม่กระทบถึงการใด
ที่ได้กระทำไปแล้วตามข้อประนอมหนีน
้ น
ั้
เมื่อศาลได้พพ
ิ ากษาดังกล่าวในวรรคก่อนแล้ว ให้เจ้าพนักงาน
พิทักษ์ทรัพย์โฆษณาคำพิพากษาในราชกิจจานุเบกษาและในหนังสือพิมพ์
รายวัน ไม่น ้อยกว่าหนึ่ง ฉบับ ในคำโฆษณาให้ระบุช่ อ
ื ตำบลที่อ ยู่ อาชีพ
ของลูกหนี ้ และวันที่ศาลได้มีคำพิพากษา ทัง้ ให้แจ้งกำหนดเวลาให้เจ้าหนี ้
ทัง้ หลายเสนอคำขอรับชำระหนีท
้ ี่ลูกหนีไ้ ด้กระทำขึน
้ ในระหว่างวันที่ศาล
ได้มีคำสัง่ เห็นชอบด้วยการประนอมหนีถ
้ ึงวันที่ศาลพิพากษาให้ล ูกหนีล
้ ้ม
ละลาย ต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ด้วย
 
ส่วนที่ ๗
คำพิพากษาให้ล้มละลาย
                  
 
มาตรา ๖๑  เมื่อ ศาลได้ม ีคำ สั่ง พิท ัก ษ์ท รัพ ย์ข องลูก หนีเ้ ด็ด
ขาดแล้ว และเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์รายงานว่า เจ้าหนีไ้ ด้ลงมติในการ
ประชุมเจ้าหนีค
้ รัง้ แรกหรือในคราวที่ได้เลื่อนไป ขอให้ศาลพิพากษาให้ล ูก
หนีล
้ ้มละลายก็ดี หรือไม่ลงมติประการใดก็ดี หรือไม่มีเจ้าหนีไ้ ปประชุมก็ดี
หรือการประนอมหนีไ้ ม่ได้รับความเห็นชอบก็ดี ให้ศาลพิพากษาให้ล ูกหนี ้
ล้มละลาย และเจ้าพนัก งานพิทัก ษ์ทรัพ ย์มีอำ นาจจัด การทรัพ ย์ส ิน ของ
บุคคลล้มละลายเพื่อแบ่งแก่เจ้าหนีท
้ งั ้ หลาย
ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์โฆษณาคำพิพากษาในราชกิจจานุ
เบกษาและในหนังสือพิมพ์รายวันไม่น้อยกว่าหนึ่งฉบับ ในคำโฆษณาให้
ระบุช่ อ
ื ตำบลที่อยู่ อาชีพของลูกหนีแ
้ ละวันที่ศาลได้มีคำพิพากษา
 
มาตรา ๖๒  การล้มละลายของลูกหนีเ้ ริ่มต้นมีผลตัง้ แต่วันที่
ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์
 
ส่วนที่ ๘
การประนอมหนีภ
้ ายหลังล้มละลาย
                  
 
มาตรา ๖๓  เมื่อศาลพิพากษาให้ลม
้ ละลายแล้วลูกหนีจ้ ะเสนอ
คำขอประนอมหนีก
้ ไ็ ด้ ในกรณีนใี ้ ห้นำ บทบัญญัติในส่วนที่ ๖ ว่าด้วยการ
ประนอมหนีก
้ ่อนล้มละลายมาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่ถ้าลูกหนีไ้ ด้เคยขอ
ประนอมหนีไ้ ม่เ ป็ นผลมาแล้ว ห้า มมิใ ห้ล ูก หนีข
้ อประนอมหนีภ
้ ายใน
กำหนดเวลาสามเดือน นับแต่วันที่การขอประนอมหนีค
้ รัง้ สุดท้ายไม่เป็ น
ผล
ถ้า ศาลเห็น ชอบด้ว ยการประนอมหนี ้ ศาลมีอำ นาจสั่ง ให้
ยกเลิก การล้ม ละลาย และจะสัง่ ให้ลก
ู หนีก
้ ลับ มีอำ นาจจัด การเกีย
่ วกับ
ทรัพย์สน
ิ ของตน หรือจะสัง่ ประการใดตามทีเ่ ห็นสมควรก็ได้
 
ส่วนที่ ๙
การควบคุมตัวและทรัพย์สินของลูกหนีแ
้ ละการจำกัดสิทธิ
                  
 
มาตรา ๖๔  ลูก หนีซ
้ ึ่ง ถูก พิท ัก ษ์ท รัพ ย์แ ล้ว ต้อ งไปในการ
ประชุม เจ้า หนีท
้ ุก ครัง้ และตอบคำถามของเจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์
กรรมการเจ้า หนี ้ หรือ เจ้า หนีค
้ นหนึ่ง คนใดในเรื่อ งที่เ กี่ย วกับ กิจ การ
ทรัพย์สินหรือหุ้นส่วนของตน และต้องกระทำการอันเกี่ยวกับกิจการและ
ทรัพย์สิน หรือการที่จะแบ่งทรัพย์สินในระหว่างเจ้าหนีท
้ งั ้ หลาย ตามที่เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์หรือผู้จัดการทรัพย์จะสั่งโดยมีเหตุอันสมควร หรือ
ตามที่ไ ด้บ ัญ ญัต ิไ ว้ใ นพระราชบัญ ญัต ิน ี ้ หรือ ตามที่ศ าลจะได้ม ี คำ สั่ง ให้
กระทำ แล้วแต่กรณี
 
มาตรา ๖๕  เมื่อศาลพิพ ากษาให้ล ้มละลายแล้ว ลูกหนีต
้ ้อ ง
เป็ นธุระช่วยโดยเต็มความสามารถในการจำหน่า ยทรัพ ย์ส ิน และในการ
แบ่ง ทรัพ ย์ส ิน ในระหว่า งเจ้า หนีท
้ งั ้ หลาย และเมื่อ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์
ทรัพ ย์ต ้องการให้ทำ สัญ ญาประกัน ชีวิต ลูก หนีต
้ ้อ งให้แพทย์ต รวจ และ
ต้องตอบข้อซักถาม และกระทำการต่าง ๆ ที่จำเป็ นเพื่อการนัน

 
มาตรา ๖๖  เมื่อศาลพิพากษาให้ลูกหนีล
้ ้มละลายแล้ว ถ้าเจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์รายงานหรือเจ้าหนีค
้ นใดมีคำขอฝ่ ายเดียวโดยทำเป็ น
คำร้อง และศาลพอใจจากรายงานของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หรือพยาน
ที่เจ้าหนีนำ
้ มาสืบ ว่าลูกหนีไ้ ด้กระทำการอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี ้
(๑) ออกไปหรือ กำลังจะออกไปนอกเขตอำนาจศาล หรือ ได้
ออกไปก่อนแล้วและคงอยู่นอกเขตอำนาจศาลโดยเจตนาที่จะหลีกเลี่ยง
ประวิงหรือกระทำให้ขัดข้องแก่กระบวนพิจารณาคดีล้มละลาย
(๒) กระทำหรือกำลังจะกระทำการฉ้อโกงเจ้าหนี ้ หรือกระทำ
หรือ กำลัง จะกระทำความผิด อย่า งหนึ่ง อย่า งใดซึ่ง มีโ ทษตามพระราช
บัญญัตินี ้
ศาลมีอำ นาจออกหมายจับลูกหนีม
้ าขังไว้จนกว่าลูกหนีจ
้ ะได้
ให้ประกันจนพอใจ แต่ไม่ให้เกินกว่าหกเดือน
 
มาตรา ๖๗  เมื่อศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนีห
้ รือพิพากษา
ให้ลูกหนีล
้ ้มละลายแล้ว และยังไม่ได้สั่งปลดจากล้มละลาย
(๑) ลูก หนีจ
้ ะต้อ งขอให้เ จ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์กำ หนด
จำ นวนเงิน เพื่อ ใช้จ ่า ยเลีย
้ งชีพ ตนเองและครอบครัว ตามสมควรแก่
ฐานานุรูป โดยเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็ นผู้อนุญาตให้ล ูกหนีจ
้ ่า ยจาก
เงิน ที่ล ูก หนีไ้ ด้ม าในระหว่า งล้ม ละลาย และลูก หนีจ
้ ะต้อ งส่ง เงิน หรือ
ทรัพ ย์ส ิน ที่เ หลือ นัน
้ แก่เ จ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ภ ายในเวลาที่เ จ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์กำหนดพร้อมด้วยบัญชีรับจ่าย
(๒) ทุกครัง้ ที่ลูกหนีม
้ ีสิทธิจะได้รับทรัพย์สินอย่างใดลูกหนีจ
้ ะ
ต้องรายงานเป็ นหนังสือให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทราบ โดยแสดงราย
ละเอียดเท่าที่สามารถจะทำได้ภายในเวลาอันสมควร และไม่วา่ ในกรณีใด
ลูกหนีจ้ ะต้องแสดงบัญชีรบ
ั จ่ายเสนอต่อเจ้าพนักงานพิทก
ั ษ์ทรัพย์ทก
ุ ระยะ
หกเดือน
(๓) ลูกหนีจ
้ ะออกไปนอกราชอาณาจักรไม่ได้ เว้นแต่ศาลหรือ
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะอนุญาตเป็ นหนังสือ และถ้าจะย้ายที่อยู่ ต้อง
แจ้งตำบลที่อยู่ใหม่เป็ นหนังสือให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทราบภายใน
เวลาอันสมควร
 
มาตรา ๖๗/๑ ๑๔]  เมื่อ ศาลได้พ ิพ ากษาให้ล ้ม ละลายแล้ว
[

บุคคลล้มละลายอาจได้รับการปลดจากล้มละลายเมื่อศาลได้มี คำ สัง่ ปลด


จากล้มละลายตามมาตรา ๗๑ หรือเมื่อพ้น กำหนดระยะเวลาตามมาตรา
๘๑/๑
 
ส่วนที่ ๑๐
การปลดจากล้มละลาย
                  
 
มาตรา ๖๘ ๑๕]  เมื่อศาลได้พิพากษาให้ล ้มละลายแล้ว บุคคล
[

ล้มละลายอาจยื่นคำขอโดยทำเป็ นคำร้องต่อศาล เพื่อขอให้มคำ


ี สัง่ ปลดจาก
ล้ม ละลายได้ แต่ตอ
้ งนำเงิน มาวางไว้ต อ
่ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ต าม
จำนวนที่เ จ้าพนัก งานพิทัก ษ์ทรัพ ย์จะเห็น สมควรไม่เ กิน ห้าพัน บาทเพื่อ
[
เป็ นประกันค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่าย ๑๖]
การกำหนดวันนั่งพิจารณาคำขอนี ้ ต้องให้เจ้าพนักงานพิทักษ์
ทรัพย์มีเวลาส่งแจ้งความให้บุคคลล้มละลาย และเจ้าหนีท
้ งั ้ หลายทราบ
ล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสิบสี่วัน และโฆษณาในหนังสือพิมพ์รายวันไม่น้อยกว่า
หนึ่งฉบับ
 
มาตรา ๖๙  ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ย่ น
ื รายงานเกี่ยวกับ
กิจการทรัพย์สินและความประพฤติของบุคคลล้มละลายในเวลาก่อนหรือ
ระหว่างที่ล้มละลายต่อศาล และส่งสำเนารายงานนัน
้ ให้บุคคลล้มละลาย
ทราบไม่น้อยกว่าเจ็ดวันก่อนวันนั่งพิจารณาคำขอปลดจากล้มละลาย
 
มาตรา ๗๐  ในการพิจารณาคำขอปลดจากล้มละลายนัน
้ ศาล
อาจฟั งคำชีแ
้ จงของเจ้าพนักงานพิทัก ษ์ทรัพ ย์ เจ้าหนีห
้ รือผู้แทนเจ้า หนี ้
รายงานของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ที่ได้ย่ น
ื ตามมาตรา ๖๙ และรายงาน
การไต่สวนโดยเปิ ดเผยของศาลนัน
้ เอง และศาลอาจให้บุคคลล้มละลาย
สาบานตัวให้การหรือพิจารณาพยานหลักฐานตามที่เห็นสมควรก็ได้
 
มาตรา ๗๑ ๑๗]  ให้ศ าลมีคำ สั่ง ปลดจากล้ม ละลาย เมื่อ ศาล
[

พิจารณาแล้วเห็นว่า
(๑) ได้แบ่งทรัพย์สิน ชำระให้แก่เจ้า หนีท
้ ี่ไ ด้ข อรับ ชำระหนีไ้ ว้
แล้วไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบและ
(๒) ไม่เป็ นบุคคลล้มละลายทุจริต
คำ สัง่ ปลดจากล้ม ละลายตามวรรคหนึ่ง ศาลอาจกำ หนด
เงื่อนไขเกี่ยวกับ ทรัพ ย์ส ิน ที่จะพึง ได้มาในเวลาต่อ ไปก็ไ ด้ แต่ต ้อ งไม่เ กิน
ระยะเวลาที่บุคคลนัน
้ ได้รับการปลดจากล้มละลายตามมาตรา ๘๑/๑
 
มาตรา ๗๒ ๑๘]  (ยกเลิก)
[

 
มาตรา ๗๓ ๑๙]  (ยกเลิก)
[

 
มาตรา ๗๔ ๒๐]  (ยกเลิก)
[

 
มาตรา ๗๕ ๒๑]  (ยกเลิก)
[

 
มาตรา ๗๖  เมื่อศาลได้มีคำสั่งปลดจากล้มละลายแล้ว ให้เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ โฆษณาในราชกิจจานุเบกษาและในหนังสือพิมพ์
รายวันไม่น้อยกว่าหนึ่งฉบับ
 
มาตรา ๗๗  คำสัง่ ปลดจากล้มละลายทำให้บุคคลล้มละลาย
หลุดพ้นจากหนีท
้ งั ้ ปวงอันพึงขอรับชำระได้ เว้นแต่
(๑) หนีเ้ กี่ย วกับ ภาษีอ ากร หรือ จัง กอบของรัฐ บาลหรือ
เทศบาล
(๒) หนีซ
้ ึ่ง ได้เ กิด ขึน
้ โดยความทุจ ริต ฉ้อ โกงของบุค คลล้ม
ละลาย หรือหนีซ
้ ึ่ง เจ้าหนีไ้ ม่ไ ด้เ รียกร้อ งเนื่อ งจากความทุจ ริต ฉ้อ โกงซึ่ง
บุคคลล้มละลายมีส่วนเกี่ยวข้องสมรู้
 
มาตรา ๗๘  การที่ศ าลได้ม ีคำ สั่ง ปลดจากล้ม ละลายนัน
้ ไม่
ทำให้บุคคลซึง่ เป็ นหุ้นส่วนกับบุคคลล้มละลาย หรือรับผิดร่วมกับบุคคล
ล้มละลาย หรือค้ำประกัน หรืออยู่ในลักษณะอย่างผูค
้ ้ำประกันของบุคคล
ล้มละลายหลุดพ้นจากความรับผิดไปด้วย
 
มาตรา ๗๙  บุคคลล้มละลายซึ่งได้ถก
ู ปลดจากล้มละลายนัน

ยังมีหน้าที่ช่วยในการจำหน่ายและแบ่งทรัพย์สินของตนซึ่งตกอยู่กับเจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ตามที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ต้องการ
ถ้าบุคคลล้มละลายละเลยไม่ชว่ ย ศาลมีอำ นาจเพิกถอนคำสัง่
ปลดจากล้มละลายนัน
้ ได้ แต่ทงั้ นีไ้ ม่กระทบถึงการใดทีไ่ ด้กระทำไปภายหลัง
การปลดจากล้มละลายก่อนทีศ
่ าลมีคำสัง่ ให้เพิกถอนนัน

 
มาตรา ๘๐  ในคำสัง่ ปลดจากล้มละลายโดยให้บค
ุ คลล้มละลาย
ใช้เงินแก่เจ้าพนักงานพิท ัก ษ์ทรัพ ย์น ัน
้ ศาลมีอำ นาจกำหนดจำนวนเงิน
สำหรับ เลีย
้ งชีพ บุค คลล้ม ละลายและครอบครัว ในปี หนึ่ง ๆ ที่ให้หักเอา
จากทรัพ ย์ส ิน ซึ่ง ได้ม าภายหลัง มีคำ สั่ง นัน
้ และกำ หนดให้ส ่ง เงิน หรือ
ทรัพย์สินที่เหลือแก่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ เพื่อแบ่งแก่เจ้าหนีท
้ งั ้ หลาย
และกำหนดวันให้ย่ น
ื บัญชีแสดงการรับทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างปี ทุก ๆ ปี
ต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
บุคคลล้มละลายซึง่ ถูกปลดจากล้มละลายโดยให้ใช้เงินแก่เจ้า
พนักงานพิทก
ั ษ์ทรัพย์นน
ั้  มีหน้าที่ไปให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หรือศาล
สอบสวนหรือไต่สวนเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ได้มา ตามแต่เจ้าพนักงานพิทักษ์
ทรัพย์หรือศาลต้องการ
ถ้าบุคคลล้มละลายนัน
้ ไม่ปฏิบัติตามที่บัญญัติไว้ในสองวรรค
แรก เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำขอ ศาลจะเพิกถอนคำสั่งปลดจาก
ล้มละลายก็ได้ แต่ทงั ้ นีไ้ ม่กระทบถึงการใดที่ได้กระทำไปภายหลังการปลด
จากล้มละลาย ก่อนที่ศาลมีคำสั่งให้เพิกถอนนัน

 
มาตรา ๘๑  เมื่อศาลได้เพิกถอนคำสั่งปลดจากล้มละลายแล้ว
ให้เ จ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์โ ฆษณาในราชกิจ จานุเ บกษาและใน
หนังสือพิมพ์รายวันไม่น้อยกว่าหนึ่งฉบับ ทัง้ ให้แจ้ง กำหนดเวลาให้เจ้าหนี ้
ทัง้ หลายเสนอคำขอรับชำระหนีท
้ ี่ลูกหนีไ้ ด้กระทำขึน
้ ภายหลังที่ศาลมีคำ
สั่งปลดจากล้มละลาย ก่อนที่ศาลได้มีคำสั่งให้เพิกถอนนัน
้ ด้วย
 
มาตรา ๘๑/๑ ๒๒]  ภายใต้บังคับมาตรา ๘๑/๒ บุคคลธรรมดา
[

ซึ่งศาลพิพากษาให้ล้มละลายแล้วให้ปลดบุคคลนัน
้ จากล้มละลายทันทีที่
พ้นกำหนดระยะเวลาสามปี นับแต่วันที่ศาลได้พิพากษาให้ล้มละลาย เว้น
แต่
(๑) บุคคลนัน
้ ได้เคยถูกพิพากษาให้ลม
้ ละลายมาก่อนแล้ว และ
ยังไม่พน
้ ระยะเวลาห้าปี นับแต่วันที่ศาลได้พิพากษาให้ล้มละลายครัง้ ก่อน
จนถึงวันที่ถูกศาลสั่งพิทักษ์ทรัพย์ครัง้ หลังให้ขยายระยะเวลาเป็ นห้าปี
(๒) บุค คลนัน
้ เป็ นบุค คลล้ม ละลายทุจริต ที่ไ ม่ม ีล ัก ษณะตาม
(๓) ให้ขยายระยะเวลาเป็ นสิบปี เว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุผลพิเศษและบุคคล
นัน
้ ถูกศาลพิพากษาให้ล้มละลายมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี ศาลจะสัง่ ปลด
จากล้มละลายก่อนครบกำหนดสิบ ปี ตามคำขอของเจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์
ทรัพย์หรือของบุคคลล้มละลายนัน
้ ก็ได้
(๓) บุคคลนัน
้ เป็ นบุคคลล้มละลายอัน เนื่องมาจากหรือ เกี่ยว
เนื่อ งกับ การกระทำ ความผิด อัน มีล ัก ษณะเป็ นการกู้ย ืม เงิน ที่เ ป็ นการ
ฉ้อ โกงประชาชนตามกฎหมายว่า ด้ว ยการกู้ย ืม เงิน ที่เ ป็ นการฉ้อ โกง
ประชาชน ให้ขยายระยะเวลาเป็ นสิบปี
ในกรณีท ี่ม ีเ หตุต าม (๑) (๒) หรือ (๓) มากกว่า หนึ่ง เหตุใ ห้
ขยายระยะเวลาโดยอาศัยเหตุใดเหตุห นึ่ง ที่ม ีระยะเวลาสูง สุด เพียงเหตุ
เดียว
ให้นำ บทบัญญัติมาตรา ๗๖ มาตรา ๗๗ และมาตรา ๗๘ มา
ใช้บังคับกับการปลดจากล้มละลายตามมาตรานีโ้ ดยอนุโลม
 
มาตรา ๘๑/๒ ๒๓]  ก่อ นระยะเวลาสามปี ตามมาตรา ๘๑/๑
[

วรรคหนึ่ง จะสิน
้ สุดลง เจ้าพนักงานพิทก
ั ษ์ทรัพย์อาจยื่นคำขอต่อศาลเพื่อ
ขอให้ศาลมีคำสัง่ ให้หยุดนับระยะเวลาดังกล่าวไว้กอ
่ นก็ได้
เมื่อ ศาลได้ร ับ คำขอเช่น ว่า นีแ
้ ล้ว ให้ศ าลกำหนดนัด ไต่ส วน
เป็ นการด่วน และส่งสำเนาคำขอให้แก่บค
ุ คลล้มละลายทราบก่อนวันนัด
ไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน
 
มาตรา ๘๑/๓ ๒๔]  เมื่อ ศาลไต่ส วนคำ ขอตามมาตรา ๘๑/๒
[

แล้ว ถ้าศาลเห็นว่าบุคคลล้มละลายมิไ ด้ให้ค วามร่วมมือกับเจ้า พนักงาน


พิท ัก ษ์ท รัพ ย์ใ นการรวบรวมทรัพ ย์ส ิน โดยไม่ม ีเ หตุอันสมควร ให้ศาลมี
คำสัง่ หยุดนับระยะเวลาตามมาตรา ๘๑/๑ ตัง้ แต่วันที่เจ้าพนักงานพิทักษ์
ทรัพย์ย่ น
ื คำขอหรือวันที่ศาลมีคำสั่งจนถึงวันที่ศาลกำหนด โดยจะกำหนด
เงื่อนไขหรือไม่ก็ได้
การหยุดนับระยะเวลาตามวรรคหนึ่ง ไม่ว่าศาลจะได้มีคำสั่งให้
หยุดนับระยะเวลาตามคำขอกี่ครัง้ ก็ตาม เมื่อรวมระยะเวลาทัง้ หมดแล้ว
จะต้อ งไม่เกินสองปี และไม่ว่า กรณีจะเป็ นประการใด ศาลจะมีคำ สั่งให้
หยุดนับระยะเวลาตามมาตรา ๘๑/๑ (๑) (๒) หรือ (๓) หรือมีคำ สั่งเมื่อ
พ้นระยะเวลาสามปี ตามมาตรา ๘๑/๑ วรรคหนึ่งแล้วไม่ได้
คำสัง่ ศาลตามมาตรานีใ้ ห้เป็ นที่สุด
 
มาตรา ๘๑/๔ ๒๕]  เมื่อ ศาลมีคำ สัง่ ตามมาตรา ๘๑/๓ แล้ว
[

หากพฤติการณ์เปลี่ยนแปลงไป บุคคลล้มละลายอาจยื่น คำขอต่อศาลเพื่อ


ขอให้ยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขคำสั่งดังกล่าวได้
เมื่อได้รบ
ั คำขอดังกล่าว ให้ศาลกำหนดวันนัดไต่สวน และส่ง
สำเนาคำขอให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เพื่อแจ้งให้เจ้าหนีท
้ งั ้ หลายทราบ
ล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน
ศาลอาจมีคำสั่งยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขคำสั่งตามมาตรา
๘๑/๓ ก็ได้
คำสัง่ ศาลตามมาตรานีใ้ ห้เป็ นที่สุด
 
หมวด ๒
กระบวนพิจารณาในกรณีที่ลูกหนีต
้ าย
                  
 
มาตรา ๘๒  ในกรณีที่ลูกหนีต
้ าย หากปรากฏว่าถ้าลูกหนีย
้ ัง
คงมีช ีว ิต อยู่เ จ้า หนีอ
้ าจฟ้ องให้ล ้ม ละลายได้แ ล้ว เจ้า หนีอ
้ าจฟ้ องขอให้
จัดการทรัพย์มรดกของลูกหนีต
้ ามพระราชบัญญัตินไี ้ ด้ แต่ต้องยื่นคำฟ้ อง
ต่อศาลภายในกำหนดหนึ่งปี นับแต่วันที่ลูกหนีต
้ าย
 
มาตรา ๘๓  ในการฟ้ องขอให้จัดการทรัพย์มรดกของลูกหนี ้
ตามความในมาตราก่อน เจ้าหนี จ
้ ะต้อ งขอให้เ รีย กทายาทหรือ ผู้จัด การ
มรดก หรือผู้ปกครองทรัพย์ เข้ามาแก้คดีแทนลูกหนี ท
้ ี่ตายนัน

ถ้า บุค คลที่ถ ูก เรีย กไม่ม าศาล หรือ มาศาลแต่ค ัด ค้า นว่า ตน
ไม่ใช่ทายาทหรือผู้จัดการมรดก หรือผู้ปกครองทรัพย์ของลูกหนีท
้ ี่ตายก็ดี
หรือ ว่า ตนไม่จำ ต้อ งยอมรับ ฐานะเช่น นัน
้ ได้ต ามกฎหมายก็ด ี ให้ศ าล
ทำการไต่สวน ถ้าศาลเห็นว่าบุคคลนัน
้ ควรเข้าแก้คดีแทนลูกหนีท
้ ี่ตาย ก็
ให้สั่งเป็ นผู้แทนลูกหนีน
้ น
ั ้ มิฉะนัน
้ ให้สั่งให้เจ้าหนีจ
้ ัดการขอให้เรียกบุคคล
อื่นเข้ามาแก้คดีแทนลูกหนีท
้ ี่ตายต่อไป
 
มาตรา ๘๔  เมื่อได้มคำ
ี พิพากษาให้จัดการทรัพย์มรดกของลูก
หนีแ
้ ล้ว ให้ปฏิบัติการและจัดการทรัพย์มรดกนัน
้ ตามบทบัญญัติแห่งพระ
ราชบัญญัตินเี ้ ท่าที่จะทำได้
ผู้แทนลูกหนีท
้ ี่ตายมีหน้าที่ย่ น
ื คำชีแ
้ จงตามมาตรา ๓๐ ค่าใช้
จ่ายอันจำเป็ นในการนีใ้ ห้คิดเอาได้จากทรัพย์มรดก
 
มาตรา ๘๕  การที่ทายาท หรือผู้จัดการมรดก หรือผู้ปกครอง
ทรัพย์ได้กระทำไปเกี่ยวกับทรัพย์มรดกจะใช้ได้เพียงไรหรือไม่นน
ั ้ ให้ถือ
เสมือนว่าเป็ นการกระทำของลูกหนีห
้ รือบุคคลล้มละลายตามความในพระ
ราชบัญญัตินี ้
 
มาตรา ๘๖  เมื่อได้ชำ ระหนีท
้ งั ้ หมดโดยเต็ม จำนวนพร้อมทัง้
ดอกเบีย
้ ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัต ินีก
้ ับ ค่า ธรรมเนียมและค่าใช้
จ่า ยต่า ง ๆ หมดแล้ว ถ้า ยัง มีท รัพ ย์ม รดกเหลือ อยู่อ ีก ให้ เ จ้า พนัก งาน
พิทักษ์ทรัพย์มอบให้แก่ผู้แทนลูกหนีท
้ ี่ตายหรือผู้จัดการมรดก
 
มาตรา ๘๗  ถ้า ลูก หนีไ้ ด้ถ งึ แก่ค วามตายในระหว่า งการ
พิจ ารณาก็ด ี หรือ เมื่อ ศาลได้พ ิพ ากษาให้ล ้ม ละลายแล้ว ก็ด ี กระบวน
พิจารณาคงดำเนินต่อไป และให้นำบทบัญญัติในหมวดนีม
้ าใช้บังคับด้วย
 
หมวด ๓
กระบวนพิจารณาในกรณีที่ลูกหนีเ้ ป็ นห้างหุ้นส่วนสามัญ
ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด หรือนิติบุคคลอื่น
                  
 
มาตรา ๘๘  ในกรณีที่ล ูกหนีเ้ ป็ นห้า งหุ้น ส่วนสามัญ ซึ่ง ได้จด
ทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษท
ั จำกัด หรือนิตบ
ิ ค
ุ คลอื่น นอกจากเจ้าหนี้
จะฟ้ องขอให้ลม
้ ละลายได้ตามความในหมวด ๑ แล้ว  ผู้ชำ ระบัญ ชีข อง
นิต ิบ ุค คลนั น
้ ๆ อาจยื่ น คำร้อ งขอต่อ ศาลขอให้ส ั่ง ให้น ิต ิบ ุค คลนั น
้ ล้ม
ละลายได้ ถ้า ปรากฏว่า เงิน ลงทุน หรือ เงิน ค่า หุ้น ได้ใ ช้เ สร็จ หมดแล้ว
สินทรัพย์ก็ยังไม่พอกับหนีส
้ ิน
เมื่อ ศาลได้ร บ
ั คำ ร้อ งขอแล้ว ให้ม คำ
ี สัง่ พิท ก
ั ษ์ท รัพ ย์ข อง
นิตบ
ิ ค
ุ คลนัน
้ เด็ดขาดโดยทันที และให้ที่ป ระชุม เจ้า หนีแ
้ ต่ง ตัง้ เจ้า หนีค
้ น
หนึ่งขึน
้ ให้มส
ี ิทธิและหน้าที่เสมือนเจ้าหนีผ
้ ู้เป็ นโจทก์
 
มาตรา ๘๙  เมื่อศาลได้มีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ห้างหุ้นส่วนสามัญ
ซึง่ ได้จดทะเบียน หรือห้างหุ้นส่วนจำกัดแล้ว เจ้าหนีผ
้ ู้เป็ นโจทก์หรือเจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์อาจมีคำ ขอโดยทำเป็ นคำร้องให้บุคคลซึ่ง นำสืบได้
ว่าเป็ นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนนัน
้ ล้มละลายได้
โดยไม่ต้องฟ้ องเป็ นคดีขน
ึ ้ ใหม่
 
มาตรา ๙๐  เมื่อได้มคำ
ี ขอตามมาตราก่อนแล้ว ถ้าเจ้าหนีผ
้ เู้ ป็ น
โจทก์หรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีคำขอฝ่ ายเดียว โดยทำเป็ นคำร้องขอ
ให้พิทักษ์ทรัพย์ของผู้เป็ นหุ้นส่วนชั่วคราว และมีพยานหลักฐานแสดงให้
พอใจศาลว่า คำขอมีม ูล ศาลมีอำ นาจสั่ง พิทัก ษ์ทรัพ ย์ข องผู้น ัน
้ ชั่วคราว
ได้ แต่กอ
่ นจะมีคำสัง่ ดังว่านีจ้ ะให้เจ้าหนีผ
้ เู้ ป็ นโจทก์ให้ประกันค่าเสียหาย
ตามจำนวนทีศ
่ าลเห็นสมควรก็ได้
ถ้า ปรากฏภายหลัง ว ่า บุค คลที่ถ ูก ศาลสั่ง พิท ัก ษ์ท รัพ ย์
ชั่วคราวไม่ใช่ผู้เป็ นหุ้นส่วน ให้ศาลมีคำ สั่งถอนการพิทักษ์ทรัพย์ และถ้า
ผู้น ัน
้ มีคำ ขอโดยทำเป็ นคำร้อ ง ศาลมีอำ นาจสั่ง ให้เ จ้า หนีผ
้ ู้เป็ นโจทก์ซึ่ง
ขอให้พิทักษ์ทรัพย์ชดใช้ค่าเสียหายตามจำนวนที่เห็นสมควรให้ผู้นน
ั ้ หรือ
จะสั่งให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จ่ายจากสินทรัพย์ของห้างหุ้นส่วนก็ได้
ถ้าเจ้าหนีผ
้ ู้เป็ นโจทก์ไม่ปฏิบัติตามคำสัง่ ศาลดังว่าไว้ในวรรค
ก่อ น ศาลมีอำ นาจบัง คับ เจ้า หนีน
้ น
ั ้ เสมือ นหนึ่ง ว่า เป็ นลูก หนีต
้ ามคำ
พิพากษา
 
หมวด ๓/๑
[
กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการฟื้ นฟูกิจการของลูกหนี ้ ๒๖]
                  
 
ส่วนที่ ๑
บทนิยาม
                  
 
มาตรา ๙๐/๑  ในหมวดนี ้ เว้นแต่ข้อความจะแสดงให้เห็นเป็ น
อย่างอื่น
“เจ้า หนี”
้  หมายความว่า เจ้า หนีม
้ ีป ระกัน หรือ เจ้า หนีไ้ ม่ม ี
ประกัน
“ลูก หนี”
้  หมายความว่า ลูก หนีท
้ ี่เ ป็ นบริษ ัท จำ กัด บริษ ัท
มหาชนจำกัด หรือนิติบุคคลอื่นตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง
“คำร้องขอ” หมายความว่า คำร้องขอให้ศาลมีคำ สัง่ ให้ฟ้ื นฟู
กิจการ
“ผู้ร ้อ งขอ” หมายความว่า ผู้ย่ น
ื คำร้อ งขอให้ศ าลมีคำ สั่ง ให้
ฟื้ นฟูกิจการ
“แผน” หมายความว่า แผนฟื้ นฟูกิจการ
“ผู้ถือหุ้นของลูกหนี”
้  หมายความว่า ผู้ถือหุ้นของบริษัทจำกัด
หรือบริษัทมหาชนจำกัดซึ่งเป็ นลูกหนี ้ และหมายความรวมถึงผู้มีส่วนได้
เสียในนิติบุคคลอื่นซึ่งเป็ นลูกหนีทำ
้ นองเดียวกับผู้ถือหุ้น
“ผู้ทำแผน” หมายความว่า ผู้จัดทำแผนฟื้ นฟูกิจการ
“ผู้บริหารแผน” หมายความว่า ผู้จัดการกิจการและทรัพย์สิน
ของลูกหนีต
้ ามแผนฟื้ นฟูกิจการ
“ผู้บ ริห ารของลูก หนี”
้  หมายความว่า กรรมการ ผู้จ ัด การ
หรือ ผู้ม ีอำ นาจดำเนิน กิจ การของลูก หนีอ
้ ยู่ใ นวัน ที่ศ าลมีคำ สั่ง ให้ฟ้ื นฟู
กิจการ
“ผู้บริหารชั่วคราว” หมายความว่า ผู้บ ริห ารของลูก หนีห
้ รือ
บุค คลอื่น ที่ศ าลสั่ง ให้ม ีอำ นาจจัด การกิจ การและทรัพ ย์ส ิน ของลูก หนี ้
ชั่วคราวในระหว่างที่ศาลมีคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการแต่ยังไม่มีการตัง้ ผู้ทำแผน
 
ส่วนที่ ๒
การขอและการให้ฟ้ื นฟูกิจการ
                  
 
มาตรา ๙๐/๒  เจ้าหนีห
้ รือลูกหนีห
้ รือหน่วยงานของรัฐตาม
มาตรา ๙๐/๔ อาจร้อ งขอให้ม ีก ารฟื้ นฟ ูก ิจ การของล ก
ู หนีไ้ ด้ต าม
บทบัญญัติแห่งหมวดนี ้ ไม่ว่าลูกหนีจ
้ ะถูกฟ้ องให้ล้มละลายแล้วหรือไม่
กระบวนพิจารณาส่วนใดที่มิได้บัญญัติไว้ในหมวดนีโ้ ดยเฉพาะ
ให้นำบทบัญญัติในหมวดอื่นแห่งพระราชบัญญัตินม
ี ้ าใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๙๐/๓  เมื่อ ลูก หนีม
้ ีห นีส
้ ิน ล้น พ้น ตัวและเป็ นหนีเ้ จ้า
หนีค
้ นเดียว หรือหลายคนรวมกันเป็ นจำนวนแน่นอนไม่น้อยกว่าสิบล้าน
บาท ไม่ว่าหนีน
้ น
ั ้ จะถึง กำหนดชำระโดยพลันหรือในอนาคตก็ต าม ถ้า มี
เหตุอ ัน สมควรและมีช ่อ งทางที่จ ะฟื้ นฟูก ิจ การของลูก หนี ้ บุค คลตาม
มาตรา ๙๐/๔ อาจยื่นคำร้องขอต่อศาลให้มีการฟื้ นฟูกิจการได้
 
มาตรา ๙๐/๔  ภายใต้บังคับมาตรา ๙๐/๕ บุคคลซึ่งมีสิทธิย่ น

คำร้องขอต่อศาลให้ฟ้ื นฟูกิจการ ได้แก่บุคคลดังต่อไปนี ้
(๑) เจ้า หนีซ
้ ึ่ง อาจเป็ นคนเดีย วหรือ หลายคนรวมกัน และมี
จำนวนหนีแ
้ น่นอนไม่น้อยกว่าสิบล้านบาท
(๒) ลูกหนีซ
้ ึ่งมีลักษณะตามมาตรา ๙๐/๓
(๓) ธนาคารแห่ง ประเทศไทย ในกรณีท ี่ล ูก หนีต
้ ามมาตรา
๙๐/๓ เป็ นธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ หรือ
บริษัทเครดิตฟองซิเอร์
(๔ ) สำ น ัก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร กำ ก ับ ห ล ัก ท ร ัพ ย ์แ ล ะ
ตลาดหลักทรัพย์ ในกรณีที่ลูกหนีต
้ ามมาตรา ๙๐/๓ เป็ นบริษัทหลักทรัพย์
(๕) กรมการประกัน ภัย ในกรณีท ี่ล ูก หนีต
้ ามมาตรา ๙๐/๓
เป็ นบริษัทประกันวินาศภัยหรือบริษัทประกันชีวิต
(๖) หน่วยงานของรัฐที่มีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลการประกอบ
กิจการของลูกหนีต
้ ามมาตรา ๙๐/๓ ซึ่งเป็ นนิติบุคคล หน่วยงานของรัฐ
และลูกหนีด
้ ังกล่าวให้เป็ นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
เจ้าหนีข
้ องลูกหนีต
้ าม (๓) (๔) (๕) หรือ (๖) หรือลูกหนีน
้ น
ั ้ เอง
จะยื่นคำร้องขอตามมาตรา ๙๐/๓ ด้วยตนเองได้เมื่อได้รับความยินยอม
เป็ นหนังสือจากธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กรมการประกันภัย หรือหน่วยงานของ
รัฐตาม (๖) แล้วแต่กรณี
การขอความยิน ยอม ให้เ ป็ นไปตามหลัก เกณฑ์ วิธีก าร และ
เงื่อนไขที่หน่วยงานตามวรรคสองประกาศกำหนด
เมื่อธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กรมการประกันภัย หรือหน่วยงานของ
รัฐตาม (๖) แล้วแต่กรณี ได้รับคำขอความยินยอม ให้หน่วยงานนัน
้ แจ้งผล
การพิจารณาให้ผ ู้ขอทราบภายในสิบห้าวันนับตัง้ แต่วันที่ได้รับ คำขอ ใน
กรณีท ี่ไ ม่ใ ห้ค วามยิน ยอมให้แ จ้ง เหตุผ ลโดยย่อ และให้ผ ู้ข อมีส ิท ธิย่ น

อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีผู้กำกับดูแลหน่วยงานนัน
้ ภายในเจ็ดวันนับตัง้ แต่วน
ั ทีไ่ ด้
รับแจ้งผลการพิจารณา ให้รฐั มนตรีวน
ิ จ
ิ ฉัยอุทธรณ์ให้เสร็จสิน
้ ภายในสิบห้า
วันนับตัง้ แต่วันที่ได้รับอุทธรณ์ คำวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้เป็ นที่สุด
 
มาตรา ๙๐/๕  บุคคลตามมาตรา ๙๐/๔ จะยื่นคำร้องขอให้มี
การฟื้ นฟูกิจการของลูกหนีไ้ ม่ได้ ในกรณีดงั ต่อไปนี ้
(๑) ศาลได้มีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนีเ้ ด็ดขาด
(๒) ศาลหรือ นายทะเบีย นได้ม ีคำ สั่ง ให้เ ลิก หรือ เพิก ถอน
ทะเบีย นนิติบ ค
ุ คลที่เ ป็ นลูก หนี ้ หรือ มีก ารจดทะเบีย นเลิก นิต ิบ ุค คลนัน

หรือนิต ิบุคคลที่เ ป็ นลูกหนีต
้ ้องเลิกกันด้วยเหตุอ่ น
ื   ทัง้ นี ้ ไม่ว่า การชำระ
บัญชีของนิติบค
ุ คลดังกล่าวจะเสร็จแล้วหรือไม่
 
มาตรา ๙๐/๖  คำร้องขอของบุคคลตามมาตรา ๙๐/๔ เพื่อให้
ศาลมีคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการ จะต้องแสดงโดยชัดแจ้งถึง
(๑) ความมีหนีส
้ ินล้นพ้นตัวของลูกหนี ้
(๒) รายชื่อและที่อยู่ของเจ้าหนีค
้ นเดียวหรือหลายคนที่ล ูกหนี ้
เป็ นหนีอ
้ ยู่รวมกันเป็ นจำนวนไม่น้อยกว่าสิบล้านบาท
(๓) เหตุอันสมควรและช่องทางที่จะฟื้ นฟูกิจการ
(๔) ชื่อและคุณสมบัติของผู้ทำแผน
(๕) หนังสือยินยอมของผู้ทำแผน
ผู้ทำ แผนอาจเป็ นบุค คลธรรมดา นิต ิบ ุคคล คณะบุค คล เจ้า
หนีห
้ รือผู้บริหารของลูกหนีก
้ ็ได้
ถ้าเจ้าหนีเ้ ป็ นผู้ร้องขอ จะต้องแนบรายชื่อและที่อยู่ของเจ้าหนี ้
อื่นเท่าที่ทราบมาพร้อมคำร้องขอ
ถ้า ลูก หนีเ้ ป็ นผ ู้ร ้อ งขอ จะต้อ งแนบบัญ ชีแ สดงรายการ
ทรัพย์สินและหนีส
้ ินทัง้ หมดที่มีอยู่ รายชื่อและที่อยู่โดยชัดแจ้งของเจ้าหนี ้
ทัง้ หลายมาพร้อมคำร้องขอ
 
มาตรา ๙๐/๗  ในการร้องขอฟื้ นฟูกิจการ ผู้ร้องขอต้องชำระ
ค่าขึน
้ ศาลหนึ่งพันบาทและต้องวางเงินประกันค่าใช้จ่ายที่ผู้ร้องขอต้องรับ
ผิดชอบในการขอฟื้ นฟูกิจการไว้ต่อศาลเป็ นจำนวนห้าหมื่นบาทในขณะยื่น
คำร้องขอ หากค่าใช้จ่ายนัน
้ ไม่เพียงพอ ศาลจะมีคำสั่งให้ผู้ร้องขอวางเงิน
ประกันค่าใช้จ่ายเพิ่มขึน
้ ตามจำนวนที่เห็นสมควรก็ได้
ในกรณีที่ผู้ร้องขอไม่ยอมวางเงินประกันเพิ่มตามวรรคหนึ่ง ถ้า
ศาลยังไม่มีคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการ ให้ถือว่าผู้ร้องขอทิง้ คำร้องขอ แต่ถ้าศาล
ได้มคำ
ี สัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการแล้ว ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เรียกประชุมเจ้า
หนีท
้ งั ้ หลายและธนาคารแห่งประเทศไทย หรือสำนักงานคณะกรรมการ
กำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือกรมการประกันภัย หรือหน่วย
งานของรัฐที่มีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลการประกอบกิจการของลูกหนีต
้ าม
มาตรา ๙๐/๓ ซึ่งได้ให้ความยินยอมตามมาตรา ๙๐/๔ แล้วแต่กรณี เพื่อ
แต่งตัง้ เจ้าหนีอ
้ ่น
ื หรือลูกหนีห
้ รือผู้ให้ความยินยอมเป็ นผู้ร้องขอแทนต่อไป
โดยเร็ว ที่ส ุด  ถ้า ไม่ม ีผ ู้ร ้อ งขอแทนหรือ มีแ ต่ไ ม่ว างเงิน ประกัน ดัง กล่า ว
ภายในกำหนดหนึ่ง เดือ นนับ แต่ว ัน ที่ผ ู้ร ้อ งขอไม่ย อมวางเงิน ประกัน ดัง
กล่า วตามคำสั่ง ศาล ให้ศ าลมีคำ สั่ง ยกเลิก คำสัง่ ให้ฟ้ื นฟูก ิจ การและให้
จำหน่ายคดีออกจากสารบบความ
ในกรณีท ี่เ จ้า หนี ้ ธนาคารแห่ง ประเทศไทย สำนัก งานคณะ
กรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กรมการประกันภัย หรือ
หน่วยงานของรัฐตามมาตรา ๙๐/๔ (๖) แล้วแต่กรณี เป็ นผู้ร้องขอ ให้ผ ู้
ทำแผนชำระค่าใช้จ่ายดังกล่าวจากทรัพย์สินของลูกหนีค
้ ืนให้แก่ผู้ร้องขอ
ภายหลังที่ศาลมีคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการแล้วโดยไม่ชักช้า
ในการดำ เนิน กระบวนพิจ ารณาเพื่อ ฟื้ นฟูก ิจ การ ให้ถ ือ ว่า
ธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ
ตลาดหลัก ทรัพย์ กรมการประกันภัย หรือ หน่วยงานของรัฐตามมาตรา
๙๐/๔ (๖) แล้วแต่กรณี มีฐานะเช่นเดียวกับเจ้าหนี ้
 
มาตรา ๙๐/๘  ผู้ร้องขอจะถอนคำร้องขอไม่ได้ เว้นแต่ศาลจะ
อนุญาต แต่ถ้าศาลได้มีคำ สั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการแล้ว ศาลจะอนุญาตให้ถอน
คำร้องขอไม่ได้
ในกรณีที่ผู้ร้องขอทิง้ คำร้องขอ หรือขาดนัดพิจารณา หรือศาล
อนุญ าตให้ถ อนคำ ร้อ งขอ ก่อ นที่ศ าลจะสัง่ จำ หน่า ยคดี ให้โ ฆษณาใน
หนังสือพิมพ์รายวันที่แพร่หลายอย่างน้อยหนึ่งฉบับเพื่อให้เจ้าหนีท
้ งั ้ หลาย
และลูกหนีท
้ ราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน
 
มาตรา ๙๐/๙  เมื่อ ศาลสั่ง รับ คำร้อ งขอแล้ว ให้ดำ เนิน การ
ไต่สวนเป็ นการด่วนและให้ศาลประกาศคำสัง่ รับคำร้องขอและวันเวลานัด
ไต่สวนในหนังสือพิมพ์รายวันที่แพร่หลายอย่างน้อยหนึ่งฉบับไม่น้อยกว่า
สองครัง้ ห่างกันไม่เกินเจ็ดวัน กับให้ส่งสำเนาคำร้องขอแก่เจ้าหนีท
้ งั ้ หลาย
เท่าที่ทราบและแก่นายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทหรือนายทะเบียนนิติบุคคล
ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนายทะเบียนจะได้จดแจ้ง คำสั่งศาลไว้ในทะเบียน และให้
ส่ง ให้แ ก่ธนาคารแห่ง ประเทศไทย สำนัก งานคณะกรรมการกำกับ หลัก
ทรัพ ย์แ ละตลาดหลัก ทรัพ ย์ กรมการประกัน ภัย หรือ หน่ว ยงานของรัฐ
ตามมาตรา ๙๐/๔ (๖) แล้วแต่กรณีด้วย  ทัง้ นี ้ ให้ส่งก่อนวันนัดไต่สวนไม่
น้อยกว่าเจ็ดวัน
ถ้าเจ้าหนีเ้ ป็ นผู้ร้องขอ ให้ผ ู้ร้องขอนำส่งสำเนาคำร้องขอให้
ลูก หนีท
้ ราบก่อนวัน นัดไต่ส วนไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน และให้ล ูกหนีย
้ ่น
ื บัญชี
แสดงรายการทรัพย์สินและหนีส
้ ินทัง้ หมดที่มีอยู่ รายชื่อและที่อยู่โดยชัด
แจ้งของเจ้าหนีท
้ งั ้ หลายต่อศาลก่อนวันนัดไต่สวนด้วย
ลูก หนีห
้ รือ เจ้า หนีอ
้ าจยื่น คำ คัด ค้า นก่อ นวัน นัด ไต่ส วนนัด
แรกไม่น้อยกว่าสามวัน ในกรณีที่เป็ นการคัดค้านผู้ทำแผน ลูกหนีห
้ รือเจ้า
หนีจ
้ ะเสนอชื่อบุคคลอื่นเป็ นผู้ทำ แผนด้วยหรือไม่ก ็ได้ การเสนอชื่อ ผู้ทำ
แผนต้องเสนอหนังสือยินยอมของผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็ นผู้ทำแผนด้วย
ในกรณีทล
่ี ก
ู หนีถ้ ก
ู พิทก
ั ษ์ทรัพย์ชว่ ั คราว ให้ผร้ ู อ
้ งขอนำส่งสำเนา
คำร้องขอแก่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ด้วย
 
มาตรา ๙๐/๑๐  ในการไต่สวนคำร้องขอ ศาลต้องไต่สวนเอา
ความจริงตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๙๐/๓ ถ้าได้ความจริงและมีเหตุอ ัน
สมควรที่จะฟื้ นฟูกิจการ ทัง้ ผู้ร้องขอยื่นคำร้องขอโดยสุจริต ให้ศาลมีคำสั่ง
ให้ฟ้ื นฟูกิจการ มิฉะนัน
้ ให้มีคำสัง่ ยกคำร้องขอ
ในกรณีที่ไม่มีผู้คัดค้านคำร้องขอ ถ้าศาลเห็นสมควรจะงดการ
ไต่สวนและมีคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการก็ได้
 
มาตรา ๙๐/๑๑  ให้ศาลดำเนินการไต่สวนคำร้องขอติดต่อกัน
ไป โดยไม่ต้องเลื่อนจนกว่าจะเสร็จการไต่สวนและมีคำสั่ง เว้นแต่ในกรณี
ที่มีเหตุสุดวิสัย
ให้ผู้ร้องขอและผู้คัดค้านมาศาลในวันนัดไต่สวนทุกนัด ฝ่ ายใด
มีหน้าที่นำ สืบในนัดใดให้เ ตรียมพยานหลัก ฐานมาให้พ ร้อ ม ถ้าผู้ร้อ งขอ
หรือ ผู้ค ัด ค้า นไม่ม าหรือ ไม่เ ตรีย มพยานหลัก ฐานมา ให้ ถ ือ ว่า ไม่ต ิด ใจ
ร้องขอหรือคัดค้าน หรือไม่ติดใจนำสืบพยานหลักฐานอีก ต่อ ไป แล้วแต่
กรณี
ในกรณีที่ผ ู้มีหน้าที่นำ สืบ มีคำ ขอว่า ไม่อาจนำพยานหลัก ฐาน
สำคัญเกี่ยวกับประเด็น ข้อสำคัญในคดีมาศาลในนัดใด เพราะมีความจำเป็ น
อันไม่อาจก้าวล่วงเสียได้เกีย
่ วกับพยานหลักฐานนัน
้  ถ้าศาลเห็นสมควร ศาล
จะสั่งให้เลื่อนการสืบพยานหลักฐานนัน
้ ไปก็ได้ แต่ให้สั่งเลื่อนได้เพียงครัง้
เดียว
ในกรณีทผ
่ี รู้ อ
้ งขอหรือผูค
้ ด
ั ค้านไม่มห
ี น้าทีนำ
่ สืบในนัดใด เมื่อได้
รับอนุญาตจากศาลแล้วจะไม่มาศาลในนัดนัน
้ ก็ได้ ในกรณีเช่นนีใ้ ห้ถือว่าผู้
นัน
้ สละสิทธิถามค้านพยานที่นำสืบในนัดนัน

ในกรณีที่ผ ู้ร้อ งขอหรือ ผู้ค ัด ค้า นไม่ม าศาลในนัด ใด ไม่ว ่า จะ
ได้รับอนุญาตจากศาลหรือไม่ ให้ถือว่าผู้นน
ั ้ ได้ทราบกระบวนพิจารณาของ
ศาลในนัดนัน
้ แล้ว
 
มาตรา ๙๐/๑๒  ภายใต้บ ัง คับ ของมาตรา ๙๐/๑๓ และ
มาตรา ๙๐/๑๔ นับแต่วันที่ศาลมีคำสั่งรับคำร้องขอไว้เพื่อพิจารณาจนถึง
วันครบกำหนดระยะเวลาดำเนินการตามแผน หรือวันที่ดำเนินการเป็ นผล
สำเร็จตามแผนหรือวัน ที่ศ าลมีคำ สั่ง ยกคำร้อ งขอ หรือ จำหน่า ยคดีห รือ
ยกเลิกคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการหรือยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการหรือพิทักษ์ทรัพย์
ของลูกหนีเ้ ด็ดขาดตามความในหมวดนี ้
(๑) ห้ามมิให้ฟ้ องหรือ ร้อ งขอให้ศ าลพิพ ากษาหรือ สั่ง ให้เ ลิก
นิติบุคคลที่เป็ นลูกหนี ้ ถ้า มีการฟ้ องหรือร้องขอคดีดังกล่าวไว้ก่อนแล้ว ให้
ศาลงดการพิจารณาคดีนน
ั ้ ไว้
(๒) ห้ามมิให้นายทะเบียนมีคำ สั่งให้เลิกหรือ จดทะเบียนเลิก
นิติบุคคลที่เป็ นลูกหนีแ
้ ละห้ามมิให้นิติบุคคลนัน
้ เลิกกันโดยประการอื่น
(๓) ห้า มมิใ ห้ธ นาคารแห ่ง ประเทศไทย สำ นัก งานคณะ
กรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กรมการประกันภัย หรือ
หน่วยงานของรัฐตามมาตรา ๙๐/๔ (๖) แล้วแต่กรณี สั่ง ให้เ พิก ถอนใบ
อนุญาตประกอบกิจการของลูกหนีห
้ รือสั่งให้ลูกหนีห
้ ยุดประกอบกิจการ
เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากศาลที่รับคำร้องขอ
(๔) ห้ามมิให้ฟ้องลูกหนีเ้ ป็ นคดีแพ่งเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูก
หนีห
้ รือเสนอข้อพิพาทที่ลูกหนีอ
้ าจต้องรับผิดหรือได้รับความเสียหายให้
อนุญาโตตุลาการชีข
้ าด ถ้ามูลแห่งหนีน
้ น
ั ้ เกิดขึน
้ ก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งเห็น
ชอบด้วยแผน และห้ามมิให้ฟ้องลูกหนีเ้ ป็ นคดีล้มละลาย ในกรณีที่มีการ
ฟ้ องคดีหรือเสนอข้อพิพ าทให้อ นุญ าโตตุล าการชีข
้ าดไว้ก ่อ นแล้ว ให้ง ด
การพิจารณาไว้ เว้นแต่ศาลที่รับคำร้องขอจะมีคำสั่งเป็ นอย่างอื่น
(๕) ห้ามมิให้เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของ
ลูกหนี ้ ถ้ามูลแห่งหนีต
้ ามคำพิพากษานัน
้ เกิดขึน
้ ก่อนวันที่ศาลมีคำ สัง่ เห็น
ชอบด้วยแผน ในกรณีที่ได้ดำ เนินการบังคับคดีไว้ก ่อนแล้วให้ศาลงดการ
บังคับคดีนน
ั ้ ไว้ เว้นแต่ศาลที่รับคำร้องขอจะมีคำสัง่ เป็ นอย่างอื่น หรือการ
บังคับคดีได้สำเร็จบริบูรณ์แล้วก่อนที่เจ้าพนักงานบังคับคดีจะทราบว่าได้มี
การยื่น คำร้อ งขอ หรือ การบัง คับ คดีต ามคำพิพ ากษาให้ล ูก หนีส
้ ง่ มอบ
ทรัพย์เฉพาะสิ่งเสร็จก่อนวันดังกล่าวนัน

ในกรณีที่ทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัดไว้เป็ นของเสียง่าย หรือ
ถ้าหน่วงช้าไว้จะเป็ นการเสี่ยงต่อความเสียหายหรือค่าใช้จ่ายจะเกินส่วน
แห่งค่าของทรัพย์สินนัน
้ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีขายได้โดยวิธีขายทอด
ตลาดหรือวิธีอ่ น
ื ที่ส มควร แล้วให้ก ัก เงิน ไว้ ถ้า ศาลมี คำ สั่ง เห็น ชอบด้ว ย
แผนก็ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมอบเงินนัน
้ แก่ผู้บริหารแผนนำไปใช้จ่ายได้
ถ้า ศาลมีคำ สั่ง ยกคำ ร้อ งขอหรือ จำ หน่า ยคดีห รือ ยกเลิก คำ สั่ง ให้ฟ้ื นฟู
กิจการหรือยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการก็ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีจ่ายเงินให้แก่
เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา แต่ถ้าศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนีเ้ ด็ดขาด
และยังเหลือเงินอยู่ ให้ส่งมอบให้แก่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ต่อไป
(๖) ห้ามมิให้เจ้าหนีม
้ ีประกันบังคับ ชำระหนีเ้ อาแก่ทรัพย์สิน
ที่เป็ นหลักประกัน เว้น แต่จะได้รับอนุญาตจากศาลที่รับคำร้องขอ
(๗) ห้ามมิให้เจ้าหนีซ
้ ึ่งบังคับชำระหนีไ้ ด้เองตามกฎหมาย ยึด
ทรัพย์สินหรือขายทรัพย์สินของลูกหนี ้
(๘) ห้ามมิให้เจ้าของทรัพย์สินที่เป็ นสาระสำคัญในการดำเนิน
กิจ การของลูก หนีต
้ ามสัญ ญาเช่า ซื้อ สัญ ญาซื้อ ขายหรือ สัญ ญาอื่น ที่ม ี
เงื่อ นไขหรือ เงื่อ นเวลาในการโอนกรรมสิท ธิ ์ หรือ สัญ ญาเช่า ที่ย ัง ไม่ส น
ิ้
กำหนดเวลาที่ได้ตกลงกันไว้ ติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพย์สินดังกล่าวที่อยู่
ในความครอบครองของลูกหนีห
้ รือของบุคคลอื่นที่อาศัยสิทธิของลูกหนี ้
รวมตลอดจนฟ้ องร้องบัง คับคดีเ กี่ยวกับ ทรัพ ย์ส ิน และหนีซ
้ งึ่ เกิด ขึน
้ จาก
สัญ ญาดัง กล่า ว ถ้า มีก ารฟ้ องคดีด ัง กล่า วไว้ก ่อ นแล้ว ให้ศ าลงดการ
พิจารณาคดีนน
ั ้ ไว้ เว้นแต่ศาลที่รับคำร้องขอจะมีคำ สั่งเป็ นอย่างอื่น หรือ
หลังจากวันที่ศาลมีคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการ ลูกหนี ้ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
ผู้บริหารชั่วคราว ผู้ทำแผน ผู้บริหารแผน หรือผูบ
้ ริหารแผนชัว่ คราว แล้ว
แต่กรณี ผิดนัดไม่ชำระค่าเช่าซื้อ ราคา ค่าตอบแทนการใช้ทรัพย์ หรือค่าเช่า
ตามสัญญา สองคราวติดต่อกัน หรือ กระทำผิด สัญ ญาในข้อ ที่เ ป็ นสาระ
สำคัญ
(๙) ห้ามมิให้ลก
ู หนีจำ
้ หน่าย จ่าย โอน ให้เช่า ชำระหนี ้ ก่อหนี ้
หรือ กระทำการใด ๆ ที่ก ่อ ให้เ กิด ภาระในทรัพ ย์ส ิน นอกจากเป็ นการ
กระทำที่จำ เป็ นเพื่อ ให้ก ารดำเนิน การค้า ตามปกติข องลูก หนีส
้ ามารถ
ดำเนินต่อไปได้ เว้นแต่ศาลที่รับคำร้องขอจะมีคำสั่งเป็ นอย่างอื่น
(๑๐) คำสั่ง ตามวิธ ีก ารชั่ว คราวของศาลที่ใ ห้ย ึด อายัด ห้า ม
จำหน่า ย จ่า ย โอน ทรัพย์สน
ิ ของลูกหนี ้ หรือให้พท
ิ ก
ั ษ์ทรัพย์ของลูกหนี ้
ชัว่ คราว ซึง่ มีอยูก
่ อ
่ นวันทีศ
่ าลมีคำ สัง่ รับคำร้องขอไว้เพื่อพิจารณานัน
้ ให้
ศาลที่รับคำร้องขอมีอำนาจสั่งให้ระงับผลบังคับไว้ หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลง
เป็ นอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่เห็นสมควรก็ได้ แต่ถ้าต่อมาศาลนัน
้ มีคำสั่งยก
คำร้องขอหรือจำหน่ายคดีหรือยกเลิกคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการหรือยกเลิกการ
ฟื้ นฟูกิจการก็ให้มีคำสั่งเกี่ยวกับวิธีการชั่วคราวหรือคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของ
ลูกหนีช
้ ั่วคราวดังกล่าวตามที่เห็นสมควรต่อไป
(๑๑) ห้ามมิให้ผป
ู้ ระกอบการสาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้ า ประปา
โทรศัพท์ งดให้บริการแก่ลูกหนี ้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากศาลที่รับ คำ
ร้องขอ หรือหลังจากวันที่ศาลมีคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการ ลูกหนี ้ เจ้าพนักงาน
พิทักษ์ทรัพย์ ผู้บริหารชั่วคราว ผู้ทำแผน ผู้บริหารแผน หรือผู้บริหารแผน
ชั่วคราว แล้วแต่กรณี ไม่ชำระค่าบริการที่เกิดขึน
้ หลังจากวันที่ศาลมีคำสั่ง
ให้ฟ้ื นฟูกิจการสองคราวติดต่อกัน
บทบัญญัติในวรรคหนึ่งไม่ห้ามผู้ประกอบการสาธารณูปโภคที่
จะมีคำ ร้องให้ศาลที่รับคำร้องขอมีคำ สั่งเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของผู้ร้อง
ตามที่ศาลเห็นสมควร
คำ พ พ
ิ า ก ษ า ห ร ือ คำ ส ั่ง ข อ ง ศ า ล ห ร ือ คำ ช ข
ี้ า ด ข อ ง
อนุญาโตตุลาการที่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติในอนุมาตราหนึ่งอนุมาตรา
ใดของวรรคหนึ่งไม่มีผลผูกพันลูกหนี ้
การออกคำสั่งของนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท นายทะเบียน
นิติบุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือผูม
้ อำ
ี นาจหน้าทีเ่ กีย
่ วกับนิตบ
ิ ค
ุ คลซึง่ เป็ นลูกหนี้
การทำนิตก
ิ รรม หรือการชำระหนีใ้ ด ๆ ทีข
่ ด
ั หรือ แย้ง กับ บทบัญ ญัต ิใ น
อนุมาตราหนึ่งอนุมาตราใดของวรรคหนึ่ง การนัน
้ เป็ นโมฆะ
 
มาตรา ๙๐/๑๓  เจ้าหนีแ
้ ละบุคคลซึง่ ถูกจำกัดสิทธิตามมาตรา
๙๐/๑๒ อาจยื่น คำ ร้อ งต่อ ศาลที่ร ับ คำ ร้อ งขอเพื่อ ให้ม ีคำ สั่ง แก้ไ ข
เปลี่ย นแปลง หรือ ยกเลิก ข้อ จำกัด สิท ธิข องตนตามมาตรา ๙๐/๑๒ ได้
หากการจำกัดสิทธิของผู้ร้องนัน

(๑) ไม่มีความจำเป็ นต่อการฟื้ นฟูกิจการ หรือ
(๒) มิได้ให้ความคุ้มครองสิทธิของเจ้าหนีม
้ ีประกันอย่างเพียง
พอ
เมื่อ ได้รับ คำร้อ งตามวรรคหนึ่ง ให้ศ าลดำเนิน การพิจ ารณา
เป็ นการด่ว น หากปรากฏเหตุต ามวรรคหนึ่ง ให้ศ าลมีคำ สัง่ ตามที่เ ห็น
สมควรเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของผู้ร้อง และหากเป็ นกรณีตาม (๒) ศาล
อาจมีคำสัง่ ให้ดำเนินการแก้ไขเพื่อให้เจ้าหนีม
้ ป
ี ระกันได้รบ
ั ความคุม
้ ครอง
อย่างเพียงพอก็ได้
 
มาตรา ๙๐/๑๔  การดำ เนิน การดัง ต่อ ไปนีถ
้ ือ เป็ นการให้
ความคุ้มครองแก่เจ้าหนีม
้ ีประกันอย่างเพียงพอแล้ว
(๑) มีก ารชำ ระหนีใ้ ห้แ ก่เ จ้า หนีม
้ ีป ระกัน ในจำ นวนเท่า กับ
มูลค่าที่ลดลงไปของทรัพย์สินอันเป็ นหลักประกันที่ตกอยู่ภายใต้บังคับของ
การจำกัดสิทธิตามมาตรา ๙๐/๑๒ (๖) เพราะเหตุของการจำกัดสิทธินน
ั้
(๒) มีการให้ห ลักประกัน แก่เ จ้า หนีม
้ ีป ระกัน เพื่อ ชดเชยหลัก
ประกัน เดิมในจำนวนเท่ากับ มูล ค่า ที่ล ดลงไปของทรัพ ย์ส ิน อัน เป็ นหลัก
ประกันที่ตกอยู่ภายใต้บังคับของการจำกัดสิทธิตามมาตรา ๙๐/๑๒ (๖)
เพราะเหตุการจำกัดสิทธินน
ั ้ หรือ
(๓) มีการดำเนินการอื่นใดที่เจ้าหนีม
้ ีประกันนัน
้ ยินยอม หรือที่
ศาลเห็น ว่าจะทำให้เ จ้า หนีม
้ ีป ระกัน สามารถได้รับ ชำระหนีข
้ องตนตาม
มูล ค่า ของทรัพ ย์ส ิน อัน เป็ นหลัก ประกัน ในเวลาที่ม ีก ารยื่น คำร้อ งขอให้
ฟื้ นฟูกิจการพร้อมดอกเบีย
้ และผลประโยชน์ตามสัญญา เมื่อการดำเนิน
การตามความในหมวดนีส
้ น
ิ ้ สุดลง
 
มาตรา ๙๐/๑๕  ถ้า อายุค วามหรือ ระยะเวลาเกี่ย วกับ การ
ดำเนินกระบวนพิจารณาและการบังคับคดี หรือ ระยะเวลาเกี่ยวกับ การ
เสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการที่ถ ูกห้ามมิให้ดำเนินการหรือถูกงดไว้
ตามมาตรา ๙๐/๑๒ ครบกำหนดก่อนวันครบกำหนดระยะเวลาดำเนินการ
ตามแผน หรือวันที่ดำเนินการเป็ นผลสำเร็จตามแผนหรือวันที่ศาลมีคำสั่ง
ยกคำร้องขอหรือจำหน่ายคดีหรือยกเลิกคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการหรือยกเลิก
การฟื้ นฟูกิจการของลูกหนีห
้ รือพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนีเ้ ด็ดขาดตามความ
ในหมวดนี ้ หรือจะครบกำหนดภายในหกเดือนนับแต่วันดังกล่าว ให้อายุ
ความหรือระยะเวลานัน
้ ยังไม่ครบกำหนดจนกว่าจะพ้นกำหนดเวลาหนึ่งปี
นับ แต่วัน ดัง กล่าว แล้วแต่ก รณี แต่ถ ้า อายุค วามหรือ ระยะเวลานัน
้ ตาม
กฎหมายมีน ้อยกว่าหนึ่ง ปี ก็ให้นำ อายุค วามหรือ ระยะเวลาที่ส น
ั ้ กว่า ดัง
กล่าวนัน
้ มาใช้แทนกำหนดเวลาหนึ่งปี ดังกล่าว
 
ส่วนที่ ๓
การตัง้ ผู้ทำแผน
                  
 
มาตรา ๙๐/๑๖  ในกรณีที่รัฐมนตรีเห็นสมควรเพื่อประโยชน์
ของการฟื้ นฟูก ิจ การ รัฐ มนตรีจ ะออกกฎกระทรวงที่เ กี่ย วกับ การจด
ทะเบียนและการกำหนดคุณสมบัติของผู้ทำแผนและผู้บริหารแผนก็ได้
 
มาตรา ๙๐/๑๗  ในการพิจารณาตัง้ ผู้ทำ แผน ถ้าลูกหนีห
้ รือ
เจ้าหนีผ
้ ค
ู้ ัดค้านไม่ได้เสนอบุคคลอื่นเป็ นผู้ทำแผนด้วย เมื่อศาลสัง่ ให้ฟ้ื นฟู
กิจการ ศาลจะมีคำสั่งตัง้ บุคคลที่ผู้ร้องขอเสนอเป็ นผู้ทำ แผนก็ได้ ถ้าศาล
เห็นว่าบุคคลที่ผู้ร้องขอเสนอไม่สมควรเป็ นผู้ทำ แผนก็ดี หรือลูกหนี ้ เจ้า
หนีผ
้ ู้ค ัด ค้า นเสนอบุค คลอื่น เป็ นผู้ทำ แผนด้ว ยก็ด ี ให้ศ าลมีคำ สั่ง ให้เ จ้า
พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์เ รีย กประชุม เจ้า หนีท
้ งั ้ หลายโดยเร็ว ที่ส ุด เพื่อ
พิจารณาเลือกว่าบุคคลใดสมควรเป็ นผู้ทำแผน
ในกรณีที่ลูกหนีม
้ ิได้เสนอผู้ทำแผน มติเลือกผู้ทำแผนต้องเป็ น
มติของเจ้าหนีฝ
้ ่ ายที่มีจำ นวนหนีข
้ ้างมากซึ่งได้ออกเสียงลงคะแนนในมติ
นัน
้ แต่ในกรณีที่ลูกหนีเ้ สนอผู้ทำแผนด้วย ให้ผู้ทำแผนที่ลูกหนีเ้ สนอเป็ นผู้
ทำแผน เว้น แต่จะมีมติข องเจ้า หนีฝ
้ ่ ายที่มีจำ นวนหนีไ้ ม่น ้อ ยกว่า สองใน
สามของจำนวนหนีท
้ งั ้ หมดของเจ้าหนีซ
้ ึ่งได้ออกเสียงลงคะแนนในมตินน
ั้
กำหนดให้บค
ุ คลอื่นเป็ นผู้ทำ แผน ในการลงมติตามมาตรานี ้ ให้เจ้าหนีม
้ ี
ประกันออกเสียงได้เต็มตามจำนวนหนี ้
ในการประชุมเจ้าหนีเ้ พื่อพิจารณาเลือกผู้ทำแผน ถ้าที่ประชุม
มีมติเลือกผู้ทำแผนได้ และศาลเห็นชอบด้วย ให้ศาลตัง้ บุคคลดังกล่าวเป็ น
ผู้ทำ แผน หากศาลไม่เห็นชอบด้วย ให้ศาลมีคำ สั่งให้เจ้าพนักงานพิทักษ์
ทรัพย์เรียกประชุมเจ้าหนีอ
้ ีกครัง้ หนึ่ง เพื่อเลือกบุคคลหนึง่ บุคคลใดซึง่ เจ้า
หนีห
้ รือลูกหนีเ้ สนอชื่อเป็ นผู้ทำแผน
ถ้า ที่ป ระชุม เจ้า หนีไ้ ม่อ าจมีม ติเ ลือ กผู้ทำ แผนได้ ให้เ จ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์เรียกประชุมเจ้าหนีเ้ พื่อพิจารณาเลือกผู้ทำ แผนอีก
ครัง้ หนึ่ง เว้นแต่ในกรณีที่เห็นสมควรศาลจะมีคำ สั่งยกเลิก คำสัง่ ให้ฟ้ื นฟู
กิจการก็ได้
ในการประชุมเจ้าหนีใ้ นวรรคสามหรือ วรรคสี่ ถ้าที่ประชุมมี
มติเ ลือ กผู้ทำ แผนได้ ให้ศ าลตัง้ บุค คลดัง กล่า วเป็ นผู้ทำ แผน เว้น แต่ใ น
กรณีท ี่ม ีเ หตุผ ลอัน สมควรที่จ ะไม่ต งั ้ บุค คลดัง กล่า วเป็ นผู้ทำ แผนหรือ ที่
ประชุมไม่อาจมีมติเลือกผู้ทำ แผนได้ ให้ศาลมีคำ สั่งยกเลิกคำสั่งให้ฟ้ื นฟู
กิจการ
ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์รายงานผลของการประชุมเจ้าหนี ้
ที่พิจารณาเลือกผู้ทำ แผนทุกครัง้ ต่อศาลภายในสามวันนับแต่วันประชุม
เพื่อให้ศาลพิจารณาและมีคำสั่งต่อไป
การเสนอชื่อ ผู้ทำ แผนต่อ ที่ป ระชุม เจ้า หนีต
้ ้อ งเสนอหนัง สือ
ยินยอมของผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็ นผู้ทำแผนด้วย
 
มาตรา ๙๐/๑๘  เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ต ้อ งโฆษณา
กำหนดวัน เวลา และสถานที่ที่จะประชุมเจ้าหนีเ้ พื่อพิจารณาเลือกผู้ทำ
แผนในหนัง สือ พิมพ์ร ายวัน ที่แ พร่ห ลายอย่า งน้อ ยหนึ่ง ฉบับ ล่ว งหน้า ไม่
น้อยกว่าเจ็ดวัน และต้องแจ้ง ไปยังลูกหนีแ
้ ละเจ้า หนีท
้ งั ้ หลายตามบัญ ชี
รายชื่อที่ลูกหนีห
้ รือเจ้าหนีเ้ สนอต่อศาลและเจ้าหนีอ
้ ่น
ื เท่าที่ทราบด้วย
ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็ นประธานในการประชุมเจ้าหนี ้
และให้มีรายงานการประชุม ลงลายมือชื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เก็บไว้
เป็ นหลักฐาน
 
มาตรา ๙๐/๑๙  ในการพิจารณาของศาลและการประชุมเจ้า
หนีท
้ ุก ครัง้ ให้ล ูก หนีไ้ ปศาล ไปประชุม และตอบคำ ถามของศาล เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ผู้บริหารชั่วคราว ผู้ทำแผน ผู้บริหารแผน ผู้บริหาร
แผนชั่ว คราว หรือ เจ้า หนีค
้ นหนึ่ง คนใดในเรื่อ งที่เ กี่ย วกับ กิจ การและ
ทรัพย์สินของตน ในกรณีเช่นนีล
้ ก
ู หนีจ
้ ะเสนอความเห็นอย่างหนึ่งอย่างใด
ต่อศาลหรือที่ประชุมก็ได้
เมื่อ ลูก หนีร้ ้อ งขอ ศาลหรือ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์จ ะ
อนุญาตให้ลูกหนีไ้ ม่ต้องไปศาลหรือไม่ไปประชุมเจ้าหนีใ้ นนัดใดก็ได้ แล้ว
แต่กรณี
ให้นำ บทบัญ ญัติใ นวรรคหนึ่ง และวรรคสองมาใช้บ ัง คับ แก่ผ ู้
บริหารชั่วคราว ผู้ทำแผน ผู้บริหารแผน และผู้บริหารแผนชั่วคราว ในการ
พิจารณาของศาลและการประชุมเจ้าหนีใ้ นระหว่างที่บุคคลเหล่านีย
้ ังคง
มีหน้าที่ตามตำแหน่งดังกล่าวด้วยโดยอนุโลม
 
มาตรา ๙๐/๒๐  ในกรณีทศ
่ี าลสัง่ ให้ฟ้ ื นฟูกจ
ิ การแต่ยงั ไม่มก
ี าร
ตัง้ ผูทำ
้ แผน ให้อำ นาจหน้า ที่ใ นการจัด การกิจ การและทรัพ ย์ส ิน ของผู้
บริห ารของลูก หนีส
้ น
ิ ้ สุด ลง ให้ศ าลมีคำ สัง่ ตัง้ บุค คลใดบุค คลหนึ่ง หรือ
หลายคนหรือ ผู้บ ริห ารของลูก หนีเ้ ป็ นผู้บ ริห ารชั่ว คราวมีอำ นาจหน้า ที่
จัดการกิจการและทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ่อไปภายใต้การกำกับดูแลของเจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์จนกว่าจะมีการตัง้ ผู้ทำแผน ในระหว่างที่ไม่สามารถ
มีคำสัง่ ตัง้ ผู้บริหารชั่วคราวได้ ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจจัดการ
กิจการและทรัพย์สินของลูกหนีช
้ ั่วคราว
ในการกำ กับ ดูแ ลนัน
้ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์จ ะกำ หนด
อำนาจหน้าที่ รวมทัง้ สั่งให้ผู้บริหารชั่วคราวทำคำชีแ
้ จงในเรื่องบัญชี เรื่อง
การเงินหรือเรื่องใด ๆ เกี่ยวกับการจัดการกิจการและทรัพย์สิน หรือจะสั่ง
ให้กระทำหรือมิให้กระทำการใด ๆ ตามที่เห็นสมควรก็ได้
เมื่อศาลเห็นสมควรหรือเมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มี คำ ขอ
ให้ศาลมีอำนาจสั่งให้ผู้บริหารชั่วคราวพ้นจากอำนาจหน้าที่ ในกรณีเช่นนี ้
ศาลจะสั่งตัง้ ผูบ
้ ริหารชั่วคราวใหม่ขน
ึ ้ ทำหน้าที่ก็ได้ ถ้าศาลไม่มีคำ สั่งตัง้ ผู้
บริหารชั่วคราวใหม่ ก็ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจจัดการกิจการ
และทรัพย์สินของลูกหนีช
้ ั่วคราวไปตามวรรคหนึ่ง
ให้ศาลแจ้งคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการและคำสั่งตัง้ หรือให้ผ ู้บริหาร
ชั่วคราวพ้นจากอำนาจหน้าที่ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทราบ และให้
เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์โ ฆษณาคำ สั่ง ให้ฟ้ื นฟูก ิจ การในราชกิจ จานุ
เบกษาและหนังสือพิมพ์รายวันที่แพร่หลายไม่น้อยกว่าสองฉบับ และแจ้ง
คำสั่งดังกล่าวไปยังนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทหรือนายทะเบียนนิติบุคคล
ที่เกี่ยวข้องโดยด่วน เพื่อนายทะเบียนจะได้จดแจ้งคำสัง่ ศาลไว้ในทะเบียน
และแจ้งไปยังธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กรมการประกันภัย หรือหน่วยงานของ
รัฐตามมาตรา ๙๐/๔ (๖) แล้วแต่กรณี เพื่อทราบด้วย
 
มาตรา ๙๐/๒๑  ภายใต้บ ัง คับ มาตรา ๙๐/๔๒ และมาตรา
๙๐/๖๔ ในกรณีท ี่ศ าลมีคำ สั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการแต่ยังไม่มีการตัง้ ผู้ทำ แผน
ให้บรรดาสิทธิตามกฎหมายของผู้ถือหุ้นของลูกหนีร้ ะงับลง เว้นแต่สท
ิ ธิทจ
่ี ะ
ได้รบ
ั เงินปั นผล และให้สท
ิ ธิดงั กล่าวตกแก่ผบ
ู้ ริหารชัว่ คราวหรือเจ้าพนักงาน
พิทักษ์ทรัพย์ แล้วแต่กรณี จนกว่าจะมีการตัง้ ผู้ทำแผน
ให้นำ บทบัญญัตม
ิ าตรา ๙๐/๑๒ (๙) มาใช้บงั คับแก่ผบ
ู้ ริหาร
ชัว่ คราวและเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์โดยอนุโลม
เมื่อได้รับทราบคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการแล้ว ผู้บริหารของลูกหนี ้
ต้องส่งมอบทรัพย์สิน ดวงตรา สมุดบัญชี และเอกสารเกี่ยวกับทรัพย์สิน
หนีส
้ ิน และกิจการของลูกหนีแ
้ ก่ผู้บริหารชั่วคราวหรือเจ้าพนักงานพิทก
ั ษ์
ทรัพ ย์ แล้วแต่ก รณี โดยเร็วทีส
่ ด
ุ เพื่อ การนีใ้ ห้ผ บ
ู้ ริห ารชัว่ คราวหรือ เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจเรียกให้ผู้ครอบครองส่งมอบทรัพย์สิน ดวง
ตรา สมุดบัญชี และเอกสารข้างต้นแก่ตนได้ด้วย
ให้ผบ
ู้ ริหารชัว่ คราวทีศ
่ าลมีคำสัง่ ให้พน
้ จากอำนาจหน้าทีม
่ ห
ี น้าที่
ตามความในวรรคสามด้วยโดยอนุโลม
 
มาตรา ๙๐/๒๒  เจ้าหนีท
้ ม
่ี ส
ี ท
ิ ธิออกเสียงในทีป
่ ระชุมเจ้าหนีเ้ พื่อ
พิจารณาเลือกผูทำ
้ แผน ต้องเป็ นเจ้าหนีท
้ ี่อาจขอรับ ชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟู
กิจการได้ และลูกหนีไ้ ด้ก่อนิติสัมพันธ์ดังกล่าวนัน
้ ขึน
้ ก่อนศาลมีคำ สั่งให้
ฟื้ นฟูกิจการ แม้ว่าหนีน
้ น
ั ้ ยังไม่ถึงกำหนดชำระหรือ มีเ งื่อ นไขก็ตาม โดย
เจ้าหนีไ้ ด้แสดงความประสงค์จะเข้าประชุมตามแบบพิมพ์ที่เจ้าพนักงาน
พิท ัก ษ์ทรัพ ย์กำ หนดและแสดงหลัก ฐานแห่ง ความเป็ นเจ้า หนีจ
้ นเป็ นที่
พอใจของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ก่อนวันประชุม
เจ้าหนีแ
้ ละลูกหนีจ
้ ะขอตรวจหลักฐานแห่งความเป็ นเจ้าหนีต
้ ่อ
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ก็ได้
เจ้าหนีจ
้ ะออกเสียงด้วยตนเองหรือมอบฉันทะเป็ นหนังสือให้ผ ู้
อื่นออกเสียงแทนก็ได้
 
มาตรา ๙๐/๒๓  ในการประชุมเจ้าหนีเ้ พื่อพิจารณาเลือกผู้ทำ
แผน ให้เจ้าพนักงานพิทัก ษ์ทรัพ ย์ถ ามลูก หนีแ
้ ละเจ้า หนีท
้ ี่มาประชุมว่า
จะคัดค้านการออกเสียงของเจ้าหนีร้ ายใดหรือไม่ ถ้ามีผู้คัดค้านการออก
เสียงของเจ้าหนีร้ ายใด ให้เ จ้า พนัก งานพิทัก ษ์ทรัพ ย์ส อบถามผู้ค ัด ค้า น
เจ้าหนีผ
้ ู้ถูกคัดค้านและลูกหนีเ้ กี่ยวกับเรื่องที่คัดค้าน ถ้าบุคคลดังกล่าวมา
ประชุม แล้ว มีคำ สั่ง ให้เ จ้า หนีร้ ายนัน
้ ออกเสีย งในจำนวนหนีไ้ ด้ห รือ ไม่
เท่าใด
คำสัง่ ของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตามวรรคหนึ่งให้เป็ นที่สุด
โดยให้ม ีผ ลเฉพาะให้เ จ้า หนีม
้ ีส ิท ธิอ อกเสีย งในที่ป ระชุม เจ้า หนีห
้ รือ ไม่
เท่านัน
้ แต่ไม่มีผลให้มติเลือกผู้ทำแผนที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์รายงาน
ต่อศาลเปลี่ยนแปลงไปหรือกระทบถึงสิทธิในการได้รับ ชำระหนีข
้ องเจ้า
หนี ้
 
มาตรา ๙๐/๒๔  ถ้าศาลมีคำสัง่ ตัง้ ผูทำ
้ แผน ให้ศาลแจ้งคำสัง่ นัน

แก่ผทำ
้ ู แผน เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ผู้บ ริห ารของลูก หนี ้ และผู้บริหาร
ชั่วคราวโดยไม่ชักช้า อำนาจหน้าที่ของผู้ทำแผนให้เริ่มแต่วันที่ศาลมีคำสั่ง
ดังกล่าว และให้อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ผู้บริหารของ
ลูกหนี ้ หรือผู้บริหารชั่วคราวสิน
้ สุดลง
เมื่อศาลมีคำสั่งตัง้ ผู้ทำแผนแล้วให้นำความในมาตรา ๙๐/๒๐
วรรคสี่ และมาตรา ๙๐/๒๑ วรรคสามมาใช้บังคับโดยอนุโลม กับให้เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์แ จ้ง คำสั่ง ดัง กล่า วไปยัง เจ้า หนีท
้ งั ้ หลายตามบัญ ชี
รายชื่อที่ลูกหนีห
้ รือเจ้าหนีเ้ สนอต่อศาลและเจ้าหนีอ
้ ่น
ื เท่าที่ทราบ
ในคำ โฆษณาและหนัง สือ แจ้ง คำ สั่ง ตามวรรคสอง ให้แ จ้ง
กำหนดเวลาให้เจ้าหนีท
้ งั ้ หลายเสนอคำขอรับชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูกิจการ
ตามแบบพิมพ์ต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ด้วย
 
มาตรา ๙๐/๒๕  ภายใต้บ ัง คับ มาตรา ๙๐/๔๒ และมาตรา
๙๐/๖๔ เมื่อศาลมีคำ สั่งตัง้ ผู้ทำ แผนแล้ว ให้อำ นาจหน้าที่ในการจัดการ
กิจการและทรัพย์สินของลูกหนี ้ และบรรดาสิทธิตามกฎหมายของผู้ถือหุ้น
ของลูก หนี ้ ยกเว้น สิท ธิท ี่จ ะได้ร ับ เงิน ปั นผลตกแก่ผ ู้ทำ แผน และให้นำ
บทบัญญัติมาตรา ๙๐/๑๒ (๙) มาใช้บังคับแก่ผู้ทำแผนโดยอนุโลม
 
ส่วนที่ ๔
การขอรับชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูกิจการ
                  
 
มาตรา ๙๐/๒๖  เจ้าหนีจ
้ ะขอรับชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูกิจการ
ได้ก็แต่โดยปฏิบัติตามวิธีการที่กล่าวไว้ในส่วนนี ้ แม้จะเป็ นเจ้าหนีต
้ ามคำ
พิพ ากษา หรือ เป็ นเจ้า หนีท
้ ี่ไ ด้ฟ้ องคดีแ พ่ง ไว้แ ล้ว แต่ค ดีย ัง อยู่ร ะหว่า ง
พิจ ารณาก็ต าม  ทัง้ นี ้ ต้อ งยื่น คำ ขอรับ ชำ ระหนีพ
้ ร้อ มสำ เนาต่อ เจ้า
พนักงานพิทัก ษ์ท รัพ ย์ภ ายในหนึ่ง เดือ นนับ แต่ว ัน โฆษณาคำสั่ง ตัง้ ผู้ทำ
แผนและให้เจ้าพนัก งานพิทักษ์ทรัพย์ส ่ง สำเนาคำขอรับชำระหนีใ้ ห้ผู้ทำ
แผนโดยไม่ชักช้า
บุคคลใดได้รบ
ั ความเสียหายเพราะการโอนทรัพย์สน
ิ หรือการก
ระทำใด ๆ ถูกเพิกถอนตามมาตรา ๙๐/๔๑ หรือ เพราะผู้บ ริห ารแผนไม่
ยอมรับ ทรัพ ย์ส ิน หรือ สิท ธิต ามสัญ ญาตามมาตรา ๙๐/๔๑ ทวิ มีส ิท ธิ
ขอรับชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูกิจการสำหรับหนีเ้ ดิม หรือค่าเสียหายได้ แล้ว
แต่กรณี ภายในกำหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง แต่ให้นบ
ั จากวันที่อาจใช้สิทธิ
ขอรับชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูกิจการได้ ถ้ามีข้อโต้เถียงเป็ นคดีให้นับจากวัน
[
คดีถึงที่สุด ๒๗]
ให้นำ บทบัญญัติมาตรา ๙๑ วรรคสอง มาตรา ๑๐๕ มาตรา
๑๐๘ และบทบัญญัติในหมวด ๘ ส่วนที่ ๓ ว่าด้วยเรื่องค่าธรรมเนียมมาใช้
บังคับเกี่ยวกับการขอรับชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูกิจการโดยอนุโลม
 
มาตรา ๙๐/๒๗  เจ้า หนีอ
้ าจขอรับ ชำ ระหนีใ้ นการฟื้ นฟู
กิจการได้ ถ้ามูลแห่ง หนีไ้ ด้เ กิด ขึน
้ ก่อ นวัน ที่ศ าลมีคำ สั่ง ให้ฟ้ื นฟูก ิจ การ
แม้ว่าหนีน
้ ัน
้ ยังไม่ถึงกำหนดชำระหรือมีเงื่อนไขก็ตาม เว้นแต่หนีท
้ เ่ี กิดขึน

โดยฝ่ าฝื นข้อห้ามตามกฎหมายหรือศีลธรรมอันดีหรือหนีท
้ จ
่ี ะฟ้ องร้องให้
บังคับคดีไม่ได้
ผู้ซึ่งมีสิทธิขอรับ ชำระหนีต
้ ามมาตรา ๑๐๑ อาจยื่น คำขอรับ
ชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูกิจการสำหรับจำนวนที่ตนอาจใช้สิทธิไล่เบีย
้ ในเวลา
ภายหน้าได้ เว้นแต่เจ้าหนีไ้ ด้ใช้สิทธิขอรับชำระหนีไ้ ว้เต็มจำนวนแล้ว
หนีท
้ ี่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หรือผู้บริหารชั่วคราวก่อขึน
้ หนี ้
ที่ล ูก หนีจ
้ ะต้องรับ ผิด ตามมาตรา ๙๐/๑๒ (๘) หรือ (๑๑) และหนีภ
้ าษี
อากรหรือหนีอ
้ ่น
ื อันมีลักษณะเดียวกันซึ่งเกิดขึน
้ ตัง้ แต่วันที่ศาลมีคำสั่งให้
ฟื้ นฟูก ิจ การจนถึง วัน ที่ศ าลมีคำ สั่ง ตัง้ ผู้ทำ แผน เจ้า หนีย
้ ่อ มมีส ิท ธิไ ด้ร ับ
ชำระหนีต
้ ามระยะเวลาที่กำ หนดไว้ในแผนโดยไม่ต ้องขอรับ ชำระหนีใ้ น
การฟื้ นฟูกิจการ แต่เจ้าหนีด
้ ังกล่าวจะต้องมีหนังสือขอให้ผ ู้ทำ แผนออก
หนังสือรับรองสิทธิของตนก่อนวันประชุมเจ้าหนีเ้ พื่อพิจารณาแผน ถ้าผู้
ทำแผนจะปฏิเสธสิทธิของเจ้าหนีจ
้ ะต้องปฏิเสธเป็ นหนังสือไปยังเจ้าหนี ้
ภายในสิบ สี่ว ัน นับ แต่ว ัน ที่ไ ด้ร ับ หนัง สือ ของเจ้า หนี ้ มิฉ ะนัน
้ ให้ถ ือ ว่า
ยอมรับสิทธิของเจ้าหนีต
้ ามที่ขอมา ถ้าเจ้าหนีม
้ ิได้มีหนังสือขอให้ผ ู้ทำแผน
ออกหนังสือรับรองสิทธิของตนเองหรือผู้ทำแผนมีหนังสือปฏิเสธสิทธิของ
เจ้า หนีภ
้ ายในกำหนดเวลาดัง กล่า วข้า งต้น เจ้า หนีน
้ น
ั ้ อาจยื่น คำขอรับ
ชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูกิจการต่อเจ้าพนักงานพิทก
ั ษ์ทรัพย์ภายในสิบสีว่ น
ั นับ
แต่วน
ั ประชุมเจ้าหนีเ้ พื่อพิจารณาแผนหรือวันทีเ่ จ้าหนีไ้ ด้รบ
ั คำปฏิเสธนัน
้  แ
ล้วแต่กรณี
 
มาตรา ๙๐/๒๘  ภายใต้บ ัง คับ มาตรา ๙๐/๑๒ (๖) มาตรา
๙๐/๑๓ และมาตรา ๙๐/๑๔ เจ้าหนีม
้ ีประกัน จะใช้สิทธิบ ังคับ ชำระหนี ้
เอาจากทรัพ ย์ส ิน อัน เป็ นหลัก ประกัน โดยไม่ต ้อ งขอรับ ชำระหนีใ้ นการ
ฟื้ นฟูกิจการก็ได้ แต่ต้องยอมให้เจ้าพนัก งานพิทักษ์ทรัพย์หรือผู้ทำ แผน
ตรวจดูทรัพย์สินนัน

 
มาตรา ๙๐/๒๙  เจ้า หนี ้ ลูก หนี ้ หรือ ผู้ทำ แผนอาจขอตรวจ
และโต้แ ย้ง คำขอรับ ชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูก ิจการต่อ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์
ทรัพย์ได้ แต่ต้องกระทำภายในกำหนดสิบสี่วันนับแต่วันที่พ้นกำหนดเวลา
ยื่นคำขอรับชำระหนี ้
 
มาตรา ๙๐/๓๐  คำขอรับชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูกจ
ิ การของเจ้า
หนีร้ ายใด ถ้าเจ้าหนีอ
้ ่น
ื  ลูกหนี ้ หรือผู้ทำแผนไม่โต้แย้ง ให้เจ้าหนีร้ ายนัน
้ มี
สิทธิออกเสียงลงคะแนนได้เต็ม จำนวนหนีต
้ ามที่ระบุไว้ในคำขอรับชำระ
หนี ้ ถ้ามีผู้โต้แย้ง ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สอบสวนโดยด่วนแล้วมีคำ
สั่งว่าจะให้เจ้าหนีร้ ายนัน
้ ออกเสียงในจำนวนหนีไ้ ด้หรือไม่เท่าใด และให้
นำความในมาตรา ๙๐/๒๓ วรรคสอง มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๙๐/๓๑ ๒๘]  เพื่อ ประโยชน์ใ นการคำนวณหนีท
[
้ ี่ใ ช้ใ น
การออกเสียงลงคะแนน ถ้าหนีไ้ ด้กำหนดไว้เป็ นเงินตราต่างประเทศให้คิด
เป็ นเงินตราไทยในวันที่ศาลมีคำ สั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการตามอัตราแลกเปลี่ยน
เงินตราประจำวันของธนาคารแห่งประเทศไทย
 
มาตรา ๙๐/๓๒  คำขอรับชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูกจ
ิ การของเจ้า
หนีร้ ายใด ถ้าเจ้าหนีอ
้ ่น
ื  ลูก หนี ้ หรือ ผู้ทำ แผนไม่โ ต้แ ย้ง ให้เ จ้า พนัก งาน
พิท ัก ษ์ท รัพ ย์ม ีอำ นาจสั่ง อนุญ าตให้ร ับ ชำ ระหนีไ้ ด้ เว้น แต่ม ีเ หตุอ ัน
สมควรสั่งเป็ นอย่างอื่น
คำขอรับชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูกิจการของเจ้าหนีร้ ายใด ถ้ามีผ ู้
โต้แย้ง ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สอบสวนแล้วมีคำสั่งอย่างหนึ่งอย่างใด
ดังต่อไปนี ้
(๑) ให้ยกคำขอรับชำระหนี ้
(๒) อนุญาตให้ได้รับชำระหนีเ้ ต็มจำนวน
(๓) อนุญาตให้ได้รับชำระหนีบ
้ างส่วน
การคัดค้านคำสัง่ ของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตามวรรคหนึ่ง
หรือ วรรคสอง ผู้ม ีส ่ว นได้เ สีย อาจยื่น คำ ร้อ งคัด ค้า นต่อ ศาลได้ภ ายใน
กำหนดสิบสี่วันนับแต่วันที่ทราบคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
 
มาตรา ๙๐/๓๓  ถ้า เจ้า หนีซ
้ ึ่ง มีส ิท ธิข อรับ ชำ ระหนีใ้ นการ
ฟื้ นฟูกิจการเป็ นหนีล
้ ูกหนีใ้ นเวลาที่มีคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการ เจ้าหนีน
้ น
ั ้ อาจ
ใช้สิทธิหักกลบลบหนีไ้ ด้ เว้นแต่เจ้าหนีไ้ ด้สิทธิเรียกร้องต่อลูกหนีภ
้ ายหลัง
ที่ศาลมีคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการ
 
ส่วนที่ ๕
คำชีแ
้ จงเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สินของลูกหนี ้
                  
 
มาตรา ๙๐/๓๔  ภายในเวลาเจ็ดวันนับแต่วน
ั ทีไ่ ด้ทราบคำสัง่ ตัง้
ผูทำ
้ แผน ให้ผบ
ู้ ริหารของลูกหนีย
้ ่น
ื คำชีแ
้ จงตามมาตรา ๙๐/๓๕ เกี่ยวกับ
กิจการและทรัพย์สินของลูกหนีท
้ ี่ตนรับรองแล้วตามแบบพิมพ์ต่อผู้ทำแผน
เมื่อผู้บริหารของลูกหนีม
้ คำ
ี ขอขยายระยะเวลาก่อนสิน
้ กำหนด
เวลาดังกล่าวข้างต้นโดยมีเหตุอันควร ผู้ทำแผนอาจขยายระยะเวลาให้อีก
ได้ตามที่เห็นสมควรแต่ไม่เกินสามสิบวัน
ถ้าผู้บริหารของลูกหนีไ้ ม่ทำหรือไม่สามารถทำคำชีแ
้ จงได้ ให้ผู้
ทำแผนเป็ นผู้ทำแทนและเพื่อการนีใ้ ห้มีอำนาจจ้างบุคคลอื่นเข้าช่วยตามที่
เห็นจำเป็ นโดยคิดหักค่าใช้จ่ายจากทรัพย์สินของลูกหนี ้
 
มาตรา ๙๐/๓๕  คำชีแ
้ จงเกี่ยวกับกิจการและทรัพ ย์ส ิน ของ
ลูกหนีจ
้ ะต้องแสดงโดยชัดแจ้งถึงรายการต่อไปนี ้ ณ วันที่ศาลมีคำสั่งรับคำ
ร้องขอไว้พิจารณา
(๑) กิจการของลูกหนี ้
(๒) สิน ทรัพ ย์ หนีส
้ ิน และภาระผูก พัน ต่า ง ๆ ที่ล ูก หนีม
้ ีต ่อ
บุคคลภายนอก
(๓) ทรัพ ย์ส ิน ที่ไ ด้ใ ห้เ ป็ นประกัน แก่เ จ้า หนี ้ และวัน ที่ไ ด้ใ ห้
ทรัพย์สินนัน
้ เป็ นประกัน
(๔) ทรัพย์สินของบุคคลอื่นที่อยู่ในความยึดถือของลูกหนี ้
(๕) การเป็ นผู้ถือหุ้นในบริษัทหรือนิติบุคคลหรือเป็ นหุ้นส่วนใน
ห้างหุ้นส่วนอื่น
(๖) ชื่อ อาชีพและที่อยู่โดยละเอียดของเจ้าหนีท
้ งั ้ หลาย
(๗) ชื่อ อาชีพและที่อยู่โดยละเอียดของผู้เป็ นลูกหนีข
้ องลูกหนี ้
(๘) รายละเอียดแห่งทรัพย์สินที่จะตกแก่ลก
ู หนีใ้ นภายหน้า
(๙) ข้อมูลอื่นตามที่ผู้ทำแผนเห็นสมควรให้แจ้งเพิ่มเติม
คำ ช แ
ี ้ จ ง เ ก ี่ย ว ก ับ ก ิจ ก า ร แ ล ะ ท ร ัพ ย ์ส ิน ข อ ง ล ูก ห น ี ้ ใ ห ้
สันนิษฐานไว้ก่อนว่า เป็ นหลักฐานอันถูกต้องที่ใช้ยันลูกหนีไ้ ด้
 
มาตรา ๙๐/๓๖  ผู้บ ริห ารชั่ว คราวหรือ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์
ทรัพย์ต้องทำคำชีแ
้ จงเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ่อผู้ทำแผน
ตามมาตรา ๙๐/๓๕ ในช่วงเวลาที่ตนมีอำนาจบริหารกิจการชั่วคราว และ
ให้นำมาตรา ๙๐/๓๔ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๙๐/๓๗  ในกรณีจำเป็ น เพื่อประโยชน์ในการทำแผน
และการบริหารแผน ผู้ทำ แผน ผู้บริหารแผน หรือผู้บริหารแผนชั่วคราว
อาจขอให้ศ าลออกหมายเรีย กผู้เ ป็ นหรือ เคยเป็ นผูบ
้ ริห ารของลูก หนี ้
ลูกจ้างของลูกหนี้ ผูส
้ อบบัญชีของลูกหนี ้ ผูบ
้ ริหารชัว่ คราว หรือบุคคลหนึง่
บุคคลใด ซึ่งได้ความหรือสงสัยว่ามีทรัพย์สินของลูกหนีอ
้ ยู่ในครอบครอง
หรือเชื่อว่าเป็ นหนีล
้ ูกหนีห
้ รือเห็นว่าสามารถแจ้งข้อความเกี่ยวกับกิจการ
หรือทรัพย์สินของลูกหนีม
้ าพบตนเพื่อสอบถามหรือขอให้ศาลสัง่ ให้บุคคล
นัน
้ ๆ ส่งเอกสารหรือวัตถุพยานซึ่งอยู่ในความยึดถือหรือ อำนาจของผู้นน
ั้
อันเกี่ยวกับกิจการหรือทรัพย์สินของลูกหนีม
้ าให้ตนก็ได้
เพื่อประโยชน์ในการทำแผนและการบริหารแผน ศาลหรือเจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะออกหมายเรียกบุคคลตามวรรคหนึ่ง มาไต่สวน
หรือสอบสวนเองหรือสั่งให้บค
ุ คลนัน
้ ๆ ส่งเอกสารหรือวัตถุพยานก็ได้
บุค คลใดจงใจขัด ขืน หมายเรีย กหรือ คำสั่ง ของศาลหรือ เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์  ให้ศาลมีอำนาจออกหมายจับบุคคลนัน
้ มาขังไว้จนกว่า
จะได้ปฏิบต
ั ต
ิ ามคำสัง่ ศาลหรือเจ้าพนักงานพิทก
ั ษ์ทรัพย์
 
มาตรา ๙๐/๓๘  เมื่อผู้ทำแผน ผู้บริหารแผนหรือเจ้าพนักงาน
พิทัก ษ์ทรัพ ย์มีคำ ขอ ศาลมีอำ นาจบังคับ ให้บ ุคคลที่รับ ว่า เป็ นหนีล
้ ูก หนี ้
หรือรับว่ามีทรัพย์สิน ของลูกหนีอ
้ ยู่ในครอบครอง ชำระหนีห
้ รือ ส่ง มอบ
ทรัพ ย์ส ิน แก่ต นได้ภ ายในกำ หนดเวลาตามที่ศ าลเห็น สมควร ถ้า ไม่
ปฏิบ ัต ิต ามคำบัง คับ ผู้ทำ แผน ผู้บ ริห ารแผน หรือ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์
ทรัพย์อาจมีคำขอให้ศาลออกหมายบังคับคดีเสมือนหนึง่ ว่าบุคคลนัน
้ เป็ น
ลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
 
มาตรา ๙๐/๓๙  เมื่อปรากฏว่าลูกหนีม
้ ีสิทธิเรียกร้องให้บุคคล
หนึ่งบุคคลใดชำระหนีห
้ รือส่งมอบทรัพย์สินแก่ลูกหนีแ
้ ละบุคคลนัน
้ ไม่ได้
รับว่าเป็ นหนีล
้ ูกหนีห
้ รือมีทรัพ ย์ส ินของลูกหนีอ
้ ยู่ในครอบครอง ให้ผ ู้ทำ
แผนหรือผู้บริหารแผนแจ้งต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เพื่อดำเนินการ
ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แจ้งความเป็ นหนังสือไปยังบุคคล
ดังกล่าวให้ชำระหนีห
้ รือส่งมอบทรัพย์สินตามที่ได้แจ้งไป และให้แจ้งไป
ด้วยว่าถ้าจะปฏิเสธ ให้แสดงเหตุผลประกอบข้อปฏิเสธเป็ นหนังสือมายัง
เจ้าพนักงานพิทก
ั ษ์ทรัพย์ภายในกำหนดเวลาสิบสีว่ น
ั นับแต่วน
ั ได้รบ
ั แจ้ง
ความ มิฉะนัน
้ จะถือว่าเป็ นหนีล
้ ูกหนีต
้ ามที่แจ้งไปเป็ นการเด็ดขาด
ถ้าบุคคลที่รับแจ้ง ความนัน
้ ปฏิเสธหนีต
้ ่อเจ้า พนักงานพิทักษ์
ทรัพ ย์ภายในกำหนดเวลาตามวรรคสอง ให้เ จ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์
สอบสวน เมื่อ เห็น ว่า บุค คลนัน
้ ไม่ไ ด้เ ป็ นหนี ้ ให้แ จ้ง ต่อผู้ทำ แผนหรือ ผู้
บริหารแผนและบุคคลนัน
้ ทราบ ถ้าเห็นว่าบุคคลนัน
้ เป็ นหนีเ้ ท่าใด ให้แจ้ง
เป็ นหนังสือยืนยันไปยังบุคคลที่จะต้องรับผิดชอบนัน
้ และให้แจ้งไปด้วยว่า
ถ้าจะคัดค้านประการใด ให้ร้องคัดค้านต่อศาลภายในกำหนดเวลาสิบสี่วัน
นับแต่ได้รับแจ้งความยืนยัน
ถ้าบุคคลที่ได้รับแจ้งความยืนยันนัน
้ คัดค้านต่อศาลโดยทำเป็ น
คำร้องภายในกำหนดเวลาตามวรรคสาม ให้ศาลพิจารณา ถ้าพอใจว่าเป็ น
หนีใ้ ห้มีคำ บังคับให้บค
ุ คลนัน
้ ชำระหนีห
้ รือส่ง มอบทรัพ ย์ส ินแก่ผู้ทำ แผน
หรือผู้บริหารแผน ถ้าเห็นว่าไม่ได้เป็ นหนี ้ ให้มีคำสั่งจำหน่ายจากบัญชีลูก
หนี ้
ถ้าบุคคลที่ได้รับแจ้งความจากเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มิได้
ปฏิเ สธต่อ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ห รือ มิไ ด้ร ้อ งคัด ค้า นต่อ ศาลตาม
กำหนดเวลาที่กล่าวข้างต้น เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์อาจมีคำ ขอต่อศาล
ให้บังคับให้บุคคลนัน
้ ชำระหนีภ
้ ายในกำหนดเวลาตามที่ศาลเห็นสมควร
ถ้า บุค คลนัน
้ ไม่ป ฏิบ ัต ิต ามคำ บัง คับ ของศาล เจ้า พนัก งาน
พิทักษ์ทรัพย์อาจมีคำ ขอให้ศาลออกหมายบังคับคดีเสมือนหนึ่งว่าบุคคล
นัน
้ เป็ นลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
ในกรณีที่ผู้ถูกทวงหนีร้ ้องคัดค้านต่อศาล เจ้าพนักงานพิทักษ์
ทรัพย์อาจมีคำ ขอ โดยทำเป็ นคำร้องต่อศาลให้สั่งยึด หรืออายัดทรัพย์สิน
ของผู้ร้องคัดค้านไว้ชั่วคราวก่อนมีคำสั่งในเรื่องหนีน
้ น
ั ้ ได้
 
ส่วนที่ ๖
การเพิกถอนนิติกรรมที่ได้กระทำไปแล้ว
                  
 
มาตรา ๙๐/๔๐  การขอให้ศ าลเพิก ถอนการฉ้อ ฉลตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์นน
ั ้ ให้ผู้ทำแผน ผู้บริหารแผน หรือเจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ขอได้โดยทำเป็ นคำร้อง
ถ้านิต ิก รรมที่ข อเพิก ถอนการฉ้อ ฉลนัน
้ เกิด ขึน
้ ภายในระยะ
เวลาหนึ่งปี ก่อนวัน ยื่น คำร้องขอและภายหลังนัน
้ หรือเป็ นการทำให้โดย
เสน่ห า หรือ เป็ นการที่ล ูก หนีไ้ ด้ร ับ ค่า ตอบแทนน้อ ยเกิน สมควร ให้
สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็ นการกระทำที่ลูกหนีแ
้ ละผู้ที่ได้ลาภงอกแต่การนัน

รู้อยู่ว่าเป็ นทางให้เจ้าหนีต
้ ้องเสียเปรียบ
 
มาตรา ๙๐/๔๑ ๒๙]  เมื่อ ปรากฏว่า มีก ารโอนทรัพ ย์ส ิน หรือ
[

การกระทำใด ๆ ซึ่งลูกหนีไ้ ด้กระทำหรือยินยอมให้กระทำ ในระหว่างระยะ


เวลาสามเดือนก่อนมีการยื่นคำร้องขอและภายหลังนัน
้ โดยมีจุดมุ่งหมายให้
เจ้าหนีค
้ นหนึ่งคนใดได้เปรียบเจ้าหนีอ
้ ่น
ื ผู้ทำแผน ผู้บริหารแผน หรือเจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์อาจยื่นคำขอต่อศาลโดยทำเป็ นคำร้อง ในการนีศ
้ าล
มีอำนาจสั่งเพิกถอนการโอนหรือการกระทำนัน
้ ได้
ถ้า เจ้า หนีผ
้ ู้ไ ด้เ ปรีย บเป็ นบุค คลภายในของลูก หนี ้ ศาลมี
อำนาจสั่งเพิกถอนการโอนหรือการกระทำตามวรรคหนึ่งที่ได้กระทำขึน
้ ใน
ระหว่างระยะเวลาหนึ่งปี ก่อนมีการยื่นคำร้องขอและภายหลังนัน

การเพิกถอนการโอนหรือการกระทำตามมาตรานี ้ ไม่กระทบ
ถึงสิทธิของบุคคลภายนอกอันได้มาโดยสุจริตและมีค่าตอบแทนก่อนมีการ
ยื่นคำร้องขอ
 
มาตรา ๙๐/๔๑ ทวิ ๓๐]  ภายในกำหนดเวลาสองเดือ นนับ แต่
[

วันที่ผู้บริหารแผนทราบคำสั่งเห็นชอบด้วยแผนของศาล ให้ผ ู้บริหารแผน


มีอำ นาจไม่ยอมรับทรัพย์สินของลูกหนีห
้ รือสิทธิตามสัญญาที่มีภาระเกิน
ควรกว่าประโยชน์ที่จะพึงได้ ตามที่ได้กำหนดไว้ในแผน
เจ้าหนีห
้ รือบุคคลใดได้รบ
ั ความเสียหายโดยการกระทำของผู้
บริหารแผนตามมาตรานี ้ บุคคลนัน
้ อาจยื่นคำขอโดยทำเป็ นคำร้องต่อศาล
ภายในกำหนดเวลาสิบ สี่ว ัน นับ แต่ว ัน ที่ไ ด้ท ราบการกระทำนัน
้ ศาลมี
อำนาจสั่งยืนตาม กลับ หรือแก้ไข หรือสั่งประการใดตามที่เห็นสมควร
บุคคลใดได้รับความเสียหายตามมาตรานี ้ มีส ิทธิขอรับ ชำระ
หนีใ้ นการฟื้ นฟูกิจการสำหรับค่าเสียหายได้
 
ส่วนที่ ๗
การประชุมเจ้าหนีเ้ พื่อพิจารณาแผนฟื้ นฟูกิจการ
                  
 
มาตรา ๙๐/๔๒ ๓๑]  ในแผนให้มีรายการต่อไปนีเ้ ป็ นอย่างน้อย
[

(๑) เหตุผลที่ทำให้มีการฟื้ นฟูกิจการ


(๒) รายละเอียดแห่งสินทรัพย์ หนีส
้ ินและภาระผูกพันต่าง ๆ
ของลูกหนีใ้ นขณะที่ศาลสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการ
(๓) หลักการและวิธีการฟื้ นฟูกิจการ
(ก) ขัน
้ ตอนของการฟื้ นฟูกิจการ
(ข) การชำ ระหนี ้ การยืด กำ หนดเวลาชำ ระหนี ้ การลด
จำนวนหนีล
้ ง และการจัดกลุ่มเจ้าหนี ้
(ค) การลดทุนและเพิ่มทุน
(ง) การก่อหนีแ
้ ละระดมเงินทุน รวมตลอดถึงแหล่งของเงิน
ทุนและเงื่อนไขแห่งหนีส
้ ินและเงินทุนดังกล่าว
(จ) การจัดการและการหาประโยชน์จากทรัพย์สินของลูก
หนี ้
(ฉ) เงื่อนไขการจ่ายเงินปั นผลและประโยชน์อ่ น
ื ใด
(๔) การไถ่ถ อนหลัก ประกัน ในกรณีทม
่ี เี จ้า หนีม
้ ป
ี ระกัน และ
ความรับผิดของผูค
้ ้ำประกัน
(๕) แนวทางแก้ปั ญหาในกรณีข าดสภาพคล ่อ งชั่ว คราว
ระหว่างการปฏิบัติตามแผน
(๖) วิธีปฏิบัติในกรณีที่มีการโอนสิทธิเรียกร้องหรือโอนหนี ้
(๗) ชื่อ คุณสมบัติ หนังสือยินยอมของผู้บริหารแผน และค่า
ตอบแทน โดยนำความในมาตรา ๙๐/๖ วรรคสอง มาใช้บังคับเกี่ยวกับผู้
บริหารแผนโดยอนุโลม
(๘) การแต่งตัง้ และการพ้นตำแหน่งของผู้บริหารแผน
(๙) ระยะเวลาดำเนินการตามแผนซึ่งไม่เกินห้าปี
(๑๐) การไม่ยอมรับทรัพย์สินของลูกหนีห
้ รือสิทธิตามสัญญา
ในกรณีท ี่ท รัพ ย์ส ิน ของลูก หนีห
้ รือ สิท ธิต ามสัญ ญามีภ าระเกิน ควรกว่า
ประโยชน์ที่จะพึงได้
มิให้นำมาตรา ๑๑๑๗ มาตรา ๑๑๑๙ มาตรา ๑๑๔๕ มาตรา
๑๒๒๐ ถึงมาตรา ๑๒๒๘ มาตรา ๑๒๓๘ ถึงมาตรา ๑๒๔๓ แห่งประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิช ย์ มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๓ มาตรา ๕๐ มาตรา
๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๔ มาตรา ๘๔ มาตรา ๑๐๒ มาตรา ๑๐๗
มาตรา ๑๑๖ มาตรา ๑๑๙ มาตรา ๑๓๖ มาตรา ๑๓๗ มาตรา ๑๓๙
มาตรา ๑๔๐ มาตรา ๑๔๑ มาตรา ๑๔๖ ถึงมาตรา ๑๔๘ แห่งพระราช
บัญญัต ิบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. ๒๕๓๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราช
บัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๓๕ มาใช้บังคับแก่แผน
ตามมาตรานี ้
 
มาตรา ๙๐ /๔๒ ท วิ ๓๒]  ก ารจัด ก ล ุ่ม เ จ้า ห น ต
[
ี ้ า มม าต รา
๙๐/๔๒ (๓) (ข) ให้จัดดังต่อไปนี ้
(๑) เจ้าหนีม
้ ีประกันแต่ละรายที่มีจำ นวนหนีม
้ ีประกันไม่น้อย
กว่าร้อยละสิบห้าของจำนวนหนีท
้ งั ้ หมดที่อาจขอรับ ชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟู
กิจการได้ ให้จัดเป็ นรายละกลุ่ม
(๒) เจ้า หนีม
้ ีป ระกัน ที่ไ ม่ไ ด้จ ัด กลุ่ม ไว้ใ น (๑) ให้จ ัด เป็ นหนึง่
กลุ่ม
(๓) เจ้าหนีไ้ ม่มีประกัน อาจจัดได้เป็ นหลายกลุ่ม โดยให้เจ้าหนี ้
ไม่มีประกันที่มีสิทธิเรียกร้องหรือผลประโยชน์ที่มีสาระสำคัญเหมือนกัน
หรือทำนองเดียวกันอยู่ในกลุ่มเดียวกัน
(๔) เจ้าหนีต
้ ามมาตรา ๑๓๐ ทวิ ให้จัดเป็ นหนึ่งกลุ่ม
เจ้าหนีร้ ายใดเห็นว่าการจัดกลุ่มเจ้าหนีไ้ ม่ได้เป็ นไปตามวรรค
หนึ่ง อาจยื่นคำร้องขอต่อศาลภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้ร้ถ
ู ึงการจัดกลุ่ม
และศาลอาจมีคำ สัง่ ให้จัดกลุ่มเสียใหม่ให้ถูก ต้อ งโดยเร็ว คำสัง่ ศาลตาม
มาตรานีใ้ ห้เป็ นที่สุด
 
มาตรา ๙๐/๔๒ ตรี ๓๓]  สิทธิของเจ้าหนีท
[
้ ี่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน
ต้อ งได้ร ับ การปฏิบ ัต ิเ ท่า เทียมกัน เว้นแต่เจ้าหนีผ
้ ู้ได้รับการปฏิบัติที่เสีย
เปรียบในกลุ่มนัน
้ จะให้ความยินยอมเป็ นหนังสือ
 
มาตรา ๙๐/๔๓  ภายในกำ หนดเวลาสามเดือ นนับ แต่ว ัน
โฆษณาคำสั่งตัง้ ผู้ทำแผนในราชกิจจานุเบกษา ให้ผ ู้ทำ แผนส่งแผนแก่เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ พร้อมด้วยสำเนาจำนวนอันเพียงพอเพื่อส่งให้แก่
เจ้าหนีผ
้ ู้มีสิทธิออกเสียงและลูกหนี ้
กำหนดเวลาตามวรรคหนึง่ ศาลอาจขยายให้อก
ี ได้ไม่เกินสองครัง้
ครัง้ ละไม่เกินหนึง่ เดือน
 
มาตรา ๙๐/๔๔  เมื่อได้รับแผนพร้อมด้วยสำเนาจากผู้ทำแผน
แล้ว ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์นัดประชุมเจ้าหนีผ
้ ู้มีสิทธิออกเสียงโดย
เร็วที่สุด เพื่อปรึกษาลงมติว ่าจะยอมรับแผนหรือไม่หรือจะแก้ไขอย่างไร
โดยให้ส่งสำเนาแผนและแจ้งกำหนดวัน เวลา สถานที่ และหัวข้อประชุม
ไปยัง เจ้า หนีผ
้ ู้ม ส
ี ิท ธิอ อกเสีย ง ลูก หนี ้ และผู้ทำ แผน กับ ให้โ ฆษณา
กำหนดการประชุมดังกล่าวในหนังสือพิมพ์รายวันที่แพร่หลายอย่างน้อยห
นึ่งฉบับล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่าสิบวัน
ในกรณีที่ผู้ทำแผนมาประชุมไม่ได้เพราะมีเหตุผลพิเศษ ให้แจ้ง
ขอเลื่อนการประชุมต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ก ่อนวันประชุม เว้นแต่
จะมีเหตุสุดวิสัยทำให้แจ้งล่วงหน้าไม่ได้
ถ้าผู้ทำ แผนไม่มาประชุม ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ถามที่
ประชุมเจ้าหนีว้ ่าจะให้เลื่อนการพิจารณาแผนไปหรือไม่ ถ้าที่ประชุมมีมติ
ให้เลื่อน ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เลื่อนการพิจารณาแผนได้ตามที่เห็น
สมควร โดยแจ้งกำหนดวันเวลานัดประชุมใหม่ต่อที่ประชุม และให้ถือว่า
เจ้าหนี ้ ลูกหนี ้ หรือผู้ทำแผนซึง่ ไม่ได้มาประชุมได้ทราบนัดแล้ว
 
มาตรา ๙๐/๔๕  เจ้า หนี ้ ลูก หนีห
้ รือ ผู้ทำ แผนอาจขอแก้ไ ข
แผน โดยยื่นคำขอต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่
น้อยกว่าสามวัน
ในกรณีที่เจ้าหนีห
้ รือลูกหนีเ้ ป็ นผูข
้ อต้องส่งสำเนาคำขอแก้ไข
แผนให้ผู้ทำแผนทราบล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่าสามวันด้วย
ผู้ขอแก้ไขแผนโดยขอเปลี่ยนตัวผู้บริหารแผนต้อ งส่งหนังสือ
ยินยอมของผู้ที่จะให้เป็ นผู้บริหารแผนไปพร้อมกับคำขอแก้ไขแผนด้วย
 
มาตรา ๙๐/๔๖ ๓๔]  มติยอมรับแผนต้องเป็ นมติพิเศษของ
[

(๑) ที่ประชุมเจ้าหนีแ
้ ต่ละกลุ่มทุกกลุ่ม หรือ
(๒) ที่ป ระชุม เจ้า หนีอ
้ ย่า งน้อ ยหนึ่ง กลุ่ม ซึ่ง มิใ ช่ก ลุ่ม เจ้า หนี ้
ตามมาตรา ๙๐/๔๖ ทวิ และเมื่อนับรวมจำนวนหนีข
้ องเจ้าหนีท
้ ี่ยอมรับ
แผนในที่ป ระชุมเจ้า หนีท
้ ุก กลุ่มแล้ว มีจำ นวนไม่น ้อ ยกว่า ร้อ ยละห้า สิบ
แห่งจำนวนหนีข
้ องเจ้าหนีซ
้ ึ่งได้เข้าประชุมด้วยตนเองหรือมอบฉันทะให้ผ ู้
อื่นเข้าประชุมแทนในที่ประชุมเจ้าหนีแ
้ ละได้ออกเสียงลงคะแนนในมตินน
ั้
ในการนับจำนวนหนี ้ ให้ถือว่าเจ้าหนีต
้ ามมาตรา ๙๐/๔๖ ทวิ
ได้มาประชุมและได้ออกเสียงลงคะแนนในมติยอมรับแผนนัน
้ ด้วย
 
มาตรา ๙๐/๔๖ ทวิ ๓๕]  เจ้าหนีด
[
้ ังต่อไปนีใ้ ห้ถือว่าเป็ นเจ้าหนีท
้ ี่
ยอมรับแผนตามมาตรา ๙๐/๔๖ แล้ว
(๑) เจ้า หนีท
้ ี่ไ ด้ร ับ ข้อ เสนอจากผู้ทำ แผนให้ไ ด้ร ับ ชำระหนีท
้ ี่
ผิดนัดเต็มจำนวนพร้อมดอกเบีย
้ และจะได้รับชำระหนีท
้ ี่ผิดนัดเต็มจำนวน
พร้อมดอกเบีย
้ ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ศาลมีคำ สั่งเห็นชอบด้วยแผน
และเจ้าหนีน
้ น
ั ้ ยังคงมีสิทธิได้รับ ชำระหนีต
้ ามสัญญา หรือข้อตกลงเดิมต่อ
ไป โดยให้ถือเสมือนว่าลูกหนีไ้ ม่เคยตกเป็ นผูผ
้ ิดนัดเลย
(๒) เจ้าหนีท
้ ไ่ี ด้รบ
ั ข้อเสนอจากผูทำ
้ แผนให้ได้รบ
ั ชำระหนีต
้ าม
สัญญาหรือข้อตกลงเดิม
(๓) เจ้าหนีต
้ ามมาตรา ๑๓๐ ทวิ
 
มาตรา ๙๐/๔๗  ในการประชุมเจ้าหนีเ้ พื่อพิจารณาแผน ถ้าที่
ประชุม ไม่อาจพิจารณากิจการต่า ง ๆ ให้เ สร็จ สิน
้ ไปได้ใ นวัน นัน
้ ให้เ จ้า
พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์เ ลื่อ นการประชุม ไปในวัน ทำ การถัด ไป โดยนำ
บทบัญญัติเกี่ยวกับการแจ้งนัดประชุมใหม่ตามมาตรา ๙๐/๔๔ วรรคสาม
มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๙๐/๔๘ ๓๖]  ในการประชุมเจ้าหนีเ้ พื่อพิจารณาแผน ถ้า
[

มีการขอแก้ไขแผนให้ที่ป ระชุมเจ้า หนีล


้ งมติว ่า จะให้แ ก้ไ ขตามคำขอนัน

และข้อที่เกี่ยวเนื่องกันหรือไม่ก่อน ถ้าที่ประชุมเจ้าหนีล
้ งมติให้แก้ไขและผู้
ทำแผนมาประชุม ก็ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สอบถามผู้ทำแผนว่ายอม
ให้แก้ไขแผนตามมติหรือไม่ เมื่อ ผู้ทำ แผนยอมให้แก้ไขแผนแล้ว  จึงให้ท่ี
ประชุมเจ้าหนีล
้ งมติตามมาตรา ๙๐/๔๖ ว่าจะยอมรับแผนทีม
่ ก
ี ารแก้ไขนัน

หรือไม่
ในกรณีทท
่ี ป
่ี ระชุมเจ้าหนีล
้ งมติให้แก้ไขแผนแต่ผทำ
ู้ แผนไม่มา
ประชุม ให้เจ้าพนักงานพิท ัก ษ์ทรัพ ย์เ ลื่ อ นการประชุม ไปเพื่ อ สอบถามผู้
ทำแผนว่ายอมให้แก้ไขแผนตามมตินั น
้ หรือไม่ แล้ว ดำเนินการต่อไปตาม
ที่บัญญัติไว้ในวรรคหนึ่ง โดยให้นำ บทบัญญัติเกี่ยวกับการแจ้งนัดประชุม
ใหม่ตามมาตรา ๙๐/๔๔ วรรคสาม มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ในกรณีที่ไม่มีการขอแก้ไขแผนหรือผู้ทำแผนยอมให้แก้ไขแผน
แล้ว ถ้าที่ประชุมเจ้าหนีไ้ ม่มีมติตามมาตรา ๙๐/๔๖ ยอมรับแผนดังกล่าว
ก็ด ี หรือ ไม่ล งมติป ระการใดก็ด ี หรือ ไม่ม ีเ จ้า หนีไ้ ปประชุม ก็ด ี ให้เ จ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์รายงานต่อศาลโดยไม่ชักช้า
เมื่อศาลได้รับรายงาน ให้ศาลนัดพิจารณาเป็ นการด่วน และ
แจ้งวันเวลานัดให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทราบ ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์
ทรัพ ย์ส ่ง แจ้ง ความให้ล ูก หนีแ
้ ละเจ้า หนีท
้ งั ้ หลายทราบล่ว งหน้า ไม่น ้อ ย
กว่า สามวัน ในการพิจ ารณาให้ศ าลพิจ ารณาพยานหลัก ฐานในสำนวน
และฟั งคำชีแ
้ จงของเจ้าพนักงานพิทก
ั ษ์ทรัพย์ เจ้าหนี ้ และคำคัดค้านของลูก
หนี ้ ถ้าศาลฟั งได้ความตามวรรคสาม ให้ศาลมีคำ สั่ง ยกเลิก คำสั่ง ให้ฟ้ื นฟู
กิจการ แต่ถ้าเป็ นกรณีลก
ู หนีไ้ ด้ถูกฟ้ องให้เป็ นบุคคลล้มละลายไว้ก่อนแล้ว
และศาลเห็นสมควรให้ล ูกหนีล
้ ้มละลายก็ให้ยกคำร้องขอให้ฟ้ื นฟูกิจการ
เสีย แล้วให้ดำเนินคดีล้มละลายที่ได้ให้งดการพิจารณาไว้นน
ั ้ ต่อไป
 
มาตรา ๙๐/๔๙  ในกรณีที่มีการขอแก้ไขแผนในสาระสำคัญ
เมื่อผู้ทำแผน ลูกหนี ้ หรือเจ้าหนีค
้ นเดียวหรือหลายคนซึ่งมีจำนวนหนีร้ วม
กัน ไม่น ้อ ยกว่า หนึ่ง ในสิบ ของจำ นวนหนีท
้ งั ้ หมดของเจ้า หนีซ
้ ึ่ง ได้เ ข้า
ประชุมขอให้เลื่อนการพิจารณาแผนไป เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์อาจให้
เลื่อนการพิจารณาแผนได้ตามที่เห็นสมควร โดยให้ นำบทบัญญัติเกี่ยวกับ
การแจ้ง นัดประชุมใหม่ตามมาตรา ๙๐/๔๔ วรรคสาม มาใช้บ ังคับ โดย
อนุโลม
 
มาตรา ๙๐/๕๐  ในการประชุม เจ้า หนีค
้ รัง้ ที่ต ้อ งเลื่อ นมา
เพราะผู้ทำ แผนไม่ม าประชุม ตามมาตรา ๙๐/๔๔ หรือ มาตรา ๙๐/๔๘
วรรคสอง ถ้าผู้ทำ แผนไม่ม าประชุม อีก หรือ มาแต่ไ ม่อ าจแสดงให้เ ป็ นที่
พอใจของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ว่ามีเหตุผลพิเศษหรือมีเหตุสุดวิสัยจึง
มาประชุม ไม่ไ ด้ห รือแจ้ง ล่ว งหน้า ก่อ นวัน ประชุม ครัง้ ก่อ นไม่ไ ด้ แล้ว แต่
กรณี ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาว่าสมควรให้
ตัง้ ผู้ทำแผนคนใหม่หรือไม่ ในกรณีที่ที่ประชุมเจ้าหนีล
้ งมติให้ตงั ้ ผู้ทำแผน
คนใหม่ ให้นำ บทบัญญัติมาตรา ๙๐/๕๑ เกี่ยวกับการเลือกผู้ทำ แผนคน
ใหม่ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ในกรณีที่ที่ประชุมเจ้าหนีล
้ งมติไม่ให้ตงั ้ ผู้ทำแผนคนใหม่ ไม่ว่า
จะมีการขอแก้ไขแผนหรือไม่ ถ้าผู้ทำแผนไม่มาประชุมอีกให้ที่ประชุมเจ้า
หนีพ
้ ิจารณาแล้วลงมติตามมาตรา ๙๐/๔๖ ว่าจะยอมรับแผนหรือแผนที่มี
การแก้ไขนัน
้ หรือไม่ ถ้าผู้ทำ แผนมาประชุม ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
ดำเนินการประชุมเจ้าหนีต
้ ่อไป  ทัง้ นี ้ ให้นำบทบัญญัติในมาตรา ๙๐/๔๘
[
มาใช้บังคับโดยอนุโลม ๓๗]
 
มาตรา ๙๐/๕๑  ในกรณีที่ผู้ทำแผนไม่ยอมให้แก้ไขแผนตามที่
ที่ประชุมเจ้าหนีล
้ งมติให้แก้ไขไม่ว่าทัง้ หมดหรือแต่บางส่วน ถ้าที่ประชุม
เจ้า หนีไ้ ม่ม ีม ติต ามมาตรา ๙๐/๔๖ ยอมรับ แผนของผู้ทำ แผน ให้เ จ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ถามที่ประชุมเจ้าหนีว้ ่าจะให้ตงั ้ ผู้ทำแผนคนใหม่หรือ
ไม่ ถ้าที่ประชุมเจ้าหนีล
้ งมติให้มีการตัง้ ผู้ทำ แผนคนใหม่ ให้ที่ประชุมเจ้า
[
หนีพ
้ ิจารณาเลือกผู้ทำแผนคนใหม่ในวันนัน
้ ๓๘]
เจ้าหนีท
้ ี่มาประชุมหรือลูกหนีม
้ ีสิทธิเสนอชื่อผู้ทำ แผนคนใหม่
โดยต้องแสดงหนังสือยินยอมของผู้ถูกเสนอชื่อด้วย
ถ้า ไม่ม ีผ ู้ใ ดเสนอชื่อ ผู้ทำ แผนตามความในวรรคสอง ให้เ จ้า
พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์เ ลื่อ นการประชุม ไปเพื่อ เลือ กผู้ทำ แผนคนใหม่
ภายในกำ หนดเวลาไม่น ้อ ยกว่า สามวัน แต่ไ ม่เ กิน เจ็ด วัน โดยให้นำ
บทบัญญัติเกี่ยวกับการแจ้งนัดประชุมใหม่ตามมาตรา ๙๐/๔๔ วรรคสาม
มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๙๐/๕๒  ถ้า ที่ป ระชุม เจ้า หนีม
้ ีม ติเ ลือ กผู้ทำ แผนคน
ใหม่ได้ ให้ศาลตัง้ บุคคลดังกล่าวเป็ นผู้ทำแผนคนใหม่ โดยให้นำบทบัญญัติ
มาตรา ๙๐/๑๗ วรรคสอง และวรรคหก มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ถ้า ที่ป ระชุม เจ้า หนีล
้ งมติไ ม่ใ ห้ต งั ้ ผู้ทำ แผนคนใหม่ห รือ ที่
ประชุมเจ้าหนีไ้ ม่อาจมีมติเลือกผู้ทำ แผนคนใหม่ได้ หรือศาลมีเหตุผลอัน
สมควรที่จะไม่ให้มีก ารตัง้ ผู้ทำ แผนคนใหม่ต ามมติท ี่ป ระชุม เจ้า หนีต
้ าม
วรรคหนึ่ง ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์รายงานขอให้ศาลมี คำ สั่งพิทัก ษ์
ทรัพย์ของลูกหนีเ้ ด็ดขาดโดยเร็ว ในกรณีเช่นนีใ้ ห้นำ บทบัญญัติในมาตรา
๙๐/๔๘ วรรคสี่ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๙๐/๕๓  เมื่อศาลตัง้ ผู้ทำแผนคนใหม่ ให้อำนาจหน้าที่
ของผู้ทำ แผนคนใหม่และผู้ทำ แผนคนเดิมเริ่มและสิน
้ สุดในวันที่ศาลมีคำ
สั่ง ดังกล่าว และให้ศ าลแจ้ง คำสั่ง นัน
้ แก่เ จ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ทรัพ ย์ ผู้ทำ
แผนคนเดิมและผู้ทำแผนคนใหม่โดยไม่ชักช้า
เมื่อ ได้ทราบคำสั่ง ศาล ให้ผ ู้ทำ แผนคนเดิม ส่ง มอบทรัพ ย์ส ิน
ดวงตรา สมุดบัญชี และเอกสารเกี่ยวกับทรัพย์สินและกิจการของลูกหนี ้
แก่ผู้ทำแผนคนใหม่โดยเร็วที่สุด
ให้เ จ้าพนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์โ ฆษณาคำสัง่ นัน
้ ในราชกิจ จานุ
เบกษาและในหนังสือพิมพ์รายวันที่แพร่หลายอย่างน้อยหนึ่งฉบับ กับแจ้ง
คำสั่งดังกล่าวไปยังบรรดาเจ้าหนีท
้ ี่มีสิทธิออกเสียงและนายทะเบียนหุ้น
ส่ว นบริษ ัท หรือ นายทะเบีย นนิต ิบ ุค คลที่เ กี่ย วข้อ งโดยด่ว น เพื่อ นาย
ทะเบียนจะได้จดแจ้งคำสั่งศาลไว้ในทะเบียน และให้แจ้งไปยังผู้มีอำ นาจ
หน้าที่เกี่ยวกับนิติบุคคลซึ่งเป็ นลูกหนีเ้ พื่อทราบด้วย
 
มาตรา ๙๐/๕๔ ๓๙]  ภายในกำหนดเวลาสี่สบ
[
ิ ห้า วัน นับ แต่วัน
ทราบคำสัง่ ศาลให้ผ ู้ทำ แผนคนใหม่สง่ แผนแก่เ จ้าพนัก งานพิทักษ์ทรัพย์
เพื่อนัดประชุมเจ้าหนีต
้ ามมาตรา ๙๐/๔๔ วรรคหนึ่ง ต่อไป
กำหนดเวลาตามวรรคหนึง่ ศาลอาจขยายให้อก
ี ได้ไม่เกินสองครัง้
ครัง้ ละไม่เกินสิบห้าวัน
ในการประชุมเจ้าหนีเ้ พื่อพิจารณาแผนดังกล่าว ถ้าไม่มีการขอ
แก้ไ ขแผน ให้เ สนอแผนนัน
้ ต่อ ที่ป ระชุม เจ้า หนีเ้ พื่อ ลงมติต ามมาตรา
๙๐/๔๖ ว่าจะยอมรับหรือไม่
ถ้ามีการขอแก้ไขแผน ให้ที่ประชุมเจ้าหนีล
้ งมติว ่าจะให้แก้ไข
ตามคำขอนัน
้ และข้อที่เกี่ยวเนื่องกันก่อน หากไม่มีมติให้แก้ไข ก็ให้ลงมติ
ตามมาตรา ๙๐/๔๖ ว่าจะยอมรับแผนที่เสนอตามวรรคหนึ่งหรือไม่
ถ้ามีมติให้แก้ไขแผนแต่ผู้ทำ แผนไม่มาประชุม ก็ให้ลงมติตาม
มาตรา ๙๐/๔๖ ว่าจะยอมรับแผนที่มีการแก้ไขนัน
้ หรือไม่ ถ้าไม่มีมติตาม
มาตรา ๙๐/๔๖ ยอมรับแผนดังกล่าว ก็ให้ลงมติตามมาตรา ๙๐/๔๖ ว่า
จะยอมรับแผนที่เสนอตามวรรคหนึ่งหรือไม่
ถ้ามีมติให้แก้ไขแผนและผู้ทำ แผนมาประชุม ให้เจ้าพนักงาน
พิทักษ์ทรัพย์สอบถามความยินยอมของผู้ทำ แผนก่อน เมื่อผู้ทำ แผนยอม
ให้แก้ไขแผนตามมติแล้ว จึงให้ที่ประชุมเจ้าหนีล
้ งมติตามมาตรา ๙๐/๔๖
ว่าจะยอมรับแผนที่มีการแก้ไขตามมติของที่ประชุมเจ้าหนีห
้ รือไม่ ในกรณี
ที่ผู้ทำ แผนไม่ยอมให้แก้ไขแผนตามมติของที่ประชุมเจ้าหนีไ้ ม่ว่าทัง้ หมด
หรือ แต่บ างส่ว น ให้ท ี่ป ระชุม เจ้า หนีล
้ งมติต ามมาตรา ๙๐/๔๖ ว่า จะ
ยอมรับ แผนที่มีก ารแก้ไขตามมติข องที่ป ระชุมเจ้าหนีห
้ รือ ไม่ ถ้าไม่มีมติ
ตามมาตรา ๙๐/๔๖ ยอมรับแผนดังกล่าว ก็ให้ลงมติตามมาตรา ๙๐/๔๖
ว่าจะยอมรับแผนที่ผ ู้ทำ แผนยอมให้แก้ไขเพียงบางส่วน หรือแผนที่เสนอ
ตามวรรคหนึ่งหรือไม่
ถ้าที่ประชุมเจ้าหนีไ้ ม่มีมติต ามมาตรา ๙๐/๔๖ ยอมรับ แผน
ของผู้ทำแผนคนใหม่ หรือแผนที่มีการแก้ไขก็ดี หรือไม่ลงมติประการใดก็
ดี หรือไม่มีเจ้าหนีไ้ ปประชุมก็ดี ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์รายงานต่อ
ศาลโดยไม่ชักช้า และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๙๐/๔๘ วรรคสี่ มาใช้บังคับ
โดยอนุโลม
ให้นำ บทบัญญัตม
ิ าตรา ๙๐/๔๕ วรรคสาม มาตรา ๙๐/๔๗
และมาตรา ๙๐/๔๙ มาใช้บงั คับ แก่ก ารพิจ ารณาแผนที่เ สนอใหม่โ ดย
อนุโลม
 
มาตรา ๙๐/๕๕  ถ้า ที่ป ระชุม เจ้า หนี ล
้ งมติต ามมาตรา
๙๐/๔๖ ยอมรับ แผนที่ ประชุมเจ้าหนีอ
้ าจลงมติตงั ้ คณะกรรมการเจ้าหนี ้
[
แทนเจ้าหนีท
้ งั ้ หลายในการสอดส่องดูแลการปฏิบัติงานตามแผนได้ ๔๐]
คณะกรรมการเจ้าหนีต
้ ้องมีจำ นวนไม่น้อยกว่าสามคนและไม่
เกินเจ็ดคน โดยเลือกจากเจ้าหนีห
้ รือผู้รับมอบอำนาจจากเจ้าหนี ้ เจ้าหนี ้
คนหนึง่ จะมีผู้แทนเป็ นกรรมการเจ้าหนีเ้ กินกว่าหนึ่งคนไม่ได้
 
ส่วนที่ ๘
การพิจารณาให้ความเห็นชอบแผนฟื้ นฟูกิจการ
                  
 
มาตรา ๙๐/๕๖  ให้เ จ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ร ายงานมติ
ของที่ประชุมเจ้าหนีท
้ ี่ยอมรับแผนต่อศาลโดยเร็วเพื่อขอให้ศาลมีคำสั่งว่า
จะเห็นชอบด้วยแผนหรือไม่ ในกรณีเช่นนีใ้ ห้ศาลกำหนดวันพิจารณาแผน
เป็ นการด่วน และให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีเวลาส่งแจ้งความให้ผู้ทำ
แผน ลูกหนีแ
้ ละเจ้าหนีท
้ งั ้ หลายทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามวัน
 
มาตรา ๙๐/๕๗  ในการพิจ ารณาแผน ให้ศ าลพิจ ารณาคำ
ชีแ
้ จงของเจ้าพนักงานพิทก
ั ษ์ทรัพย์และผูทำ
้ แผนรวมทัง้ ข้อคัดค้านของลูก
หนีห
้ รือเจ้าหนีผ
้ ม
ู้ ส
ี ท
ิ ธิออกเสียงตามมาตรา ๙๐/๓๐ ซึ่งไม่ได้ลงมติยอมรับ
แผน
 
มาตรา ๙๐/๕๘ ๔๑]  ให้ศาลมีคำ สั่งเห็นชอบด้วยแผน เมื่อศาล
[

พิจารณาแล้ว เห็นว่า
(๑) แผนมีรายการครบถ้วนตามมาตรา ๙๐/๔๒
(๒) ข้อเสนอในการชำระหนีไ้ ม่ขัดต่อมาตรา ๙๐/๔๒ ตรี และ
ในกรณีที่มติยอมรับแผนเป็ นมติตามมาตรา ๙๐/๔๖ (๒) ข้อเสนอในการ
ชำระหนีต
้ ามแผนนัน
้ จะต้องเป็ นไปตามลำดับที่กฎหมายบัญญัติไว้ว่าด้วย
การแบ่ง ทรัพย์สิน ในคดีล้มละลาย เว้น แต่เจ้าหนีน
้ น
ั ้ จะให้ค วามยิน ยอม
และ
(๓) เมื่อการดำเนิน การตามแผนสำเร็จจะทำให้เ จ้า หนีไ้ ด้รับ
ชำระหนีไ้ ม่น้อยกว่ากรณีที่ศาลมีคำพิพากษาให้ลก
ู หนีล
้ ้มละลาย
ในกรณีที่แ ผนมีร ายการไม่ค รบถ้ว นตามมาตรา ๙๐/๔๒ ให้
ศาลสอบถามผู้ทำ แผน ถ้าศาลเห็น ว่า รายการในแผนที่ข าดไปนัน
้ ไม่ใช่
สาระสำคัญในการฟื้ นฟูกิจการของลูกหนีใ้ ห้ถือว่าแผนมีรายการครบถ้วน
ตามมาตรา ๙๐/๔๒
ถ้า ศาลมีคำ สั่ง ไม่เ ห็น ชอบด้ว ยแผน ให้ศ าลนัด พิจ ารณาว่า
สมควรให้ลูกหนีล
้ ้มละลายหรือไม่ ในกรณีเช่นนีใ้ ห้นำบทบัญญัติในมาตรา
๙๐/๔๘ วรรคสี่ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๙๐/๕๙  ภายใต้บ ัง คับ มาตรา ๙๐/๔๒ และมาตรา
๙๐/๖๔ เมื่อ ศาลมีคำ สั่ง เห็น ชอบด้ว ยแผน ให้ศ าลแจ้ง คำ สัง่ นัน
้ แก่ผ ู้
บริห ารแผนและผู้ทำ แผนโดยไม่ชัก ช้า ให้บรรดาสิทธิแ ละอำนาจหน้า ที่
ของผู้ทำ แผนตกเป็ นของผูบ
้ ริหารแผนตัง้ แต่ผู้บริหารแผนได้ทราบคำสั่ง
ศาล
ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๙๐/๒๐ วรรคสี่ และมาตรา ๙๐/๒๑
วรรคสาม มาใช้บังคับโดยอนุโลม
ในกรณีท ี่ล ูก หนีเ้ ป็ นลูก หนีต
้ ามมาตรา ๙๐/๔ (๓) (๔) (๕)
หรือ (๖) ให้ศ าลแจ้ง คำสัง่ แก่ธนาคารแห่ง ประเทศไทย สำนัก งานคณะ
กรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กรมการประกันภัย หรือ
หน่วยงานของรัฐตามมาตรา ๙๐/๔ (๖) แล้วแต่กรณีด้วย และห้ามมิให้ผู้
มีอำ นาจหน้า ที่น น
ั ้ มีคำ สั่ง ใด ๆ ที่ข ัด หรือ แย้ง กับ แผนที่ศ าลมีคำ สั่ง เห็น
ชอบแล้ว เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากศาลที่รับคำร้องขอ
 
ส่วนที่ ๙
การดำเนินการภายหลังศาลมีคำสั่งเห็นชอบแผนฟื้ นฟูกิจการ
                  
 
มาตรา ๙๐/๖๐  แผนซึ่งศาลมีคำ สั่งเห็นชอบแล้ว ผูกมัดเจ้า
หนีซ
้ ึ่ง อาจขอรับ ชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูกจ
ิ การได้และเจ้าหนีซ
้ ง่ึ มีสท
ิ ธิได้รบ

ชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูกจ
ิ การ  ทัง้ นี้ ตามมาตรา ๙๐/๒๗
คำสั่งของศาลซึ่งเห็นชอบด้วยแผนไม่มีผลเปลี่ยนแปลงความ
รับผิดของบุคคลซึง่ เป็ นหุ้นส่วนกับลูกหนี ้ หรือผู้รับผิดร่วมกับลูกหนี ้ หรือ
ผู้ค้ำประกัน หรืออยู่ในลักษณะอย่างผู้ค้ำประกันของลูกหนี ้ ในหนีท
้ ี่มีอยู่
ก่อนวันที่ศาลมีคำสัง่ เห็นชอบด้วยแผน และไม่มีผลให้บค
ุ คลเช่นว่านัน
้ ต้อง
รับผิดในหนีท
้ ี่ก่อขึน
้ ตามแผนตัง้ แต่วันดังกล่าว เว้นแต่บุคคลเช่นว่านัน
้ จะ
ยินยอมโดยมีหลักฐานเป็ นหนังสือด้วย
 
มาตรา ๙๐/๖๑  เจ้า หนีซ
้ งึ่ อาจขอรับ ชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟู
กิจ การผู้ใ ดไม่ย่ น
ื คำขอรับ ชำระหนีภ
้ ายในเวลาที่กำ หนดไว้ต ามมาตรา
๙๐/๒๖ หรือมาตรา ๙๐/๒๗ วรรคสาม แล้วแต่ก รณี เจ้า หนีผ
้ ู้น น
ั ้ ย่อ ม
หมดสิทธิที่จะได้รับ ชำระหนีไ้ ม่ว่า การฟื้ นฟูก ิจการของลูก หนีจ
้ ะเป็ นผล
สำเร็จตามแผนหรือไม่ เว้นแต่
(๑) แผนจะกำหนดไว้เป็ นอย่างอื่น หรือ
(๒) ศาลมีคำสั่งยกเลิกคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการ
 
มาตรา ๙๐/๖๒  เจ้าหนีม
้ ีสิทธิได้รับชำระหนีโ้ ดยไม่ต้องขอรับ
ชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูกิจการในหนีท
้ ี่เกิดขึน
้ เนื่องจากการฟื้ นฟูกิจการของ
ลูกหนีต
้ ามแผน ดังต่อไปนี ้
(๑) หนีซ
้ ึ่งผู้ทำ แผน ผูบ
้ ริหารแผน ผู้บริหารแผนชั่วคราว เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์หรือตัวแทนของบุคคลดังกล่าวก่อขึน

(๒) หนีภ
้ าษีอากร และ
(๓) หนีอ
้ ย่างอื่นที่มีกฎหมายเฉพาะกำหนดให้ต้องชำระ เช่น
เงินสมทบกองทุนเงินทดแทน เป็ นต้น
 
มาตรา ๙๐/๖๓  เมื่อศาลมีคำ สั่งเห็นชอบด้วยแผนแล้ว ถ้ามี
ความจำเป็ นต้อ งแก้ไ ขแผนเพื่อ ให้ก ารฟื้ นฟูก ิจ การสำเร็จ ลุล ่ว งไปได้ ผู้
บริห ารแผนอาจเสนอขอแก้ไ ขแผน ในกรณีเ ช่น ว่า นีใ้ ห้นำ บทบัญ ญัต ิ
มาตรา ๙๐/๒๐ วรรคสี่ มาตรา ๙๐/๔๔ มาตรา ๙๐/๔๕ วรรคหนึ่งและ
วรรคสอง มาตรา ๙๐/๔๖ มาตรา ๙๐/๔๗ มาตรา ๙๐/๕๖ มาตรา
๙๐/๕๗ มาตรา ๙๐/๕๘ วรรคหนึ่งและวรรคสอง มาตรา ๙๐/๕๙ วรรค
หนึ่ง และมาตรา ๙๐/๖๐ มาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่ห้ามมิให้เจ้าหนีห
้ รือ
ลูกหนีข
้ อแก้ไขข้อเสนอขอแก้ไขแผนนัน
้ เว้นแต่ผู้บริหารแผนจะยินยอม
ด้วย
การแก้ไขแผนโดยขอขยายกำหนดระยะเวลาดำเนินการตาม
แผนให้ทำได้ไม่เกินสองครัง้  ครัง้ ละไม่เกินหนึ่งปี เว้นแต่ในกรณีเป็ นที่เห็น
ได้แน่ชัดว่าแผนได้ดำ เนินมาใกล้จะสำเร็จแล้ว ผู้บริหารแผนจะขอขยาย
เวลาต่อไปอีกตามควรแก่กรณีก็ได้
ถ้า ที่ป ระชุม เจ้า หนีไ้ ม่ม ีม ติต ามมาตรา ๙๐/๔๖ ยอมรับ ข้อ
เสนอขอแก้ไขแผนตามวรรคหนึ่ง หรือศาลมีคำสั่งไม่เห็นชอบด้วยข้อเสนอ
ขอแก้ไขแผนดังกล่าว ให้ผู้บริหารแผนบริหารกิจการของลูกหนีต
้ ่อไปตาม
[
แผนเดิม ๔๒]
 
มาตรา ๙๐/๖๔  ผู้บ ริห ารแผนอาจร้อ งขอให้ศ าลมีคำ สั่ง
อนุญาตให้ทำข้อบังคับของลูกหนีข
้ น
ึ ้ ใหม่หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อบังคับ
หรือข้อความในหนังสือบริคณห์สนธิของลูกหนีต
้ ามแนวทางที่กำ หนดใน
แผนหรือแผนที่แก้ไข
เมื่อศาลมีคำสั่งอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ให้นำบทบัญญัติมาตรา
๙๐/๒๐ วรรคสี่ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๙๐/๖๕  ผู้บริหารแผนพ้นจากตำแหน่งในกรณีดังต่อ
ไปนี ้
(๑) ตาย
(๒) นิติบุคคลซึ่งเป็ นผู้บริหารแผนเลิกกัน
(๓) ศาลอนุญาตให้ลาออก
(๔) ถูกศาลมีคำสัง่ พิทักษ์ทรัพย์หรือให้เป็ นคนไร้ความสามารถ
หรือเสมือนไร้ความสามารถ
(๕) ถูกจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำ คุก เว้นแต่ในความ
ผิดอันได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๖) พ้นจากตำแหน่งตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในแผน
(๗) เมื่อระยะเวลาดำเนินการตามแผนสิน
้ สุดลงหรือเมื่อได้ดำเนิน
การเป็ นผลสำเร็จตามแผน
(๘) ศาลมีคำสั่งให้พ้นจากตำแหน่งตามมาตรา ๙๐/๖๗
 
มาตรา ๙๐/๖๖  ให้ผ ู้บ ริห ารแผนจัด ทำรายงานการปฏิบ ัต ิ
งานตามแผนเสนอต่อเจ้า พนัก งานพิทักษ์ทรัพย์ทุกรอบสามเดือนตามที่
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์กำหนด
 
มาตรา ๙๐/๖๗  ในกรณีท ี่ผ ู้บ ริห ารแผนไม่ดำ เนิน การตาม
แผน หรือปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต หรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าหนี ้
หรือ ลูก หนี ้ หรือขาดคุณ สมบัต ิข องผู้บ ริห ารแผนตามที่กำ หนดไว้ใ นกฎ
กระทรวง หรือ มีเ หตุอ่ น
ื ที่ไ ม่ส มควรเป็ นผู้บ ริห ารแผนต่อ ไป เมื่อ เจ้า
พนักงานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ร ายงานหรือ คณะกรรมการเจ้า หนีห
้ รือ ผู้บ ริห าร
ของลูก หนีม
้ ีคำ ขอโดยทำเป็ นคำร้อ ง ศาลจะมีคำ สั่งให้ผู้บริหารแผนพ้น
จากตำแหน่ง หรือมีคำสั่งอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่เห็นสมควรก็ได้
 
มาตรา ๙๐/๖๘  เมื่อผูบ
้ ริหารแผนพ้นจากตำแหน่งและยังมี
กิจการตามแผนที่จะต้องดำเนินต่อไป ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เรียก
ประชุมเจ้าหนีเ้ พื่อลงมติตามมาตรา ๙๐/๔๖ เลือกผู้บริหารแผนคนใหม่
[
โดยเร็วที่สุด ๔๓]
เมื่อได้มีการประชุมเจ้าหนีส
้ องครัง้ แล้ว แต่ที่ประชุมเจ้าหนีไ้ ม่
อาจมีม ติต ามมาตรา ๙๐/๔๖ เลือ กผู้บ ริห ารแผนคนใหม่ไ ด้ ให้เ จ้า
พนักงานพิทัก ษ์ทรัพ ย์รายงานต่อศาล ในกรณีเ ช่น นีใ้ ห้ศาลนัดพิจารณา
รายงานของเจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์เ ป็ นการด่ว น และต้อ งให้เ จ้า
พนักงานพิทัก ษ์ทรัพ ย์มีเ วลาส่ง แจ้ง ความให้ล ูก หนีแ
้ ละเจ้า หนีท
้ งั ้ หลาย
[
ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามวัน ๔๔]
เมื่อศาลได้พิจารณาพยานหลักฐานในสำนวนและฟั งคำชีแ
้ จง
ของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ เจ้าหนี ้ และลูกหนีแ
้ ล้ว ศาลจะมีคำ สัง่ ตัง้
บุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็ นผู้บริหารแผน หรือมี
คำสัง่ อย่างใดอย่างหนึ่งตามที่เห็นสมควร ถ้าศาลเห็นสมควรให้ล ูกหนีล
้ ้ม
ละลายให้มีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนีเ้ ด็ดขาด แต่ถ้าศาลไม่เห็นสมควร
ให้ลูกหนีล
้ ้มละลายก็ให้มีคำสั่งยกเลิกคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการ
ให้นำ บทบัญญัตม
ิ าตรา ๙๐/๒๑ วรรคสาม มาตรา ๙๐/๔๔
วรรคหนึง่ มาตรา ๙๐/๕๑ วรรคสองและวรรคสาม มาตรา ๙๐/๕๒
วรรคหนึ่ง และมาตรา ๙๐/๕๓ วรรคหนึ่งและวรรคสาม มาใช้บังคับโดย
อนุโลม
 
มาตรา ๙๐/๖๙  ในกรณีที่มีเหตุทำ ให้ผู้บริหารแผนทำหน้าที่
ไม่ได้เป็ นการชั่วคราวหรือในระหว่างที่ผู้บริหารแผนพ้นจากตำแหน่งและ
ศาลยัง มิไ ด้ม ีคำ สั่ง ตัง้ ผู้บ ริห ารแผนคนใหม่ ให้ศ าลมีคำ สั่ง ตัง้ บุค คลใด
บุคคลหนึ่งหรือหลายคนเป็ นผู้บริหารแผนชั่วคราวจนกว่าเหตุเช่นว่านัน

สิน
้ สุด ลง ในระหว่างที่ไม่สามารถมีคำ สั่งตัง้ ผูบ
้ ริหารแผนชั่วคราวได้ ให้
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็ นผู้บริหารแผนชั่วคราว
ในกรณีทศ
่ี าลมีคำสัง่ ตัง้ ผูบ
้ ริหารแผนชัว่ คราวให้นำ บทบัญญัติ
มาตรา ๙๐/๒๐ วรรคสี่ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
มาตรา ๙๐/๗๐  ถ้า ผู้บ ริห ารของลูก หนี ้ ผู้บ ริห ารแผน ผู้
บริห ารแผนชั่ว คราวหรือ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ แล้ว แต่ก รณี เห็น
ว่าการฟื้ นฟูกิจการได้ดำเนินการเป็ นผลสำเร็จตามแผนแล้วให้รายงานขอ
ให้ศาลมีคำสั่งยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการโดยไม่ชักช้า และให้ศาลนัดพิจารณา
หากได้ความว่าการฟื้ นฟูกิจการได้ดำเนินการเป็ นผลสำเร็จตามแผน ก็ให้
ศาลมีคำสั่งยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการโดยไม่ชักช้า แต่ถ้าได้ความว่าการฟื้ นฟู
กิจการยัง ไม่เป็ นผลสำเร็จตามแผน ในกรณีที่ยังเหลือ ระยะเวลาดำเนิน
การตามแผน ก็ใ ห้ศ าลมีคำ สัง่ ให้ดำ เนิน การฟื้ นฟูก ิจ การต่อ ไปภายใน
กำหนดระยะเวลาตามแผน ถ้า ในระหว่างนัน
้ ระยะเวลาดำเนินการตาม
แผนสิน
้ สุดลงแล้ว แต่เ ป็ นที่เ ห็น ได้แ น่ช ัด ว่า แผนได้ดำ เนินการมาใกล้จะ
สำเร็จแล้ว ศาลจะขยายระยะเวลาดำเนินการตามแผนต่อไปอีกตามควรแก่
กรณีกไ็ ด้ มิฉะนัน
้ ให้ศาลดำเนินการต่อไปตามวรรคสอง
เมื่อ ระยะเวลาดำ เนิน การตามแผนสิน
้ สุด ลง แต่ก ารฟื้ นฟู
กิจการยังไม่เป็ นผลสำเร็จตามแผน ให้ผู้บริหารแผน ผูบ
้ ริหารแผนชั่วคราว
หรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ แล้วแต่กรณี รายงานให้ศาลทราบภายใน
สิบ สี่วัน นับ แต่ระยะเวลาดำเนิน การตามแผนสิน
้ สุด ลง ในกรณีเ ช่น นีใ้ ห้
ศาลนัดพิจารณาเป็ นการด่วนและแจ้งวันเวลานัดให้เ จ้า พนักงานพิทัก ษ์
ทรัพย์ทราบ ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพ ย์ส ่ง แจ้ง ความให้ล ูก หนีแ
้ ละเจ้า
หนีท
้ ัง้ หลายทราบล่ว งหน้า ไม่น ้อ ยกว่า สามวัน ในการพิจ ารณาให้ศ าล
พิจ ารณาพยานหลัก ฐานในสำ นวนและฟั งคำ ชีแ
้ จงของเจ้า พนัก งาน
พิทักษ์ทรัพย์ เจ้าหนี ้ และคำคัดค้านของลูกหนี ้ ถ้าศาลเห็นสมควรให้ล ูก
หนีล
้ ้มละลายให้มีคำสัง่ พิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนีเ้ ด็ดขาด แต่ถ้าศาลไม่เห็น
สมควรให้ลูกหนีล
้ ้มละลายก็ให้มีคำสั่งยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการ
นับแต่ระยะเวลาดำเนินการตามแผนสิน
้ สุดลงจนกระทั่งศาลมี
คำสั่ง พิท ัก ษ์ท รัพ ย์ข องลูก หนีเ้ ด็ด ขาดหรือ ยกเลิก การฟื้ นฟูก ิจ การตาม
วรรคสอง ให้ผู้บริหารแผน ผู้บริหารแผนชั่วคราว หรือเจ้าพนักงานพิทักษ์
ทรัพย์ แล้วแต่กรณี คงมีอำนาจหน้าที่จัดการกิจการและทรัพย์สินของลูก
หนีต
้ ่อไปเท่าทีจำ
่ เป็ น
 
มาตรา ๙๐/๗๑  เมื่อศาลมีคำสัง่ ยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการ แต่ผู้
บริหารของลูกหนีย
้ ังไม่ได้เข้าไปจัดการกิจการและทรัพย์สน
ิ ของลูกหนี้ ให้ผู้
บริหารแผน ผูบ
้ ริหารแผนชัว่ คราว หรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ แล้วแต่
กรณี มีอำ นาจจัด การเพื่อ รัก ษาประโยชน์ข องลูก หนีต
้ ามสมควรแก่
พฤติการณ์ จนกว่าผู้บริหารของลูกหนีจ
้ ะเข้าจัดการกิจการและทรัพย์สิน
ของลูกหนี ้
ถ้า ตำ แหน่ง ผู้บ ริห ารของลูก หนีว้ ่า งอยู่ใ นวัน ที่ศ าลมีคำ สั่ง
ยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการจนเป็ นเหตุให้ไม่สามารถดำเนินกิจการต่อไปได้ ให้
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เรียกประชุมผู้ถือหุ้นของลูกหนี ้ หรือดำเนินการ
ตามกฎหมายเพื่อให้มีการแต่งตัง้ ผู้บริหารของลูกหนีโ้ ดยเร็วที่สุด
ในกรณีที่ต้องมีก ารประชุมเพื่อ ดำเนิน การตามวรรคสอง ให้
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็ นประธานในการประชุมดังกล่าว และให้ถือว่า
เป็ นการประชุมตามกฎหมายว่าด้วยการนัน

 
ส่วนที่ ๑๐
การยกคำร้องขอให้ฟ้ื นฟูกิจการ การยกเลิกคำสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการ
และการยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการ
                  
 
มาตรา ๙๐/๗๒  ในกรณีที่ศ าลมีคำ สั่ง ยกคำร้อ งขอ ให้ศ าล
ประกาศคำสั่งดังกล่าวในหนังสือพิมพ์รายวันที่แพร่หลายอย่างน้อยหนึ่ง
ฉบับ กับให้ศาลแจ้ง คำสั่งดังกล่าวไปยังนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทหรือ
นายทะเบียนนิติบุคคลที่เกี่ยวข้องโดยด่วนเพื่อนายทะเบียนจะได้จดแจ้ง
คำสั่งศาลไว้ในทะเบียน และให้ศ าลแจ้ง ไปยัง ธนาคารแห่ง ประเทศไทย
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กรมการ
ประกันภัย หรือหน่วยงานของรัฐตามมาตรา ๙๐/๔ (๖) แล้วแต่กรณี เพื่อ
ทราบด้วย
 
มาตรา ๙๐/๗๓  ในกรณีท ี่ศ าลมีคำ สั่ง ยกเลิก คำสั่ง ให้ฟ้ื นฟู
กิจการหรือมีคำสั่งยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการ ให้ศาลแจ้งคำสั่งดังกล่าวแก่เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ผู้บ ริห ารชั่วคราว ผู้ทำ แผน ผู้บ ริห ารแผน หรือผู้
บริหารแผนชั่วคราว แล้วแต่กรณี และผู้บริหารของลูกหนีโ้ ดยไม่ชักช้า
เมื่อ ได้ท ราบคำสัง่ ของศาลตามวรรคหนึ่ง แล้ว เจ้า พนัก งาน
พิทักษ์ทรัพย์ ผู้บริหารชัว่ คราว ผูทำ
้ แผน ผูบ
้ ริหารแผน หรือผูบ
้ ริหารแผน
ชัว่ คราว แล้ว แต่ก รณี ต้อ งส่ง มอบทรัพ ย์ส น
ิ ดวงตรา สมุด บัญ ชี และ
เอกสารเกี่ยวกับทรัพย์สินและกิจการของลูกหนีแ
้ ก่ผู้บริหารของลูกหนีโ้ ดย
เร็วที่สุด
ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์โฆษณาคำสั่งยกเลิกคำสั่งให้ฟ้ื นฟู
กิจ การหรือ คำสั่ง ยกเลิก การฟื้ นฟูก ิจ การ แล้ว แต่ก รณี ในราชกิจ จานุ
เบกษาและหนังสือพิมพ์รายวันที่แพร่หลายไม่น้อยกว่าสองฉบับ และแจ้ง
คำสั่งดังกล่าวไปยังนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทหรือนายทะเบียนนิติบุคคล
ที่เกี่ยวข้องโดยด่วนเพื่อนายทะเบียนจะได้จดแจ้ง คำสั่งศาลไว้ในทะเบียน
และให้เ จ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์แ จ้ง ไปยัง ธนาคารแห่ง ประเทศไทย
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กรมการ
ประกันภัย หรือหน่วยงานของรัฐตามมาตรา ๙๐/๔ (๖) แล้วแต่กรณี เพื่อ
ทราบด้วย
 
มาตรา ๙๐/๗๔  ในกรณีท ี่ศ าลมีคำ สั่ง ยกเลิก คำสั่ง ให้ฟ้ื นฟู
กิจการ ให้อำนาจหน้าที่ในการจัดการกิจการและทรัพย์สินของลูกหนีก
้ ลับ
เป็ นของผู้บ ริห ารของลูก หนี ้ และให้ผ ู้ถ ือ หุ้น ของลูก หนีก
้ ลับ มีส ิท ธิต าม
กฎหมายต่อไป
 
มาตรา ๙๐/๗๕  คำสั่งยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการมีผลให้ล ูกหนี ้
หลุดพ้นจากหนีท
้ งั ้ ปวงซึ่งอาจขอรับชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูกิจการได้ เว้นแต่
หนีซ
้ ึ่งเจ้าหนีท
้ ี่อาจขอรับชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูกิจการจะได้ขอรับชำระหนี ้
ไว้แล้ว และให้มีผลดังนี ้
(๑) ผู้บ ริห ารของลูก หนีก
้ ลับ มีอำ นาจจัด การกิจ การและ
ทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ่อไป
(๒) ผู้ถือหุ้นของลูกหนีก
้ ลับมีสิทธิตามกฎหมายต่อไป
(๓) ค่าตอบแทนของผู้บริหารชั่วคราว ผู้ทำแผน ผู้บริหารแผน
ผู้บ ริห ารแผนชั่ว คราวและหนีซ
้ ึ่ง เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ ผ ู้บ ริห าร
ชั่วคราว ผู้ทำ แผน ผู้บ ริห ารแผน หรือ ผู้บ ริห ารแผนชั่ว คราวก่อ ขึน
้ เพื่อ
ประโยชน์ใ นการฟื้ นฟูก ิจ การของลูก หนี ้ ยกเว้น หนีล
้ ะเมิด เป็ นหนี ้
บุร ิม สิท ธิเ หนือ ทรัพ ย์ส ิน ทัง้ หมดของลูก หนีโ้ ดยให้อ ยู่ใ นลำดับ เดีย วกับ
บุริม สิท ธิลำ ดับ ที่ ๑ ตามมาตรา ๒๕๓ แห่ง ประมวลกฎหมายแพ่ง และ
พาณิชย์
 
มาตรา ๙๐/๗๖  คำสั่งศาลที่ให้ยกคำร้องขอ ยกเลิกคำสั่งให้
ฟื้ นฟูกิจการและยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการ ไม่กระทบถึงการใดที่เจ้าพนักงาน
พิทักษ์ทรัพย์ ผู้บริหารชั่วคราว ผู้ทำแผน ผู้บริหารแผนหรือผู้บริหารแผน
ชั่วคราวได้กระทำไปแล้ว ก่อนศาลมีคำสั่งเช่นว่านัน

 
ส่วนที่ ๑๑
การขอรับชำระหนีเ้ มื่อศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนีเ้ ด็ดขาด
                  
 
มาตรา ๙๐/๗๗  ในกรณีที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี ้
เด็ด ขาดตามมาตรา ๙๐/๔๘ มาตรา ๙๐/๕๐ มาตรา ๙๐/๕๒ มาตรา
๙๐/๕๔ มาตรา ๙๐/๕๘ มาตรา ๙๐/๖๘ และมาตรา ๙๐/๗๐ ให้ถือว่า
วันที่ศาลมีคำสั่งรับคำร้องขอไว้เพื่อพิจารณาเป็ นวันที่มีการขอให้ลูกหนีล
้ ้ม
ละลาย และให้เจ้าหนีซ
้ ึ่งมีสิทธิได้รับ ชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูกิจการ รวมทัง้
เจ้าหนีใ้ นหนีอ
้ ่น
ื ที่อาจขอรับชำระหนีไ้ ด้จากมูลหนีท
้ ไ่ี ด้เกิดขึน
้ ตัง้ แต่ศาลได้มี
คำสัง่ ให้ฟ้ ื นฟูกจ
ิ การ ยื่น คำขอรับ ชำระหนีต
้ อ
่ เจ้า พนัก งานพิทก
ั ษ์ทรัพ ย์
ภายในกำหนดเวลาตามมาตรา ๙๑ แล้วให้ดำ เนินการต่อไปตามมาตรา
๑๐๔ ถึงมาตรา ๑๐๘
หนีค
้ ่าตอบแทนของผู้บริหารชั่วคราว ผู้ทำแผน ผู้บริหารแผน
และผู้บริหารแผนชั่วคราว และหนีซ
้ ึ่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ผู้บริหาร
ชั่วคราว ผู้ทำ แผน ผู้บ ริห ารแผน หรือ ผู้บ ริห ารแผนชั่ว คราวก่อ ขึน
้ เพื่อ
ประโยชน์ในการฟื้ นฟูก ิจ การของลูก หนี ้ รวมถึง หนีซ
้ ึ่ง ลูก หนีก
้ ่อ ขึน
้ โดย
ชอบตามมาตรา ๙๐/๑๒ (๙) มิให้อยู่ภายใต้บังคับแห่งมาตรา ๙๔ (๒)
หนีซ
้ ึ่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ผู้ทำแผน ผู้บริหารแผน หรือ
ผู้บริหารแผนชั่วคราวก่อขึน
้ ตามแผนเพื่อประโยชน์ในการฟื้ นฟูกิจการของ
ลูกหนีใ้ ห้จัดอยู่ในลำดับเดียวกับค่าใช้จ่ายของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ใน
การจัดการทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ามมาตรา ๑๓๐ (๒)
หนีจำ
้ นวนใดที่เ จ้า หนีต
้ ามวรรคหนึ่ง ได้ชำ ระค่า ธรรมเนีย ม
คำ ขอรับ ชำ ระหนีใ้ นการฟื้ นฟ ก
ู ิจ การแล้ว เจ้า หนีไ้ ม ่ต ้อ งชำ ระค่า
ธรรมเนียมคำขอรับชำระหนีใ้ นคดีล้มละลายสำหรับหนีจำ
้ นวนนัน
้ อีก
ให้ที่ประชุมเจ้าหนีค
้ รัง้ แรกแต่ง ตัง้ เจ้า หนีค
้ นหนึ่ง หรือ หลาย
คนทำหน้าที่เป็ นเจ้าหนีผ
้ ู้เป็ นโจทก์
 
มาตรา ๙๐/๗๘  คำสั่งของศาลที่ให้พิทัก ษ์ทรัพ ย์ข องลูก หนี ้
เด็ด ขาดตามความในมาตรา ๙๐/๔๘ มาตรา ๙๐/๕๐ มาตรา ๙๐/๕๒
มาตรา ๙๐/๕๔ มาตรา ๙๐/๕๘ มาตรา ๙๐/๖๘ และมาตรา ๙๐/๗๐ ไม่
กระทบถึงการใดที่ได้กระทำโดยสุจริตและเป็ นไปตามแผนแล้วก่อนศาลมี
คำสัง่ เช่น ว่า นัน
้ และมีผ ลให้ห นีท
้ ี่เ จ้า หนีม
้ ีส ิท ธิไ ด้ร ับ ชำระในการฟื้ นฟู
กิจการกลับคืนสู่สถานะดังที่เป็ นอยู่เดิม เว้นแต่สภาพหนีใ้ นขณะนัน
้ จะไม่
เปิ ดช่องให้กระทำได้
 
ส่วนที่ ๑๒
[
การอุทธรณ์ ๔๕]
                  
 
[
มาตรา ๙๐/๗๙ ๔๖]  (ยกเลิก)
 
ส่วนที่ ๑๓
บทกำหนดโทษว่าด้วยกระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการฟื้ นฟูกิจการของลูก
หนี ้
                  
 
มาตรา ๙๐/๘๐  ผู้ใ ดยื่น คำร้อ งขอตามมาตรา ๙๐/๓ หรือ
แบบแสดงความประสงค์จ ะเข้า ประชุม เพื่อ เลือ กผู้ทำ แผนตามมาตรา
๙๐/๒๒ หรือ คำขอรับ ชำระหนีใ้ นการฟื้ นฟูก ิจ การตามมาตรา ๙๐/๒๖
หรือ หนัง สือ ขอให้ผ ทำ
ู้ แผนออกหนัง สือ รับ รองสิท ธิข องตนตามมาตรา
๙๐/๒๗ วรรคสาม อันเป็ นเท็จในสาระสำคัญซึ่งอาจทำให้ลูกหนี ้ เจ้าหนี ้ ผู้
อื่น หรือประชาชนเสียหาย ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามแสนบาท หรือ
จำคุกไม่เกินสามปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
มาตรา ๙๐/๘๑  ผู้ใดให้ถ้อยคำหรือส่งสมุดบัญชี เอกสารหรือ
วัตถุพยานอันเป็ นเท็จในสาระสำคัญเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สินของลูก
หนีห
้ รือการฟื้ นฟูกิจการของลูกหนีต
้ ่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ผู้ทำแผน
ผู้บริหารแผน หรือผู้บริหารแผนชั่วคราว ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสาม
แสนบาท หรือจำคุกไม่เกินสามปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
มาตรา ๙๐/๘๒  ผู้ใ ดฝ่ าฝื นบทบัญ ญัต ิแ ห่ง มาตรา ๙๐/๑๒
(๙) ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามแสนบาท หรือจำคุกไม่เกินสามปี หรือ
ทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
มาตรา ๙๐/๘๓  ผู้ใ ดฝ่ าฝื นคำ สั่ง ของเจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์
ทรัพย์ที่ออกตามความในมาตรา ๙๐/๒๐ วรรคสอง หรือฝ่ าฝื นบทบัญญัติ
แห่งมาตรา ๙๐/๑๙ มาตรา ๙๐/๒๑ วรรคสาม มาตรา ๙๐/๒๔ วรรค
สอง มาตรา ๙๐/๓๔ มาตรา ๙๐/๓๖ มาตรา ๙๐/๕๓ วรรคสอง มาตรา
๙๐/๕๙ วรรคสอง มาตรา ๙๐/๖๘ วรรคสี่ มาตรา ๙๐/๗๐ วรรคสอง
หรือ มาตรา ๙๐/๗๓ วรรคสอง โดยไม่มีเหตุอันสมควร ต้องระวางโทษ
ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
มาตรา ๙๐/๘๔  ผู้บริหารของลูกหนีผ
้ ู้ใดกระทำการอย่างหนึ่ง
อย่างใด ดังต่อไปนี ้
(๑) ไม่ชแ
ี้ จงข้อความอัน เป็ นสาระสำคัญเกีย
่ วกับกิจการหรือ
ทรัพย์สน
ิ ของลูกหนีต
้ อ
่ ศาล เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ผู้ทำ แผน ผู้บริหาร
แผน หรือที่ประชุมเจ้าหนี ้ เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่ามิได้มีเจตนาฉ้อฉล
(๒) มิได้แจ้งให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทราบภายในกำหนด
เวลาสิบ ห้าวัน เมื่อได้ทราบว่า มีผ ู้นำ หนีส
้ ิน อัน เป็ นเท็จมากล่า วอ้า งเพื่อ
เลือกผู้ทำแผนหรือขอรับชำระหนีต
้ ามแผน
(๓) มิได้แจ้งให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทราบภายในกำหนด
เวลาสิบห้าวัน เมื่อได้ทราบว่ามีผู้นำ หนีส
้ ินอันเป็ นเท็จมาขอให้ชำ ระหนี ้
ตามมาตรา ๙๐/๒๗ วรรคสาม หรือมาตรา ๙๐/๖๒
(๔) ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนีส
้ ินทัง้ หมดที่มีอยู่
รายชื่อและที่อยู่ของเจ้าหนีท
้ งั ้ หลายของลูกหนีต
้ ามมาตรา ๙๐/๖ วรรคสี่
หรือ มาตรา ๙๐/๙ วรรคสอง หรือ ยื่น คำ ชีแ
้ จงเกี่ย วกับ กิจ การและ
ทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ามมาตรา ๙๐/๓๕ อันเป็ นเท็จในสาระสำคัญซึ่งอาจ
ทำให้เจ้าหนีเ้ สียหาย
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือจำคุกไม่เกินสอง
ปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
มาตรา ๙๐/๘๕  ผู้ใดให้ ขอให้ หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สินหรือ
ประโยชน์อ่ น
ื ใดแก่เจ้าหนีห
้ รือผู้อ่ น
ื โดยมุ่งหมายที่จะได้รับการสนับสนุน
หรือการยอมรับของเจ้าหนีใ้ นการเลือกผู้ทำ แผนหรือผู้บริหารแผน หรือ
การยอมรับแผนหรือการแก้ไขแผน ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามแสน
บาท หรือจำคุกไม่เกินสามปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
มาตรา ๙๐/๘๖  ผู้ใดเรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือ
ประโยชน์อ่ น
ื ใดสำหรับตนเองหรือผู้อ่ น
ื เพื่อที่จะให้ตนเองหรือเจ้าหนีอ
้ ่น

สนับสนุนหรือไม่คัดค้านในการเลือกผู้ทำแผนหรือผู้บริหารแผน หรือการ
ยอมรับแผนหรือการแก้ไขแผน ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามแสนบาท
หรือจำคุกไม่เกินสามปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
มาตรา ๙๐/๘๗  ผู้ใดล่วงรู้กิจการหรือข้อมูลใด ๆ ของลูกหนี ้
ที่ได้รับการฟื้ นฟูเนื่องมาจากการปฏิบัติตามอำนาจและหน้าที่ที่กำหนดใน
หมวด ๓/๑ นี ้ อันเป็ นกิจการหรือข้อมูลที่ตามปกติวส
ิ ย
ั ของลูกหนีท
้ ไ่ี ด้รบ

การฟื้ นฟูจะพึง สงวนไว้ไ ม่เ ปิ ดเผย ถ้า ผูน
้ น
ั ้ นำไปเปิ ดเผยด้ว ยประการใด
ๆ นอกจากตามหน้า ที่ห รือ เพื่อ ประโยชน์ในการฟื้ นฟูก ิจการตามหมวด
๓/๑ ต้อ งระวางโทษปรับ ไม่เ กิน สามแสนบาท หรือ จำคุก ไม่เ กิน สามปี
หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
มาตรา ๙๐/๘๘  ผู้ใดเป็ นผู้บริหารชั่วคราว ผู้ทำแผน ผู้บริหาร
แผน ผู้บริหารแผนชั่วคราว ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต
หรือกระทำการฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งหมวด ๓/๑ โดยมุ่ง
หมายให้เ กิดความเสียหายแก่ล ูก หนีห
้ รือ เจ้า หนี ้ ต้อ งระวางโทษปรับ ไม่
เกินห้าแสนบาท หรือจำคุกไม่เกินห้าปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
มาตรา ๙๐/๘๙  ในกรณีท ี่ผ ู้ก ระทำ ความผิด ตามความใน
หมวด ๓/๑ เป็ นนิติบค
ุ คล ถ้าการกระทำความผิดของนิต ิบ ุคคลนัน
้ เกิด
จากการสั่งการหรือไม่สั่งการ หรือกระทำการหรือไม่กระทำการอัน เป็ น
หน้าที่ที่ต้องกระทำของกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบใน
การดำเนินงานของนิติบุคคลนัน
้ ผู้นน
ั ้ ต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้สำ หรับ
ความผิดนัน
้ ๆ ด้วย
 
มาตรา ๙๐/๙๐  ให้ลูกหนีแ
้ ละเจ้าหนีเ้ ป็ นผู้เสียหายในความ
ผิดตามความในหมวด ๓/๑ ด้วย
 
หมวด ๓/๒
กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการฟื้ นฟูกิจการของลูกหนี ้
[๔๗]
ที่เป็ นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
                  
 
ส่วนที่ ๑
บทนิยาม
                  
 
[๔๘]
มาตรา ๙๐/๙๑   ในหมวดนี ้ เว้นแต่ข้อความจะแสดงให้เห็น
เป็ นอย่างอื่น
“เจ้า หนี”
้  หมายความว่า เจ้า หนีม
้ ีป ระกัน หรือ เจ้า หนีไ้ ม่ม ี
ประกัน
“ลูก หนี”
้  หมายความว่า ลูก หนีท
้ ี่เ ป็ นบุค คลธรรมดา คณะ
บุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้าง
หุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด หรือนิติบุคคลอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
ซึง่ ประกอบธุรกิจที่มีลักษณะเป็ นวิสาหกิจขนาดกลางหรือขนาดย่อมตาม
กฎหมายว่า ด้ว ยการส่ง เสริม วิส าหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อ มที่ข น
ึ้
ทะเบียนกับสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือที่
จดทะเบียนกับหน่วยงานอื่นของรัฐ
“คำร้องขอ” หมายความว่า คำร้องขอให้ศาลมีคำ สัง่ ให้ฟ้ื นฟู
กิจการและเห็นชอบด้วยแผน
“ผู้ร ้อ งขอ” หมายความว่า ผู้ย่ น
ื คำร้อ งขอให้ศ าลมีคำ สั่ง ให้
ฟื้ นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน
“แผน” หมายความว่า แผนฟื้ นฟูกิจการ
“ผู้ถือหุ้นของลูกหนี”
้  หมายความว่า ผู้ถือหุ้นของห้างหุ้นส่วน
สามัญ ไม่จ ดทะเบีย น ห้า งหุ้น ส่ว นสามัญ นิต ิบ ุค คล ห้า งหุ้น ส่ว นจำ กัด
บริษัทจำกัด หรือนิติบุคคลอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ซึง่ เป็ นลูกหนี ้
และหมายความรวมถึงผู้มีส่วนได้เสียในคณะบุคคลผู้เป็ นลูกหนีด
้ ้วย
“ผู้บริหารแผน” หมายความว่า ผู้จัดการกิจการและทรัพย์สิน
ของลูกหนีต
้ ามแผน
“ผู้บ ริห ารของลูก หนี”
้  หมายความว่า หุ้น ส่ว นผู้จ ัด การ
กรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้มีอำนาจดำเนินกิจการของลูกหนีอ
้ ยู่ในวันที่ศาล
มีคำสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน
 
ส่วนที่ ๒
การขอให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน
                  
 
[๔๙]
มาตรา ๙๐/๙๒   เมื่อลูกหนีไ้ ม่อยู่ในสถานะที่จะชำระหนีไ้ ด้

และเป็ นหนีท
้ ี่เกิดขึน
้ จากการดำเนินกิจการซึ่งเป็ นหนีเ้ จ้าหนีค
้ นเดียวหรือ
หลายคนรวมกัน โดยลูกหนีท
้ ี่เป็ นบุคคลธรรมดาต้องมีจำนวนหนีแ
้ น่นอน
ไม่น้อยกว่าสองล้านบาท ลูกหนีท
้ ี่เป็ นคณะบุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จด
ทะเบียน ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือนิติบุคคลอื่น
ตามที่กำ หนดในกฎกระทรวง ต้อ งมีจำ นวนหนีแ
้ น่น อนไม่น ้อ ยกว่า สาม
ล้า นบาท และลูกหนีท
้ ี่เ ป็ นบริษัท จำกัด ต้อ งมีจำ นวนหนีแ
้ น่น อนไม่น ้อ ย
กว่าสามล้านบาทแต่ไม่ถึงสิบล้านบาท ไม่ว่าหนีน
้ น
ั ้ จะถึงกำหนดชำระโดย
พลัน หรือ ในอนาคตก็ต าม ถ้า มีเ หตุอ ัน สมควรและมีช ่อ งทางที่จ ะฟื้ นฟู
กิจการของลูกหนี ้ บุคคลตามมาตรา ๙๐/๙๓ อาจยื่นคำร้องขอต่อศาลให้
มีการฟื้ นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผนได้
ถ้ามีเหตุอย่างหนึ่งอย่างใดต่อไปนีเ้ กิดขึน
้ ให้สันนิษฐานว่าลูก
หนีไ้ ม่อยู่ในสถานะที่จะชำระหนีไ้ ด้
(๑) ลูกหนีม
้ ีทรัพย์สินไม่พอกับหนีส
้ ิน
(๒) ลูก หนีไ้ ม่ชำ ระหนีภ
้ ายในกำหนด และเมื่อ ได้ร ับ หนัง สือ
ทวงถามจากเจ้าหนีใ้ ห้ชำระหนีแ
้ ล้วยังไม่ชำระหนีภ
้ ายในเวลาสามสิบวัน
(๓) ลูกหนีไ้ ม่มีทรัพย์สินที่จะพึงบังคับคดีไ ด้ต ามคำพิพากษา
หรือเจ้าหนีร้ ้องขอบังคับคดีแก่ลูกหนีแ
้ ล้วไม่มีทรัพย์สินพอชำระหนี ้
(๔) ลูก หนีผ
้ ิด นัด ชำ ระหนีเ้ จ้า หนีร้ ายใดรายหนึ่ง และมี
พฤติการณ์แสดงให้เห็นว่าลูกหนีผ
้ ิดนัดหรืออาจจะผิดนัด ชำระหนีเ้ จ้าหนี ้
รายอื่น ๆ
(๕) ลูกหนีม
้ ีกระแสเงินสดไม่พอชำระหนี ้
 
มาตรา ๙๐/๙๓ ๕๐]  บุคคลซึ่ง มีสิทธิย่ น
[
ื คำร้อ งขอต่อ ศาลให้มี
การฟื้ นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผนได้แก่บุคคล ดังต่อไปนี ้
(๑) เจ้าหนีใ้ นหนีท
้ ี่เกิดขึน
้ จากการดำเนินกิจการซึ่งอาจเป็ นคน
เดียวหรือหลายคนรวมกัน และมีจำ นวนหนีแ
้ น่นอนตามมาตรา ๙๐/๙๒
วรรคหนึ่ง
(๒) ลูกหนีซ
้ ึ่งมีลักษณะตามมาตรา ๙๐/๙๒ วรรคหนึ่ง
 
[๕๑]
มาตรา ๙๐/๙๔   บุค คลตามมาตรา ๙๐/๙๓ จะยื่นคำร้อง
ขอให้มีการฟื้ นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผนของลูกหนีไ้ ม่ได้ ในกรณีดัง
ต่อไปนี ้
(๑) ศาลได้มีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนีเ้ ด็ดขาด
(๒) ศาลหรือ นายทะเบีย นได้ม ีคำ สั่ง ให้เ ลิก หรือ เพิก ถอน
ทะเบีย นนิติบ ค
ุ คลที่เ ป็ นลูก หนี ้ หรือ มีก ารจดทะเบีย นเลิก นิต ิบ ุค คลนัน

หรือนิต ิบุคคลที่เ ป็ นลูกหนีต
้ ้องเลิกกันด้วยเหตุอ่ น
ื   ทัง้ นี ้ ไม่ว่า การชำระ
บัญชีของนิติบค
ุ คลดังกล่าวจะเสร็จแล้วหรือไม่
(๓) ศาลได้เ คยมีคำ สั่ง ยกคำ ร้อ งขอ ยกเลิก คำ สั่ง ให้ฟ้ื นฟู
กิจการและเห็นชอบด้วยแผน หรือยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการของลูกหนี ้ ตาม
ความในหมวดนี ้ ภายในระยะเวลาหกเดือนก่อนยื่นคำร้องขอ
 
[๕๒]
มาตรา ๙๐/๙๕   คำร้องขอของบุคคลตามมาตรา ๙๐/๙๓
เพื่อให้ศาลมีคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน จะต้องแสดงโดย
ชัดแจ้งถึง
(๑) การที่ลูกหนีไ้ ม่อยู่ในสถานะที่จะชำระหนีไ้ ด้
(๒) รายชื่อและที่อยู่ของเจ้าหนีค
้ นเดียวหรือหลายคนที่ล ูกหนี ้
เป็ นหนีท
้ ี่เ กิด ขึน
้ จากการดำเนิน กิจ การ และมีจำ นวนหนีแ
้ น่น อนตาม
มาตรา ๙๐/๙๒ วรรคหนึ่ง รวมทัง้ รายชื่อและที่อยู่ของเจ้าหนีท
้ งั ้ หลาย
(๓) เหตุอันสมควรและช่องทางที่จะฟื้ นฟูกิจการ
ผู้ร้องขอจะต้องแนบแผน พร้อมหลักฐานแสดงว่าเจ้าหนีไ้ ด้ให้
ความเห็นชอบในแผนไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนหนีท
้ งั ้ หมด
 
[๕๓]
มาตรา ๙๐/๙๖   ในแผนให้มีรายการต่อไปนี ้ เป็ นอย่างน้อย
(๑) เหตุผลที่ทำให้มีการฟื้ นฟูกิจการ
(๒) รายละเอียดแห่งสินทรัพย์ หนีส
้ ิน และภาระผูกพันต่าง ๆ
ของลูกหนีใ้ นขณะที่ย่ น
ื คำร้องขอ
(๓) หลักการและวิธีการฟื้ นฟูกิจการ
(ก) ขัน
้ ตอนของการฟื้ นฟูกิจการ
(ข) การชำ ระหนี ้ การยืด กำ หนดเวลาชำ ระหนี ้ การลด
จำนวนหนีล
้ ง และการจัด กลุ่ม เจ้า หนีโ้ ดยสิท ธิข องเจ้า หนีท
้ ี่อ ยู่ใ นกลุ่ม
เดียวกันต้องได้รับการปฏิบัติเท่าเทียมกัน เว้นแต่เจ้าหนีผ
้ ู้ได้รับการปฏิบัติ
ที่เสียเปรียบในกลุ่มนัน
้ จะให้ความยินยอมเป็ นหนังสือ
(ค) การลดทุนและเพิ่มทุน
(ง) การก่อหนีแ
้ ละระดมเงินทุน รวมตลอดถึงแหล่งของเงิน
ทุนและเงื่อนไขแห่งหนีส
้ ินและเงินทุนดังกล่าว
(จ) การจัดการและการหาประโยชน์จากทรัพย์สินของลูก
หนี ้
(ฉ) เงื่อนไขการจ่ายเงินปั นผลและประโยชน์อ่ น
ื ใด
(๔) การไถ่ถอนหลักประกัน ในกรณีที่มีเจ้าหนีม
้ ีประกัน และ
ความรับผิดของผู้ค้ำประกัน
(๕) แนวทางแก้ปั ญหาในกรณีข าดสภาพคล ่อ งชั่ว คราว
ระหว่างการปฏิบัติตามแผน
(๖) วิธีปฏิบัติในกรณีที่มีการโอนสิทธิเรียกร้องหรือโอนหนี ้
(๗) ชื่อ คุณสมบัติ หนังสือยินยอมของผู้บริหารแผน และค่า
ตอบแทน
(๘) การแต่งตัง้ และการพ้นตำแหน่งของผู้บริหารแผน
(๙) ระยะเวลาดำเนินการตามแผนซึ่งไม่เกินสามปี
(๑๐) การไม่ยอมรับทรัพย์สินของลูกหนีห
้ รือสิทธิตามสัญญา
ในกรณีท ี่ท รัพ ย์ส ิน ของลูก หนีห
้ รือ สิท ธิต ามสัญ ญามีภ าระเกิน ควรกว่า
ประโยชน์ที่จะพึงได้
 
[๕๔]
มาตรา ๙๐/๙๗   ในการร้องขอฟื้ นฟูกิจการ ผู้ร้อ งขอต้อ ง
ชำระค่าขึน
้ ศาลหนึ่งพันบาท และต้องวางเงินประกันค่าใช้จ่ายที่ผู้ร้องขอ
ต้องรับผิดชอบในการขอฟื้ นฟูกิจการไว้ต่อศาลเป็ นจำนวนหนึ่งหมื่นบาท
ในขณะยื่นคำร้องขอ หรือตามจำนวนที่ศาลจะเห็นสมควรก็ได้
ในกรณีท ี่ผ ู้ร ้อ งขอไม่ย อมวางเงิน ประกัน ตามวรรคหนึ่ง ให้
ถือว่าผู้ร้องขอทิง้ คำร้องขอ ให้ศาลจำหน่ายคดีออกจากสารบบความ
 
[๕๕]
มาตรา ๙๐/๙๘   ผู้ร ้อ งขอจะถอนคำร้อ งขอไม่ไ ด้ เว้น แต่
ศาลจะอนุญาต แต่ถ้าศาลได้มีคำสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน
แล้ว ศาลจะอนุญาตให้ถอนคำร้องขอไม่ได้
ในกรณีที่ผู้ร้องขอทิง้ คำร้องขอ หรือขาดนัดพิจารณา หรือศาล
อนุญ าตให้ถ อนคำ ร้อ งขอ ก่อ นที่ศ าลจะสัง่ จำ หน่า ยคดี ให้โ ฆษณาใน
หนังสือพิมพ์รายวันที่แพร่หลายหนึ่งฉบับ เพื่อให้เจ้าหนีท
้ งั ้ หลายและลูก
หนีท
้ ราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน
 
ส่วนที่ ๓
การพิจารณาคำร้องขอให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน
                  
 
[๕๖]
มาตรา ๙๐/๙๙   เมื่อ ศาลสั่ง รับ คำร้อ งขอแล้ว ให้ดำ เนิน
การไต่สวนเป็ นการด่วน และให้ศ าลประกาศคำสัง่ รับ คำร้อ งขอและวัน
เวลานัดไต่สวนในหนังสือพิมพ์รายวันที่แพร่หลายหนึ่งฉบับล่วงหน้าก่อน
วันนัดไต่สวนไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน กับให้ส ง่ สำเนาคำร้องขอและแจ้งวัน
เวลานัดไต่สวนแก่ลก
ู หนี ้ เจ้าหนีท
้ งั ้ หลาย และเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
และแจ้ง ให้น ายทะเบีย นหุ้น ส่ว นบริษ ัท หรือ นายทะเบีย นนิต ิบ ุค คลที่
เกี่ยวข้องเพื่อนายทะเบียนจะได้จดแจ้ง คำสัง่ ศาลไว้ในทะเบียนด้วย  ทัง้ นี ้
ให้ส่งก่อนวันนัดไต่สวนไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน
ลูกหนีห
้ รือเจ้าหนีอ
้ าจยื่นคำคัดค้านก่อนวันนัดไต่สวนนัดแรก
ไม่น้อยกว่าสามวัน
 
[๕๗]
มาตรา ๙๐/๑๐๐   ในการไต่สวนคำร้องขอ ศาลต้องไต่สวน
เอาความจริงตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๙๐/๙๒ และมาตรา ๙๐/๙๕ และ
แผนเข้า หลัก เกณฑ์ต ามที่ศ าลสามารถให้ค วามเห็น ชอบได้ต ามมาตรา
๙๐/๑๐๑ ถ้าได้ความจริงและมีเหตุอันสมควรที่จะฟื้ นฟูกิจการและแผน
เข้าหลักเกณฑ์ดังกล่าว ทัง้ ผู้ร้องขอยื่นคำร้องขอโดยสุจริต ให้ศาลมีคำสัง่
ให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน มิฉะนัน
้ ให้มีคำสัง่ ยกคำร้องขอ
ในกรณีที่ไม่มีผู้คัดค้านคำร้องขอ ถ้าศาลเห็นสมควรจะงดการ
ไต่สวนและมีคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผนก็ได้
 
[๕๘]
มาตรา ๙๐/๑๐๑   การให้ความเห็นชอบด้วยแผนของศาล
ต้องมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี ้
(๑) แผนมีรายการครบถ้วนตามมาตรา ๙๐/๙๖
(๒) แผนได้รับ ความเห็น ชอบจากเจ้า หนีจำ
้ นวนไม่น ้อ ยกว่า
สองในสามของจำนวนหนีท
้ งั ้ หมด
(๓) ข้อเสนอในการชำระหนีต
้ ามแผนนัน
้ เป็ นไปตามลำดับ ที่
กฎหมายบัญญัติไว้ว่าด้วยการแบ่งทรัพย์สินในคดีล้มละลาย เว้นแต่เจ้าหนี ้
ผู้เสียเปรียบจะให้ความยินยอมเป็ นหนังสือกับข้อเสนอชำระหนีใ้ นลำดับ
ซึ่งแตกต่างออกไป
(๔) เมื่อการดำเนิน การตามแผนสำเร็จจะทำให้เ จ้า หนีไ้ ด้รับ
ชำระหนีไ้ ม่น้อยกว่ากรณีที่ศาลมีคำพิพากษาให้ลก
ู หนีล
้ ้มละลาย และ
(๕) เจ้าหนีท
้ ี่อยู่ในกลุ่มเดียวกันต้องได้รับการปฏิบัติเท่าเทียม
กัน เว้น แต่เ จ้าหนีผ
้ ไู้ ด้ร ับ การปฏิบ ัต ิท ี่เ สีย เปรีย บในกลุ่ม นัน
้ จะให้ค วาม
ยินยอมเป็ นหนังสือ
ในกรณีที่แ ผนมีร ายการไม่ค รบถ้ว นตามมาตรา ๙๐/๙๖ ให้
ศาลสอบถามผู้ร ้อ งขอ ถ้า ศาลเห็น ว่า รายการในแผนที่ข าดไปนัน
้ ไม่ใ ช่
สาระสำคัญในการฟื้ นฟูกิจการของลูกหนี ้ ให้ถือว่าแผนมีรายการครบถ้วน
ตามมาตรา ๙๐/๙๖
 
[๕๙]
มาตรา ๙๐/๑๐๒   ในกรณีท ี่ศ าลมีคำ สั่ง ยกคำร้อ งขอ ให้
ศาลประกาศคำสั่ง ดังกล่าวในหนังสือพิมพ์รายวัน ที่แ พร่ห ลายหนึ่ง ฉบับ
กับ ให้ศ าลแจ้ง คำสั่ง ดัง กล่า วไปยัง เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ และนาย
ทะเบีย นหุ้น ส่ว นบริษ ัท หรือ นายทะเบีย นนิต ิบ ุค คลที่เ กี่ย วข้อ งโดยด่ว น
เพื่อนายทะเบียนจะได้จดแจ้งคำสั่งศาลไว้ในทะเบียนด้วย
 
[๖๐]
มาตรา ๙๐/๑๐๓   ให้นำ บทบัญญัติมาตรา ๙๐/๑๑ มาใช้
บังคับกับการไต่สวนคำร้องขอของศาลโดยอนุโลม
 
[๖๑]
มาตรา ๙๐/๑๐๔   นับ แต่วัน ที่ศ าลมีคำ สัง่ รับ คำร้อ งขอไว้
เพื่อพิจารณาจนถึงวันครบกำหนดระยะเวลาดำเนินการตามแผน หรือวัน
ทีดำ
่ เนินการเป็ นผลสำเร็จตามแผน หรือวันที่ศาลมีคำสั่งยกคำร้องขอหรือ
จำหน่ายคดี หรือยกเลิกคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน หรือ
ยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการตามความในหมวดนี ้
(๑) ห้ามมิใ ห้ฟ้ องหรือ ร้อ งขอให้ศ าลพิพ ากษาหรือ สั่ง ให้เ ลิก
นิติบุคคลที่เป็ นลูกหนี ้ ถ้ามีการฟ้ องหรือร้องขอคดีดังกล่าวไว้ก่อนแล้ว ให้
ศาลงดการพิจารณาคดีนน
ั ้ ไว้
(๒) ห้ามมิให้นายทะเบียนมีคำ สั่งให้เลิกหรือ จดทะเบียนเลิก
นิติบุคคลที่เป็ นลูกหนี ้ และห้ามมิให้นิติบุคคลนัน
้ เลิกกันโดยประการอื่น
(๓) ห้ามมิให้ฟ้องลูกหนีเ้ ป็ นคดีแพ่งเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูก
หนีห
้ รือเสนอข้อพิพาทที่ลูกหนีอ
้ าจต้องรับผิดหรือได้รับความเสียหายให้
อนุญาโตตุลาการชีข
้ าด ถ้ามูลแห่งหนีน
้ น
ั ้ เกิดขึน
้ ก่อนวันที่ศาลมีคำ สั่งให้
ฟื้ นฟูก ิจ การและเห็น ชอบด้ว ยแผน และห้า มมิใ ห้ฟ้ องลูก หนีเ้ ป็ นคดีล ้ม
ละลาย ในกรณีที่ม ีก ารฟ้ องคดีห รือ เสนอข้อ พิพ าทให้อ นุญ าโตตุล าการ
ชีข
้ าดไว้ก่อนแล้ว ให้งดการพิจารณาไว้ เว้นแต่ศาลที่รับคำร้องขอจะมีคำ
สั่งเป็ นอย่างอื่น
(๔) ห้ามมิให้เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของ
ลูกหนี ้ ถ้ามูลแห่งหนีต
้ ามคำพิพากษานัน
้ เกิดขึน
้ ก่อนวันที่ศาลมีคำ สัง่ ให้
ฟื้ นฟูก ิจ การและเห็น ชอบด้ว ยแผน ในกรณีท ี่ไ ด้ดำ เนิน การบัง คับ คดีไ ว้
ก่อนแล้วให้ศาลงดการบังคับคดีนน
ั ้ ไว้ เว้นแต่ศาลที่รับคำร้องขอจะมีคำสั่ง
เป็ นอย่างอื่น หรือการบังคับคดีได้สำ เร็จบริบูรณ์แล้วก่อนที่เจ้าพนักงาน
บัง คับ คดีจ ะทราบว่า ได้ม ีก ารยื่น คำ ร้อ งขอ หรือ การบัง คับ คดีต ามคำ
พิพากษาให้ลูกหนีส
้ ่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่งเสร็จก่อนวันดังกล่าวนัน

ในกรณีที่ทรัพย์สินที่ยึดหรืออายัดไว้เป็ นของเสียง่าย หรือถ้า
หน่วงช้า ไว้จะเป็ นการเสี่ยงต่อ ความเสียหาย หรือ ค่า ใช้จ ่า ยจะเกิน ส่ว น
แห่งค่าของทรัพย์สินนัน
้ ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีขายได้โดยวิธีขายทอด
ตลาดหรือวิธีอ่ น
ื ที่สมควร แล้วให้กักเงินไว้ ถ้าศาลมี คำ สั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการ
และเห็นชอบด้วยแผน ก็ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีมอบเงินนัน
้ แก่ผู้บริหาร
แผนนำไปใช้จ ่า ยได้ ถ้าศาลมีคำ สั่ง ยกคำร้อ งขอ หรือ จำหน่า ยคดี หรือ
ยกเลิกคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน หรือยกเลิกการฟื้ นฟู
กิจการ ก็ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีจ่ายเงินให้แก่เจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษา
(๕) ห้ามมิให้เจ้าหนีม
้ ีประกันบังคับชำระหนีเ้ อาแก่ทรัพย์สินที่
เป็ นหลักประกัน เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากศาลที่รับคำร้องขอ
(๖) ห้ามมิให้เจ้าหนีซ
้ ึ่งบังคับ ชำระหนีไ้ ด้เองตามกฎหมายยึด
ทรัพย์สินหรือขายทรัพย์สินของลูกหนี ้
(๗) ห้ามมิให้เจ้าของทรัพย์สินที่เป็ นสาระสำคัญในการดำเนิน
กิจ การของลูก หนีต
้ ามสัญ ญาเช่า ซื้อ สัญ ญาซื้อ ขาย หรือ สัญ ญาอื่น ที่ม ี
เงื่อ นไขหรือ เงื่อ นเวลาในการโอนกรรมสิท ธิ ์ หรือ สัญ ญาเช่า ที่ย ัง ไม่ส น
ิ้
กำหนดเวลาที่ได้ตกลงกันไว้ ติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพย์สินดังกล่าวที่อยู่
ในความครอบครองของลูกหนีห
้ รือของบุคคลอื่นที่อาศัยสิทธิของลูกหนี ้
รวมตลอดจนฟ้ องร้องบัง คับคดีเ กี่ยวกับ ทรัพ ย์ส ิน และหนีซ
้ งึ่ เกิด ขึน
้ จาก
สัญ ญาดัง กล่า ว ถ้า มีก ารฟ้ องคดีด ัง กล่า วไว้ก ่อ นแล้ว ให้ศ าลงดการ
พิจารณาคดีนน
ั ้ ไว้ เว้นแต่ศาลที่รับคำร้องขอจะมีคำ สั่งเป็ นอย่างอื่น หรือ
หลังจากวันที่ศาลมีคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน ลูกหนีห
้ รือ
ผู้บ ริห ารแผน แล้วแต่กรณี ผิดนัดไม่ชำ ระค่าเช่า ซื้อ ราคา ค่า ตอบแทน
การใช้ทรัพย์ หรือค่าเช่าตามสัญญา สองคราวติดต่อกัน หรือกระทำผิด
สัญญาในข้อที่เป็ นสาระสำคัญ
(๘) ห้ามมิให้ลก
ู หนีจำ
้ หน่าย จ่าย โอน ให้เช่า ชำระหนี ้ ก่อหนี ้
หรือ กระทำการใด ๆ ที่ก ่อ ให้เ กิด ภาระในทรัพ ย์ส ิน นอกจากเป็ นการ
กระทำที่จำ เป็ นเพื่อ ให้ก ารดำเนิน การค้า ตามปกติข องลูก หนีส
้ ามารถ
ดำเนินต่อไปได้ เว้นแต่ศาลที่รับคำร้องขอจะมีคำสั่งเป็ นอย่างอื่น
(๙) คำ สั่ง ตามวิธ ีก ารชั่ว คราวของศาลที่ใ ห้ย ึด อายัด ห้า ม
จำหน่า ย จ่า ย โอนทรัพ ย์ส ิน ของลูก หนีห
้ รือ ให้พ ิท ัก ษ์ท รัพ ย์ข องลูก หนี ้
ชั่วคราว ซึ่งมีอยู่ก่อนวันที่ศาลมีคำ สั่งรับคำร้องขอไว้เพื่อพิจารณานัน
้ ให้
ศาลที่รับคำร้องขอมีอำนาจสั่งให้ระงับผลบังคับไว้ หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลง
เป็ นอย่างหนึ่งอย่างใดตามที่เห็นสมควรก็ได้ แต่ถ้าต่อมาศาลนัน
้ มีคำสั่งยก
คำร้องขอ หรือจำหน่ายคดี หรือยกเลิกคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบ
ด้วยแผน หรือยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการ ก็ให้มีคำสั่งเกี่ยวกับวิธีการชั่วคราว
หรือคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนีช
้ ั่วคราวดังกล่าวตามที่เห็นสมควรต่อไป
(๑๐) ห้า มมิใ ห้ผ ู้ป ระกอบการสาธารณูป โภค เช่น ไฟฟ้ า
ประปา โทรศัพท์ งดให้บริการแก่ลูกหนี ้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากศาลที่
รับคำร้องขอ หรือหลังจากวันที่ศาลมีคำ สั่งให้ฟ้ื นฟูก ิจการและเห็นชอบ
ด้วยแผน ลูกหนีห
้ รือผู้บริหารแผน แล้วแต่กรณี ไม่ชำ ระค่าบริการที่เกิด
ขึน
้ หลัง จากวัน ที่ศ าลมีคำ สั่ง ให้ฟ้ื นฟูก ิจ การและเห็น ชอบด้ว ยแผนสอง
คราวติดต่อกัน แต่ไม่ห้ามผู้ประกอบการสาธารณูปโภคที่จะมีคำ ร้อ งให้
ศาลที่รับคำร้องขอมีคำสั่งเพื่อคุ้มครองประโยชน์ของผู้ร้องตามที่ศาลเห็น
สมควร
คำ พ ิพ า ก ษ า ห ร ือ คำ ส ั่ง ข อ ง ศ า ล ห ร ือ คำ ช ข
ี้ า ด ข อ ง
อนุญาโตตุลาการที่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติในอนุมาตราหนึ่งอนุมาตรา
ใดของวรรคหนึ่งไม่มีผลผูกพันลูกหนี ้
การออกคำสั่งของนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัท นายทะเบียน
นิติบค
ุ คลที่เกี่ยวข้อง หรือผู้มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับนิติบุคคลซึ่งเป็ นลูกหนี ้
การทำนิต ิก รรมหรือ การชำระหนีใ้ ด ๆ ที่ข ัด หรือ แย้ง กับ บทบัญ ญัต ิใ น
อนุมาตราหนึ่งอนุมาตราใดของวรรคหนึ่ง การนัน
้ เป็ นโมฆะ
 
[๖๒]
มาตรา ๙๐/๑๐๕   ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๙๐/๑๓ มาตรา
๙๐/๑๔ และมาตรา ๙๐/๑๕ มาใช้บังคับกับการแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือ
ยกเลิก ข้อ จำกัด สิท ธิข องเจ้า หนี ้ การดำเนิน การที่ถ ือ เป็ นการให้ค วาม
คุ้มครองแก่เจ้าหนีม
้ ีประกัน อายุความและระยะเวลาเกี่ยวกับการดำเนิน
กระบวนพิจารณาและการบังคับคดี และระยะเวลาเกี่ยวกับการเสนอข้อ
พิพาทต่ออนุญาโตตุลาการโดยอนุโลม
 
ส่วนที่ ๔
การดำเนินการภายหลังศาลมีคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน
                  
 
[๖๓]
มาตรา ๙๐/๑๐๖   เมื่อ ศาลได้ม ีคำ สั่ง ให้ฟ้ื นฟูก ิจ การและ
เห็นชอบด้วยแผน ให้ศาลประกาศคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบด้วย
แผนในหนังสือพิมพ์รายวันที่แพร่หลายหนึ่งฉบับ และแจ้ง คำสั่งดังกล่าว
ไปยังนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทหรือ นายทะเบียนนิต ิบุค คลที่เ กี่ยวข้อง
โดยด่วน เพื่อนายทะเบียนจะได้จดแจ้งคำสั่งศาลไว้ในทะเบียนด้วย กับให้
แจ้ง คำสั่ง ดัง กล่าวแก่เ จ้าพนัก งานพิทัก ษ์ท รัพ ย์เ พื่อ นำคำสั่ง ดัง กล่า วไป
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
 
[๖๔]
มาตรา ๙๐/๑๐๗   แผนซึ่งศาลมีคำ สั่งเห็นชอบแล้ว ผูกมัด
เจ้าหนีท
้ ี่ได้เข้าร่วมประชุมในการลงมติเห็นชอบด้วยแผนหรือได้รับแจ้งให้
เข้าร่วมประชุมในการลงมติดังกล่าว
มิใ ห้นำ มาตรา ๑๐๕๕ (๑) (๒) และ (๔) มาตรา ๑๐๕๖
มาตรา ๑๐๕๗ (๑) และ (๒) มาตรา ๑๑๑๗ มาตรา ๑๑๑๙ มาตรา
๑๑๔๕ มาตรา ๑๒๒๐ ถึงมาตรา ๑๒๒๘ และมาตรา ๑๒๓๘ ถึงมาตรา
๑๒๔๓ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาใช้บังคับแก่แผนตาม
มาตรานี ้
คำสั่งของศาลที่ให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผนไม่มีผล
เปลี่ยนแปลงความรับผิดของบุคคลซึง่ เป็ นหุ้นส่วนกับลูกหนีห
้ รือผู้รับผิด
ร่วมกับลูกหนี ้ หรือผู้ค้ำประกันหรืออยู่ในลักษณะอย่างผู้ค้ำประกันของลูก
หนี ้ ในหนีท
้ ี่มีอยู่ก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งดังกล่าว และไม่มีผลให้บค
ุ คลเช่นว่า
นัน
้ ต้องรับผิดในหนีท
้ ี่ก่อขึน
้ ตามแผนตัง้ แต่วันดังกล่าว เว้นแต่บุคคลเช่นว่า
นัน
้ จะยินยอมเป็ นหนังสือด้วย
 
[๖๕]
มาตรา ๙๐/๑๐๘   ในระหว่างการดำเนินการตามแผน หาก
มีเจ้าหนีย
้ ่น
ื คำร้องต่อศาลเกี่ยวกับมูลหนีท
้ ี่ได้เกิดขึน
้ ก่อนวันที่ศาลมีคำ สั่ง
ให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผนว่าลูกหนีไ้ ม่แสดงรายละเอียดแห่ง
หนีส
้ ินของตน หรือแสดงจำนวนหนีท
้ ี่ค้างชำระของเจ้าหนีท
้ งั ้ หลายไม่ถูก
ต้อ ง ให้ศ าลนัด พิจ ารณาเป็ นการด่ว น กับ ให้ส ่ง สำ เนาคำ ร้อ งแก่เ จ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ เจ้าหนีท
้ งั ้ หลาย ผู้บริหารแผน และลูกหนี ้
หากศาลไต่สวนแล้วได้ความจริงตามที่เจ้าหนีร้ ้องขอตามวรรค
หนึ่ง ให้ศาลสอบถามผู้บริหารแผนและลูกหนีถ
้ ึงเหตุดังกล่าว ถ้าศาลเห็น
ว่าหนีท
้ ี่มิได้แสดงหรือที่ได้แสดงไว้ในรายละเอียดแห่งหนีส
้ ินนัน
้ เป็ นข้อผิด
พลาดหรือข้อผิดหลงเล็กน้อย ก็ให้ศาลมีคำสั่งให้ผู้บริหารแผนหรือลูกหนี ้
แก้ไขแผนสำหรับหนีท
้ ี่ขาดหายไปหรือแก้ไขข้อผิดพลาดเช่นว่านัน
้ ให้ถูก
ต้อง และให้ถือว่าแผนยังมีผลผูกพันเจ้าหนีท
้ งั ้ หลายต่อไป ถ้าศาลเห็นว่า
หนีท
้ ี่มิได้แสดงหรือที่ได้แสดงไว้ในรายละเอียดแห่งหนีส
้ ิน นัน
้ เป็ นข้อ ผิด
พลาดหรือข้อผิดหลงในสาระสำคัญ ก็ให้ศาลมีคำ สั่งยกเลิกคำสัง่ ให้ฟ้ื นฟู
กิจการและเห็นชอบด้วยแผน
 
[๖๖]
มาตรา ๙๐/๑๐๙   ในกรณีที่ศาลมีคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการและ

เห็นชอบด้วยแผน ให้อำนาจหน้าที่ในการจัดการกิจการและทรัพย์สินของ
ลูกหนี ้ และบรรดาสิทธิตามกฎหมายของผู้ถือหุ้นของลูกหนี ้ เว้นแต่สิทธิที่
จะได้รับเงินปั นผล ตกแก่ผู้บริหารแผน
 
[๖๗]
มาตรา ๙๐/๑๑๐   ผู้บริหารแผนอาจร้องขอให้ศาลมีคำ สัง่
อนุญาตให้ทำข้อบังคับของลูกหนีข
้ น
ึ ้ ใหม่หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อบังคับ
หรือข้อความในหนังสือบริคณห์สนธิของลูกหนีต
้ ามแนวทางที่กำ หนดใน
แผน
เมื่อศาลมีคำสั่งอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ให้นำบทบัญญัติมาตรา
๙๐/๑๐๖ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
[๖๘]
มาตรา ๙๐/๑๑๑   ผู้บ ริห ารแผนพ้น จากตำแหน่ง ในกรณี
ดังต่อไปนี ้
(๑) ตาย
(๒) นิติบุคคลซึ่งเป็ นผู้บริหารแผนเลิกกัน
(๓) ศาลอนุญาตให้ลาออก
(๔) ถูก ศาลมีคำ สั่ง พิท ัก ษ์ท รัพ ย์ หรือ ให้เ ป็ นคนไร้ค วาม
สามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ
(๕) ถูกจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำ คุก เว้นแต่ในความ
ผิดอันได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
(๖) พ้นจากตำแหน่งตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในแผน
(๗) เมื่อระยะเวลาดำเนินการตามแผนสิน
้ สุด ลง หรือ เมื่อ ได้
ดำเนินการเป็ นผลสำเร็จตามแผน
(๘) ศาลมีคำสั่งให้พ้นจากตำแหน่งตามมาตรา ๙๐/๑๑๓
 
[๖๙]
มาตรา ๙๐/๑๑๒   ให้ผ ู้บ ริห ารแผนจัด ทำ รายงานการ
ปฏิบัติงานตามแผนเสนอต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทุกรอบสามเดือน
ตามรูปแบบที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์กำหนด]
 
[๗๐]
มาตรา ๙๐/๑๑๓   ในกรณีที่ผู้บริหารแผนไม่ดำเนินการตาม
แผน หรือปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต หรือก่อให้เ กิด ความเสียหายแก่เจ้าหนี ้
หรือ ลูก หนี ้ หรือ มีเ หตุอ่ น
ื ที่ไ ม่ส มควรเป็ นผู้บ ริห ารแผนต่อ ไป เมื่อ เจ้า
พนัก งานพิท ัก ษ์ทรัพ ย์รายงานต่อ ศาล หรือ เจ้า หนี ้ ผู้บ ริห ารของลูก หนี ้
หรือลูกหนีม
้ ีคำร้องต่อศาล ศาลจะมีคำสั่งให้ผู้บริหารแผนพ้นจากตำแหน่ง
หรือมีคำสั่งอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่เห็นสมควรก็ได้
 
[๗๑]
มาตรา ๙๐/๑๑๔   เมื่อผู้บริหารแผนพ้นจากตำแหน่ง และ
ยังมีกิจการตามแผนที่จะต้องดำเนินต่อไป หากเจ้าหนีห
้ รือลูกหนีเ้ สนอชื่อ
ผู้บ ริห ารแผนคนใหม่ต ่อศาล และไม่มีผู้คัด ค้า น ก็ให้ศ าลมีคำ สั่ง ตัง้ ผู้น น
ั้
เป็ นผู้บริหารแผน
กรณีท ี่ม ีก ารคัด ค้า นชื่อ ผู้บ ริห ารแผน ให้ศ าลมีคำ สั่ง ให้เ จ้า
พนักงานพิทัก ษ์ทรัพ ย์เ รียกประชุมเจ้า หนีโ้ ดยเร็วที่ส ุด เพื่อ ลงมติเ ลือ กผู้
บริหารแผนคนใหม่ โดยมติของที่ประชุมเจ้าหนีต
้ ้องไม่น้อยกว่าสองในสาม
ของจำนวนหนีท
้ งั ้ หมดของเจ้า หนีซ
้ ึ่ง ได้เ ข้าประชุมด้วยตนเองหรือ มอบ
ฉัน ทะให้ผ ู้อ่ น
ื เข้า ประชุม แทนในที่ป ระชุม เจ้า หนี ้ และได้อ อกเสีย งลง
คะแนนในมตินน
ั ้ และให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพ ย์เ สนอชื่อผู้นน
ั ้ ต่อ ศาล
เพื่อให้ศาลมีคำสั่งตัง้ ผู้นน
ั ้ เป็ นผู้บริหารแผน
เมื่อได้มีการประชุมเจ้าหนีต
้ ามวรรคสองแล้ว แต่ที่ประชุมเจ้า
หนีไ้ ม่อาจลงมติเลือกผู้บริหารแผนคนใหม่ได้ ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
รายงานต่อ ศาล  ในกรณีเ ช่น นี ้ ให้ศ าลนัด พิจ ารณารายงานของเจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็ นการด่วน และต้องให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มี
เวลาส่งแจ้งความให้ลูกหนีแ
้ ละเจ้าหนีท
้ งั ้ หลายทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า
สามวัน เมื่อศาลได้พิจารณาพยานหลักฐานในสำนวนและฟั งคำชีแ
้ จงของ
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ เจ้าหนี ้ และลูกหนีแ
้ ล้ว ศาลจะมีคำสั่งตัง้ บุคคล
ใดบุคคลหนึ่งเป็ นผู้บริหารแผน หรือมีคำสัง่ ให้ยกเลิกคำสัง่ ให้ฟ้ื นฟูกิจการ
และเห็นชอบด้วยแผน หรือมีคำสัง่ อย่างใดอย่างหนึ่งตามที่เห็นสมควรก็ได้
ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๙๐/๑๐๖ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
[๗๒]
มาตรา ๙๐/๑๑๕   ในกรณีท ี่ม ีเ หตุทำ ให้ผ ู้บ ริห ารแผนทำ
หน้า ที่ไ ม่ไ ด้เ ป็ นการชั่ว คราวหรือ ในระหว่า งที่ผ ู้บ ริห ารแผนพ้น จาก
ตำแหน่ง และศาลยังมิได้มีคำสั่งตัง้ ผูบ
้ ริหารแผนคนใหม่ ให้ศาลมีคำสัง่ ตัง้
บุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือหลายคนเป็ นผูบ
้ ริห ารแผนชั่วคราวจนกว่า เหตุ
เช่น ว่า นัน
้ สิน
้ สุด ลง หรือ จนกว่า ศาลจะได้ม ีคำ สัง่ ตัง้ ผู้บ ริห ารแผนคน
ใหม่  ทัง้ นี ้ ให้ผู้บริหารแผนชั่วคราวมีอำ นาจหน้าที่เช่นเดียวกับผู้บริหาร
แผน
ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๙๐/๑๐๖ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
ส่วนที่ ๕
การยกเลิกคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน และการยกเลิกการ
ฟื้ นฟูกิจการ
                  
 
[๗๓]
มาตรา ๙๐/๑๑๖   ถ้าลูกหนี ้ ผู้บริหารของลูกหนี ้ ผู้บริหาร
แผน หรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ แล้วแต่กรณี เห็นว่าการฟื้ นฟูกิจการ
ได้ดำ เนิน การเป็ นผลสำเร็จ ตามแผนแล้ว ให้ร ายงานขอให้ศ าลมีคำ สัง่
ยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการโดยไม่ชักช้า และให้ศาลนัดพิจารณา หากได้ความ
ว่าการฟื้ นฟูกิจการได้ดำ เนินการเป็ นผลสำเร็จตามแผน ก็ให้ศาลมีคำ สั่ง
ยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการโดยไม่ชักช้า แต่ถ้าได้ความว่าการฟื้ นฟูกิจการยัง
ไม่เป็ นผลสำเร็จตามแผน ในกรณีที่ยังเหลือระยะเวลาดำเนินการตามแผน
ก็ให้ศาลมีคำสั่งให้ดำเนินการฟื้ นฟูกิจการต่อไปภายในกำหนดระยะเวลา
ตามแผน ถ้าในระหว่างนัน
้ ระยะเวลาดำเนิน การตามแผนสิน
้ สุด ลงแล้ว
แต่เป็ นที่เห็นได้แน่ชัดว่าแผนได้ดำ เนินการมาใกล้จะสำเร็จแล้ว ศาลจะ
ขยายระยะเวลาดำเนินการตามแผนต่อไปอีกตามควรแก่กรณีก็ได้ มิฉะนัน

ให้ศาลดำเนินการต่อไปตามวรรคสอง
เมื่อ ระยะเวลาดำ เนิน การตามแผนสิน
้ สุด ลง แต่ก ารฟื้ นฟู
กิจ การยัง ไม่เ ป็ นผลสำเร็จ ตามแผน ให้ผ ู้บ ริห ารแผนหรือ เจ้า พนัก งาน
พิท ัก ษ์ท รัพ ย์ แล้ว แต่ก รณี รายงานให้ศ าลทราบภายในสิบ สี่ว ัน นับ แต่
ระยะเวลาดำเนินการตามแผนสิน
้ สุด ถ้าศาลเห็นสมควรก็ให้มีคำสั่งยกเลิก
คำสัง่ ให้ฟ้ื นฟูก ิจการและเห็น ชอบด้วยแผนหรือ มีคำ สั่ง ยกเลิก การฟื้ นฟู
กิจการ
นับแต่ระยะเวลาดำเนินการตามแผนสิน
้ สุดลงจนกระทั่งศาลมี
คำสัง่ ยกเลิกคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผนหรือมีคำสัง่ ยกเลิก
การฟื้ นฟูก ิจ การ ให้ผ ู้บ ริห ารแผนคงมีอำ นาจหน้า ที่จ ัด การกิจ การและ
ทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ่อไปเท่าทีจำ
่ เป็ น
 
[๗๔]
มาตรา ๙๐/๑๑๗   ในกรณีท ี่ศ าลมีคำ สั่ง ยกเลิก คำ สั่ง ให้
ฟื้ นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผนหรือมีคำสั่งยกเลิกการฟื้ นฟูกิจการ ให้
ศาลแจ้งคำสั่งดังกล่าวแก่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ผู้บริหารแผน ลูกหนี ้
และผู้บริหารของลูกหนี ้ โดยไม่ชักช้า
เมื่อได้ทราบคำสั่งของศาลตามวรรคหนึ่ง แล้ว ผู้บ ริห ารแผน
ต้องส่งมอบทรัพย์สิน ดวงตรา สมุดบัญชี และเอกสารที่เกี่ยวกับทรัพย์สิน
และกิจการของลูกหนีแ
้ ก่ลูกหนีห
้ รือผู้บริหารของลูกหนีโ้ ดยเร็วที่สุด
ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๙๐/๑๐๖ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
 
[๗๕]
มาตรา ๙๐/๑๑๘   ในกรณีท ี่ศ าลมีคำ สั่ง ยกเลิก คำ สั่ง ให้
ฟื้ นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผน ให้อำ นาจหน้าที่ในการจัดการกิจการ
และทรัพย์สินของลูกหนีก
้ ลับเป็ นของลูกหนีห
้ รือผู้บริหารของลูกหนี ้ และ
ให้ผู้ถือหุ้นของลูกหนีก
้ ลับมีสิทธิตามกฎหมายต่อไป
 
[๗๖]
มาตรา ๙๐/๑๑๙   คำ สัง่ ยกเลิก การฟื้ นฟูก ิจ การไม่ม ีผ ล
เปลี่ยนแปลงความผูกพันในหนีข
้ องลูกหนีก
้ ับเจ้าหนีต
้ ามแผน และให้มีผล
ดังนี ้
(๑) ลูกหนีห
้ รือผู้บริหารของลูกหนีก
้ ลับมีอำนาจจัดการกิจการ
และทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ่อไป
(๒) ผู้ถือหุ้นของลูกหนีก
้ ลับมีสิทธิตามกฎหมายต่อไป
(๓) ค่าตอบแทนของผู้บริหารแผน และหนีซ
้ ึ่งผู้บริหารแผนก่อ
ขึน
้ เพื่อประโยชน์ในการฟื้ นฟูกิจการของลูกหนี ้ ยกเว้นหนีล
้ ะเมิด เป็ นหนี ้
บุริม สิท ธิเ หนือทรัพ ย์ส ิน ทัง้ หมดของลูก หนี ้ โดยให้อ ยู่ใ นลำดับ เดีย วกับ
บุริม สิท ธิลำ ดับ ที่ ๑ ตามมาตรา ๒๕๓ แห่ง ประมวลกฎหมายแพ่ง และ
พาณิชย์
 
[๗๗]
มาตรา ๙๐/๑๒๐   เมื่อ ศาลมีคำ สั่ง ยกเลิก คำ สั่ง ให้ฟ้ื นฟู
กิจการและเห็นชอบด้วยแผนหรือมีคำ สั่งยกเลิก การฟื้ นฟูก ิจการ แต่ลูก
หนีห
้ รือผู้บริหารของลูกหนีย
้ ังไม่ได้เข้าไปจัดการกิจการและทรัพย์สินของ
ลูกหนี ้ ให้ผู้บริหารแผนมีอำนาจจัดการเพื่อรักษาประโยชน์ของลูกหนีต
้ าม
สมควรแก่พฤติการณ์ จนกว่าลูกหนีห
้ รือผู้บริหารของลูกหนีจ
้ ะเข้าจัดการ
กิจการและทรัพย์สินของลูกหนี ้
ถ้า ตำ แหน่ง ผู้บ ริห ารของลูก หนีว้ ่า งอยู่ใ นวัน ที่ศ าลมีคำ สั่ง
ยกเลิกคำสั่งให้ฟ้ื นฟูกิจการและเห็นชอบด้วยแผนหรือมีคำ สัง่ ยกเลิกการ
ฟื้ นฟูก ิจ การจนเป็ นเหตุใ ห้ไ ม่ส ามารถดำ เนิน กิจ การต่อ ไปได้ ให้เ จ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์เรียกประชุมผู้ถือหุ้นของลูกหนี ้ หรือดำเนินการตาม
กฎหมายเพื่อให้มีการแต่งตัง้ ผู้บริหารของลูกหนีโ้ ดยเร็วที่สุด
ในกรณีที่ต้องมีก ารประชุมเพื่อ ดำเนิน การตามวรรคสอง ให้
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็ นประธานในการประชุมดังกล่าว และให้ถือว่า
เป็ นการประชุมของลูกหนี ้
 
[๗๘]
มาตรา ๙๐/๑๒๑   คำสัง่ ศาลทีใ่ ห้ยกเลิกคำสัง่ ให้ฟ้ ื นฟูกจ
ิ การ
และเห็นชอบด้วยแผนและยกเลิกการฟื้ นฟูกจ
ิ การไม่กระทบถึงการใดทีผ
่ ู้
บริหารแผนได้กระทำไปแล้วก่อนศาลมีคำสัง่ เช่นว่านัน

 
ส่วนที่ ๖
บทกำหนดโทษ
                  
 
[๗๙]
มาตรา ๙๐/๑๒๒   ผู้ใ ดยื่น คำร้อ งขอตามมาตรา ๙๐/๙๒
อัน เป็ นเท็จ ในสาระสำ คัญ ซึ่ง อาจทำ ให้ล ูก หนี ้ เจ้า หนี ้ ผู้อ่ น
ื หรือ
ประชาชนเสียหาย ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามแสนบาท หรือจำคุกไม่
เกินสามปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
[๘๐]
ม า ต ร า ๙ ๐ /๑ ๒ ๓   ผ ู้ใ ด ฝ่ า ฝื น บ ท บ ัญ ญ ัต ิแ ห ง่ ม า ต ร า
๙๐/๑๐๔ (๘) ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามแสนบาท หรือจำคุกไม่เกิน
สามปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
[๘๑]
มาตรา ๙๐/๑๒๔   ลูกหนีห
้ รือผู้บริหารของลูกหนีผ
้ ู้ใดโดย
ทุจริตปกปิ ดรายละเอียดแห่งหนีส
้ ินในสาระสำคัญ หรือแสดงจำนวนหนีท
้ ี่
ค้างชำระของเจ้าหนีท
้ งั ้ หลายอันเป็ นเท็จในสาระสำคัญ ซึ่งอาจทำให้เจ้า
หนีเ้ สียหาย ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือจำคุกไม่เกินห้าปี
หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
[๘๒]
มาตรา ๙๐/๑๒๕   ผู้ใดล่วงรู้กิจการหรือข้อมูลใด ๆ ของลูก
หนีท
้ ี่ได้รับการฟื้ นฟูกิจการเนื่องมาจากการปฏิบัติตามอำนาจและหน้าที่ที่
กำหนดในหมวดนี ้ อันเป็ นกิจการหรือข้อมูลที่ตามปกติวิสัยของลูกหนีท
้ ี่ได้
รับการฟื้ นฟูจะพึงสงวนไว้ไม่เปิ ดเผย ถ้าผู้นน
ั ้ นำไปเปิ ดเผยด้วยประการใด
ๆ นอกจากตามหน้าที่ หรือเพื่อประโยชน์ในการฟื้ นฟูกิจการตามหมวดนี ้
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามแสนบาท หรือจำคุกไม่เกินสามปี หรือทัง้
ปรับทัง้ จำ
 
[๘๓]
มาตรา ๙๐/๑๒๖   ผู้ใดเป็ นผู้บริหารแผนหรือผู้บริหารแผน
ชั่ว คราวปฏิบ ัต ิห รือ ละเว้น การปฏิบ ัต ิห น้า ที่โ ดยทุจ ริต หรือ กระทำการ
ฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติแห่งหมวดนี ้ โดยมุ่งหมายให้เกิดความ
เสียหายแก่ลูกหนีห
้ รือเจ้าหนี ้ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือ
จำคุกไม่เกินห้าปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
[๘๔]
มาตรา ๙๐/๑๒๗   ในกรณีที่ผู้กระทำความผิดตามความใน
หมวดนีเ้ ป็ นนิติบุคคล ถ้าการกระทำความผิดของนิติบุคคลนัน
้ เกิดจาก
การสั่งการหรือไม่สั่งการ หรือกระทำการหรือไม่กระทำการ อันเป็ นหน้าที่
ที่ต้องกระทำของกรรมการ ผู้จัดการ หรือบุค คลใดซึ่งรับผิดชอบในการ
ดำเนินงานของนิติบค
ุ คลนัน
้ ผู้นน
ั ้ ต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้สำหรับความ
ผิดนัน
้ ๆ ด้วย
 
[๘๕]
มาตรา ๙๐/๑๒๘   ให้ล ูก หนีแ
้ ละเจ้า หนีเ้ ป็ นผูเ้ สีย หายใน
ความผิดตามความในหมวดนีด
้ ้วย
 
หมวด ๔
วิธีจัดการทรัพย์สินของลูกหนี ้
                  
 
ส่วนที่ ๑
การขอรับชำระหนี ้
                  
 
มาตรา ๙๑  เจ้าหนีซ
้ งึ่ จะขอรับ ชำระหนีใ้ นคดีล ้มละลายจะ
เป็ นเจ้าหนีผ
้ เู้ ป็ นโจทก์หรือไม่ก็ตาม ต้องยื่นคำขอต่อเจ้าพนักงานพิทักษ์
ทรัพย์ภายในกำหนดเวลาสองเดือนนับแต่วันโฆษณาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์
เด็ดขาด แต่ถ้าเจ้าหนีอ
้ ยู่นอกราชอาณาจักร เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะ
ขยายกำหนดเวลาให้อีกได้ไม่เกินสองเดือน
คำขอรับชำระหนีน
้ น
ั ้ ต้องทำตามแบบพิมพ์ โดยมีบัญชีแสดง
รายละเอีย ดแห่ง หนีส
้ ิน และข้อ ความระบุถ ึง หลัก ฐานประกอบหนีแ
้ ละ
ทรัพย์สินอย่างหนึ่งอย่างใดของลูกหนีท
้ ี่ยึดไว้เป็ นหลักประกัน หรือตกอยู่
ในความครอบครองของเจ้าหนี ้  ทัง้ นี ้ ให้แนบเอกสารที่เกี่ยวกับหนีท
้ ี่ย่ น

[๘๖]
ขอรับชำระหนีม
้ าด้วย
 
มาตรา ๙๑/๑ ๘๗]  ถ้าเจ้าหนีไ้ ม่ได้ย่ น
[
ื คำขอรับชำระหนีภ
้ ายใน
กำหนดเวลาตามมาตรา ๙๑ วรรคหนึ่ง ให้เจ้าหนีม
้ ีคำขอโดยทำเป็ นคำร้อง
ยื่น ต่อ ศาลว่า เจ้า หนีป
้ ระสงค์จ ะยื่น คำ ขอรับ ชำ ระหนี ้ และแสดงถึง
เหตุสุดวิสัยที่ตนไม่อาจยื่นคำขอรับชำระหนีไ้ ด้ทันภายในกำหนดเวลา เมื่อ
ศาลเห็นว่ากรณีเป็ นเหตุสุดวิสัยและมีเหตุผลอันสมควรที่จะให้เจ้าหนีย
้ ่น

คำขอรับ ชำระหนี ้ ให้ศ าลมีคำ สั่ง อนุญ าตให้เ จ้า หนีร้ ายนัน
้ ยื่น คำขอรับ
ชำระหนีต
้ ่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ภายในระยะเวลาที่ศาลกำหนด
เจ้า หนีท
้ ี่ย่ น
ื คำขอรับ ชำระหนีต
้ ามวรรคหนึ่ง ให้ม ีส ิท ธิไ ด้ร ับ
ชำระหนีจ
้ ากกองทรัพย์สน
ิ ของลูกหนีเ้ ฉพาะทรัพย์สน
ิ ทีม
่ อ
ี ยูภ
่ ายหลังการ
แบ่งทรัพย์สน
ิ ก่อนทีเ่ จ้าหนีย
้ ่น
ื คำขอรับชำระหนี ้  ทัง้ นี ้ ไม่กระทบถึงการใด
ที่ศาล เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ หรือที่ประชุมเจ้าหนีไ้ ด้ดำเนินการไปแล้ว
 
มาตรา ๙๒  บุคคลใดได้รับความเสียหายเพราะสิ่งของของตน
ถูกยึดไปตามมาตรา ๑๐๙ (๓) ก็ดี หรือเพราะการโอนทรัพย์สินหรือการก
ระทำใด ๆ ถูก เพิก ถอนตามมาตรา ๑๑๕ ก็ด ี หรือ เพราะเจ้า พนัก งาน
พิทักษ์ทรัพย์ไม่ยอมรับ ทรัพ ย์ส ิน หรือ สิทธิต ามสัญ ญาตามมาตรา ๑๒๒
ก็ดี มีสิทธิขอรับชำระหนีสำ
้ หรับราคาสิ่งของหรือหนีเ้ ดิมหรือค่าเสียหาย
ได้ แล้วแต่กรณี ภายในกำหนดเวลาตามมาตรา ๙๑ แต่ให้น ับ จากวัน ที่
อาจใช้ส ิท ธิข อรับ ชำระหนีไ้ ด้ ถ้า มีข ้อ โต้เ ถีย งเป็ นคดี ให้ น ับจากวัน คดี
ถึงที่สุด
 
มาตรา ๙๓  ในกรณีท ี่เ จ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์เ ข้า ว่า คดีท ี่
ค้า งพิจารณาอยู่แทนลูกหนี ้ ถ้า เจ้า พนัก งานพิทัก ษ์ทรัพ ย์แ พ้ค ดี เจ้า หนี ้
ตามคำพิพากษามีสิทธิขอรับชำระหนีภ
้ ายในกำหนดเวลาตามมาตรา ๙๑
แต่ให้นับจากวันคดีถึงที่สุด
 
มาตรา ๙๔  เจ้าหนีไ้ ม่มีประกันอาจขอรับ ชำระหนีไ้ ด้ ถ้ามูล
แห่งหนีไ้ ด้เกิดขึน
้ ก่อนวันที่ศาลมีคำ สัง่ พิทักษ์ทรัพย์ แม้ว่าหนีน
้ น
ั ้ ยังไม่ถงึ
กำหนดชำระหรือมีเงื่อนไขก็ตาม เว้นแต่
(๑) หนีท
้ ี่เกิดขึน
้ โดยฝ่ าฝื นข้อห้ามตามกฎหมาย หรือศีลธรรม
อันดี หรือหนีท
้ ี่จะฟ้ องร้องให้บังคับคดีไม่ได้
(๒) ๘๘] หนีท
[
้ ี่เจ้าหนีย
้ อมให้ล ูกหนีก
้ ระทำขึน
้ เมื่อเจ้าหนีไ้ ด้รู้ถึง
การที่ลูกหนีม
้ ีหนีส
้ ินล้น พ้นตัว แต่ไม่รวมถึงหนีท
้ ี่เจ้าหนีย
้ อมให้กระทำขึน

เพื่อให้กิจการของลูกหนีดำ
้ เนินต่อไปได้
 
มาตรา ๙๕  เจ้าหนีม
้ ีประกันย่อมมีสิทธิเหนือทรัพย์สินอันเป็ น
หลักประกันซึ่งลูกหนีไ้ ด้ให้ไว้ก่อนถูกพิทักษ์ทรัพย์โดยไม่ต้องขอรับชำระ
หนี ้ แต่ต้องยอมให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตรวจดูทรัพย์สินนัน

 
มาตรา ๙๖  เจ้า หนีม
้ ีป ระกัน อาจขอรับ ชำระหนีไ้ ด้ ภายใน
เงื่อนไขดังต่อไปนี ้
(๑) เมื่อยินยอมสละทรัพย์สน
ิ อันเป็ นหลักประกันเพื่อประโยชน์
แก่เจ้าหนีท
้ งั้ หลายแล้ว ขอรับชำระหนีไ้ ด้เต็มจำนวน
(๒) เมื่อ ได้บ ัง คับ เอาแก่ท รัพ ย์ส ิน อัน เป็ นหลัก ประกัน แล้ว
ขอรับชำระหนีสำ
้ หรับจำนวนที่ยังขาดอยู่
(๓) เมื่อ ได้ข อให้เ จ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ข ายทอดตลาด
ทรัพย์สินอันเป็ นหลักประกันแล้ว ขอรับ ชำระหนีสำ
้ หรับจำนวนที่ยังขาด
อยู่
(๔) เมื่อตีราคาทรัพย์สินอันเป็ นหลักประกันแล้ว ขอรับ ชำระ
หนีสำ
้ หรับจำนวนที่ยังขาดอยู่ ในกรณีเช่นนีเ้ จ้าพนักงานพิทัก ษ์ทรัพ ย์มี
อำนาจไถ่ถอนทรัพย์สินตามราคานัน
้ ได้ ถ้าเห็นว่าราคานัน
้ ไม่สมควร เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจขายทรัพย์สินนัน
้ ตามวิธีการที่เจ้าพนักงาน
พิทักษ์ทรัพย์และเจ้าหนีต
้ กลงกัน ถ้าไม่ตกลงกัน จะขายทอดตลาดก็ได้แต่
ต้องไม่ให้เสียหายแก่เจ้าหนีน
้ น
ั ้ และเจ้าหนีห
้ รือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
มีอำ นาจเข้าสู้ราคาในการขายทอดตลาดได้ เมื่อ ขายได้เ งิน เป็ นจำนวน
สุทธิเท่าใด ให้ถือว่าเป็ นราคาที่เจ้าหนีไ้ ด้ตีมาในคำขอ
ถ้าเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่แจ้งโดยหนังสือให้เจ้าหนีท
้ ราบ
ว่าจะใช้ส ิทธิไถ่ถอนหรือตกลงให้ขายทรัพย์สน
ิ อันเป็ นหลักประกันภายใน
กำหนดเวลาสีเ่ ดือนนับแต่วน
ั ทีเ่ จ้าหนีไ้ ด้ย่ น
ื คำขอรับ ชำ ระหนี ้ ให้ถ ือ ว่า
ยินยอมให้ทรัพย์สิน นั น ์ ก่เ จ้า หนี ต
้ เป็ นกรรมสิทธิ แ ้ ามราคาที่เ จ้า หนี ไ้ ด้ต ี
มา และเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์หมดสิทธิไถ่ถอนหรือขายทรัพย์สินนัน

บทบัญญัตแ
ิ ห่งมาตรานีไ้ ม่ให้ใช้บงั คับในกรณีทต
่ี ามกฎหมายลูก
หนีไ้ ม่ตอ
้ งรับผิดเกินกว่าราคาทรัพย์สินที่เป็ นหลักประกัน
 
มาตรา ๙๗  ถ้าเจ้าหนีม
้ ีประกันขอรับ ชำระหนีโ้ ดยไม่แจ้งว่า
เป็ นเจ้าหนีม
้ ีประกัน เจ้าหนีน
้ น
ั ้ ต้องคืนทรัพย์สินอันเป็ นหลักประกันแก่เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ และสิทธิเหนือทรัพย์นน
ั ้ เป็ นอันระงับ เว้นแต่เจ้า
หนีน
้ น
ั ้ จะแสดงต่อศาลได้ว่า การละเว้นนัน
้ เกิดขึน
้ โดยพลัง้ เผลอ ในกรณี
เช่นนีศ
้ าลอาจอนุญาตให้แก้ไขข้อความในรายการแห่งคำขอรับชำระหนี ้
โดยกำหนดให้คืนส่วนแบ่งหรือกำหนดอย่างอื่นตามที่เห็นสมควรก็ได้
 
มาตรา ๙๘  ถ้าหนีท
้ ี่ขอรับชำระได้กำ หนดไว้เป็ นเงินตราต่าง
ประเทศ ให้คิดเป็ นเงินตราไทยตามอัตราแลกเปลี่ยนในวันที่ศาลมี คำ สั่ง
พิทักษ์ทรัพย์
 
มาตรา ๙๙  ถ้า เป็ นหนีค
้ ่า เช่า หรือ หนีอ
้ ย่า งอื่น ซึ่ง มีกำ หนด
ระยะเวลาให้ชำระ และวันที่ศาลมีคำสัง่ พิทักษ์ทรัพย์ไม่ตรงกับวันกำหนด
เจ้าหนีอ
้ าจขอรับชำระหนีต
้ ามส่วนจนถึงวันที่ศาลมีคำสัง่ พิทักษ์ทรัพย์ได้
 
มาตรา ๑๐๐  ดอกเบีย
้ หรือ เงินค่า ป่ วยการอื่น แทนดอกเบีย

ภายหลังวันที่ศาลมีคำ สั่งพิทักษ์ทรัพย์นน
ั ้ ไม่ให้ถือ ว่า เป็ นหนีท
้ ี่จะขอรับ
ชำระได้
 
มาตรา ๑๐๑  ถ้า ลูก หนีร้ ่ว มบางคนถูก พิท ัก ษ์ท รัพ ย์ ลูก หนี ้
ร่วมคนอื่นอาจยื่นคำขอรับชำระหนีสำ
้ หรับจำนวนที่ตนอาจใช้สิทธิไล่เบีย

ในเวลาภายหน้าได้ เว้นแต่เจ้าหนีไ้ ด้ใช้สิทธิขอรับ ชำระหนีไ้ ว้เต็มจำนวน
แล้ว
บทบัญญัติในวรรคก่อนให้ใช้บังคับแก่ผค
ู้ ้ำประกัน ผูค
้ ้ำประกัน
ร่วม หรือบุคคลที่อยู่ในลักษณะเดียวกันนีโ้ ดยอนุโลม
 
มาตรา ๑๐๒  ถ้า เจ้า หนีซ
้ ึ่ง มีส ิทธิข อรับ ชำระหนีเ้ ป็ นหนีล
้ ูก
หนีใ้ นเวลาที่มีคำ สั่ง พิท ัก ษ์ท รัพ ย์  ถึงแม้วา่ มูลแห่งหนีท
้ งั ้ สองฝ่ ายจะไม่มี
วัตถุเป็ นอย่างเดียวกันก็ดี หรืออยูใ่ นเงื่อนไขหรือ เงื่อ นเวลาก็ด ี ก็อ าจหัก
กลบลบกันได้ เว้นแต่เจ้าหนีไ้ ด้สิทธิเรียกร้องต่อลูกหนีภ
้ ายหลังที่มีคำ สั่ง
พิทักษ์ทรัพย์แล้ว
 
มาตรา ๑๐๓  เมื่อบุคคลซึ่งมีสิทธิขอรับชำระหนีสำ
้ หรับหนีท
้ ี่
อยู่ใ นเงื่อ นไขบัง คับ ก่อ นขอหัก กลบลบหนี ้ บุค คลนัน
้ จะต้อ งให้ป ระกัน
สำหรับจำนวนที่ขอหักกลบลบหนีน
้ น
ั้
 
มาตรา ๑๐๔  เมื่อพ้นกำหนดเวลาสองเดือนนับแต่วันโฆษณา
คำสัง่ พิทัก ษ์ทรัพ ย์เด็ดขาดแล้ว ให้เจ้าพนักงานพิทก
ั ษ์ทรัพย์รบ
ี นัดลูกหนี ้
และเจ้าหนีท
้ งั้ หลายมาพร้อมกันเพื่อตรวจคำขอรับชำระหนี ้ โดยแจ้งความ
ให้ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน
 
[๘๙]
มาตรา ๑๐๕   ในการพิจ ารณาและมีคำ สั่ง คำขอรับ ชำระ
หนี ้ ไม่ว่าจะเป็ นหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือไม่ ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
มีอำ นาจออกหมายเรียกเจ้าหนี ้ ลูกหนี ้ หรือบุคคลใดมาสอบสวนหรือให้
ถ้อยคำหรือส่งเอกสารเพื่อตรวจสอบเกี่ยวกับหนีส
้ ินได้
 
[๙๐]
มาตรา ๑๐๖   คำขอรับชำระหนีข้ องเจ้าหนีร้ ายใด ถ้าเจ้าหนีอ
้ ่น

ลูกหนี้ หรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์อ่ น
ื ไม่โต้แย้ง ให้เ จ้า พนัก งานพิทัก ษ์
ทรัพ ย์ผ ู้มีอำ นาจเป็ นผูพ
้ ิจารณาสั่งอนุญ าตให้ไ ด้รับ ชำระหนีไ้ ด้ เว้นแต่มี
เหตุอันสมควรสั่งเป็ นอย่างอื่น
คำ ขอรับ ชำ ระหนีข
้ องเจ้า หนีร้ ายใด ถ้า มีผ ู้โ ต้แ ย้ง ให้เ จ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์สอบสวนแล้วมีคำสั่งอย่างหนึง่ อย่างใด ดังต่อไปนี ้
(๑) ให้ยกคำขอรับชำระหนี ้
(๒) อนุญาตให้ได้รับชำระหนีเ้ ต็มจำนวน
(๓) อนุญาตให้ได้รับชำระหนีบ
้ างส่วน
การคัดค้านคำสัง่ ของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ตามวรรคหนึ่ง
หรือ วรรคสอง ผู้ม ีส ่ว นได้เ สีย อาจยื่น คำ ร้อ งคัด ค้า นต่อ ศาลได้ภ ายใน
กำหนดสิบสี่วันนับแต่วันที่ทราบคำสั่งของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
การพิจารณาและวิน ิจฉัยชีข
้ าดคำร้อ งคัดค้า นตามวรรคสาม
ให้ศ าลมีอำ นาจเรีย กสำ นวนคำ ขอรับ ชำ ระหนีม
้ าตรวจและสั่ง ให้เ จ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทำคำชีแ
้ จงในเรื่องที่เป็ นปั ญหาตามที่เห็นสมควรได้
หากศาลเห็นสมควรไต่สวนพยานหลักฐานเพิ่มเติม ก็ให้ดำเนินการไต่สวน
โดยเร็วเท่าที่จำเป็ น
 
[๙๑]
มาตรา ๑๐๗   (ยกเลิก)
 
[๙๒]
มาตรา ๑๐๘   คำขอรับชำระหนีข
้ องเจ้าหนีซ
้ งึ่ เจ้าพนักงาน
พิท ัก ษ์ท รัพ ย์ไ ด้ม ีคำ สั่ง อนุญาตแล้วนัน
้ ถ้า ต่อ มาปรากฏว่า เจ้า พนัก งาน
พิทก
ั ษ์ทรัพย์ได้สง่ั ไปโดยผิดหลง เจ้าพนักงานพิทก
ั ษ์ทรัพย์มีอำนาจยกคำขอ
รับชำระหนี ้ หรือลดจำนวนหนีท
้ ี่ได้มีคำสั่งอนุญาตไปแล้วได้
 
ส่วนที่ ๒
ทรัพย์สินซึ่งอาจเอามาชำระหนี ้
                  
 
มาตรา ๑๐๙ ๙๓]  ทรัพย์สินดังต่อไปนี ้ ให้ถือว่าเป็ นทรัพย์สินใน
[

คดีล้มละลายอันอาจแบ่งแก่เจ้าหนีไ้ ด้
(๑) ๙๔] ทรัพย์สินทัง้ หลายอันลูกหนีม
[
้ ีอยู่ในเวลาเริ่มต้นแห่งการ
ล้มละลาย รวมทัง้ สิทธิเรียกร้องเหนือทรัพย์สินของบุคคลอื่น เว้นแต่
ก. เครื่องใช้สอยส่วนตัวอันจำเป็ นแก่การดำรงชีพ ซึ่งลูกหนี ้
รวมทัง้ คู่ส มรสและบุต รผู้เ ยาว์ข องลูก หนี ้ จำเป็ นต้อ งใช้ต ามสมควรแก่
ฐานานุรูป และ
ข. สัต ว์ พืช พัน ธุ์ เครื่อ งมือ และสิ่ง ของสำ หรับ ใช้ใ นการ
ประกอบอาชีพของลูกหนีร้ าคารวมกันไม่เกินหนึ่งแสนบาท
(๒) ทรัพย์สินซึ่งลูกหนีไ้ ด้มาภายหลังเวลาเริ่มต้นแห่งการล้ม
ละลายจนถึงเวลาปลดจากล้มละลาย
(๓) สิ่ง ของซึ่ง อยู่ใ นครอบครองหรือ อำ นาจสั่ง การหรือ สั่ง
จำหน่ายของลูกหนี ้ ในทางการค้าหรือธุรกิจของลูกหนี ้ ด้วยความยินยอม
ของเจ้าของอันแท้จริง โดยพฤติการณ์ซึ่งทำให้เห็นว่าลูกหนีเ้ ป็ นเจ้าของใน
ขณะที่มีการขอให้ลูกหนีน
้ น
ั ้ ล้มละลาย
 
ส่วนที่ ๓
ผลของการล้มละลายเกี่ยวกับกิจการที่ได้กระทำไปแล้ว
                  
 
มาตรา ๑๑๐  คำสั่งของศาลที่ให้ยึดหรืออายัดทรัพย์สินของ
ลูกหนีไ้ ว้ชั่วคราว หรือหมายบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของลูกหนีน
้ น
ั ้ จะใช้ยัน
แก่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนีไ้ ม่ได้ เว้นแต่ก ารบังคับคดีนน
ั ้ ได้
สำเร็จบริบูรณ์แล้วก่อนวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์
การบัง คับ คดีน น
ั ้ ให้ถ ือ ว่า ได้สำ เร็จ บริบ ูร ณ์เ มื่อ พ้น กำหนด
เวลาที่อ นุญ าตให้เ จ้า หนีอ
้ ่น
ื ยื่น คำ ขอเฉลี่ย ตามประมวลกฎหมายวิธ ี
พิจารณาความแพ่ง
บทบัญญัติในมาตรานีไ้ ม่กระทบถึงสิทธิของเจ้าหนีม
้ ีประกันใน
การบังคับคดีแก่ทรัพย์สินอันเป็ นหลักประกัน หรือถึงการที่ผ ู้ใดได้ชำ ระ
เงิน โดยสุจริตแก่ศ าล หรือเจ้า พนัก งานบัง คับ คดีต ามคำสั่ง ศาล หรือ ถึง
ความสมบูรณ์แห่งการซื้อโดยสุจริตในการขายทอดตลาดทรัพย์สินตามคำ
สั่งศาล
 
มาตรา ๑๑๑ ๙๕]  เมื่อ เจ้า พนัก งานบัง คับ คดีไ ด้จำ หน่า ย
[

ทรัพย์สินแล้วแต่ยังไม่ได้จ่ายเงิน ถ้าได้รับ คำแจ้ง ความว่า ได้มีก ารขอให้


ลูก หนีล
้ ้ม ละลายก่อ นที่ก ารบัง คับ คดีไ ด้สำ เร็จ บริบ ูร ณ์ ให้เจ้าพนักงาน
บังคับคดีกักเงินไว้ และถ้าต่อไปศาลได้มีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด ให้เจ้า
พนักงานบังคับคดีคิดหักไว้เป็ นค่าใช้จ่ายของเจ้าพนักงานบังคับคดีและ
ค่าธรรมเนียมโจทก์ในชัน
้ บังคับคดี เหลือ เท่าใดให้ส่งเป็ นทรัพย์สินในคดี
ล้ม ละลาย ในกรณีเ ช่น ว่า นีม
้ ิใ ห้เ จ้า พนัก งานบัง คับ คดีเ รีย กเก็บ ค ่า
ธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
แพ่ง
 
มาตรา ๑๑๒ ๙๖]  ถ้า ในระหว่า งที่ก ารบัง คับ คดีย ัง ไม่สำ เร็จ
[

บริบูรณ์ เจ้าพนักงานบังคับคดีได้รับคำแจ้งความว่าลูกหนีถ
้ ูกพิทักษ์ทรัพย์
ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีแจ้งรายการทรัพย์สินของลูกหนีท
้ ี่อยู่ในอำนาจ
หรือความยึดถือของตนแก่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ และให้ปฏิบัต ิตาม
คำขอของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เกี่ยวกับทรัพย์สินนัน
้ ค่าใช้จ่ายของ
เจ้าพนักงานบังคับคดีและค่าธรรมเนียมโจทก์ในชัน
้ บังคับคดี ให้หักจาก
ทรัพย์สินนัน
้ ได้ก่อน
 
มาตรา ๑๑๓  การขอให้ศาลเพิกถอนการฉ้อฉลตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์นน
ั ้ ให้เจ้าพนักงานพิทัก ษ์ทรัพ ย์ข อได้โ ดยทำ
เป็ นคำร้อง
 
มาตรา ๑๑๔ ๙๗]  ถ้า นิต ิก รรมที่ข อเพิก ถอนการฉ้อ ฉลตาม
[

มาตรา ๑๑๓ นัน


้ เกิด ขึน
้ ภายในระยะเวลาหนึ่ง ปี ก่อ นมีก ารขอให้ล ้ม
ละลายและภายหลังนัน
้ หรือเป็ นการทำให้โดยเสน่หาหรือเป็ นการที่ล ูก
หนีไ้ ด้ร ับ ค่า ตอบแทนน้อ ยเกิน สมควร ให้ส ัน นิษ ฐานไว้ก ่อ นว่า เป็ นการ
กระทำที่ลูกหนีแ
้ ละผู้ที่ได้ลาภงอกแต่การนัน
้ รู้อยู่ว่าเป็ นทางให้เจ้าหนีต
้ ้อง
เสียเปรียบ
 
มาตรา ๑๑๕  การโอนทรัพย์สินหรือ การกระทำใด ๆ ซึ่งลูก
หนีไ้ ด้กระทำหรือยินยอมให้กระทำในระหว่างระยะเวลาสามเดือนก่อนมี
การขอให้ล้มละลายและภายหลังนัน
้ โดยมุ่งหมายให้เจ้าหนีค
้ นหนึ่งคนใด
ได้เปรียบแก่เจ้าหนีอ
้ ่ ืน ถ้าเจ้าพนักงานพิทัก ษ์ทรัพ ย์มี คำ ขอโดยทำเป็ น
คำร้อง ศาลมีอำนาจสั่งเพิกถอนการโอนหรือการกระทำนัน
้ ได้
ถ้า เจ้า หนีผ
้ ู้ไ ด้เ ปรีย บเป็ นบุค คลภายในของลูก หนี ้ ศาลมี
อำนาจสั่งเพิกถอนการโอนหรือการกระทำตามวรรคหนึ่งที่ได้กระทำขึน
้ ใน
[
ระหว่างระยะเวลาหนึ่งปี ก่อนมีการขอให้ล้มละลายและภายหลังนัน
้ ๙๘]
 
มาตรา ๑๑๖ ๙๙]  บทบัญ ญัต ิใ นมาตรา ๑๑๕ ไม่ก ระทบถึง
[

สิทธิข องบุค คลภายนอกอันได้มาโดยสุจริตและมีค ่าตอบแทนก่อนมีการ


ขอให้ล้มละลาย
 
ส่วนที่ ๔
การรวบรวมและจำหน่ายทรัพย์สิน
                  
 
มาตรา ๑๑๗  เมื่อศาลได้มีคำ สั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนีแ
้ ล้ว
ศาลหรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจออกหมายเรียกลูกหนี ้ คูส
่ มรส
ของลูกหนี ้ หรือบุคคลหนึ่ง บุค คลใดซึ่ง ได้ค วามหรือ สงสัยว่า มีทรัพ ย์ส ิน
ของลูกหนีอ
้ ยู่ในครอบครอง หรือเชื่อว่าเป็ นหนีล
้ ูกหนี ้ หรือเห็นว่าสามารถ
แจ้ง ข้อ ความเกีย
่ วกับ กิจ การหรือ ทรัพ ย์ส น
ิ ของลูก หนีม
้ าไต่ส วน หรือ
สอบสวน และมีอำนาจสัง่ ให้บค
ุ คลนัน
้ ๆ ส่งเอกสารหรือวัตถุพยานซึง่ อยูใ่ น
ความยึดถือ หรืออำนาจของผู้นน
ั ้ อันเกี่ยวกับกิจการหรือทรัพย์สินของลูก
[
หนี ้ ๑๐๐]
ถ้าบุคคลนัน
้ จงใจขัด ขืน หมายเรียกหรือ คำสั่ง ศาลมีอำ นาจ
ออกหมายจับบุคคลนัน
้ มาขังไว้จนกว่าจะได้ปฏิบัติตามคำสั่งศาลหรือเจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์
 
มาตรา ๑๑๘  เมื่อ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ม ีคำ ขอ ศาลมี
อำนาจบังคับให้บุคคลที่รับว่าเป็ นหนีล
้ ูกหนีห
้ รือรับว่ามีทรัพย์สินของลูก
หนีอ
้ ยู่ในครอบครอง ชำระเงินหรือส่งมอบทรัพย์สินแก่เจ้าพนักงานพิทก
ั ษ์
ทรัพย์ภายในกำหนดเวลาตามทีศ
่ าลเห็นสมควร ถ้าไม่ปฏิบต
ั ต
ิ ามคำบังคับ
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์อาจมีคำ ขอให้ศ าลออกหมายบัง คับ คดีเ สมือ น
หนึ่งว่าบุคคลนัน
้ เป็ นลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
 
มาตรา ๑๑๙  เมื่อปรากฏว่า ลูก หนีม
้ ีส ิทธิเ รียกร้อ งให้บ ุค คล
หนึ่ง บุค คลใดชำระเงิน หรือ ส่ง มอบทรัพ ย์ส ิน แก่ล ูก หนี ้ ให้เ จ้า พนัก งาน
พิทักษ์ทรัพย์แจ้งความเป็ นหนังสือไปยังบุคคลนัน
้ ให้ ชำระเงินหรือส่งมอบ
ทรัพ ย์ส ิน ตามจำนวนที่ไ ด้แ จ้ง ไปและให้แ จ้ง ไปด้ว ยว่า ถ้า จะปฏิเ สธ ให้
แสดงเหตุผ ลประกอบข้อ ปฏิเ สธเป็ นหนัง สือ มายัง เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์
ทรัพ ย์ภ ายในกำหนดเวลาสิบ สี่ว ัน นับ แต่ว ัน ได้ร ับ แจ้ง ความ มิฉ ะนัน
้ จะ
ถือว่าเป็ นหนีก
้ องทรัพย์สินของลูกหนีอ
้ ยู่ตามจำนวนที่แจ้งไปเป็ นการเด็ด
ขาด
ถ้าบุคคลที่ได้รับแจ้งความนัน
้ ปฏิเสธหนีต
้ ่อเจ้าพนักงานพิทักษ์
ทรัพย์ภายในกำหนดเวลาตามวรรคก่อ น ให้เ จ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์
สอบสวน เมื่อเห็นว่าบุคคลนัน
้ ไม่ไ ด้เป็ นหนี ้ ให้จำ หน่ายชื่อจากบัญชีลก

หนี ้ และแจ้งให้บค
ุ คลนัน
้ ทราบ ถ้าเห็นว่าบุคคลนัน
้ เป็ นหนีเ้ ท่าใด ให้แจ้ง
จำนวนเป็ นหนังสือยืนยันไปยังบุคคลที่จะต้องรับผิดนัน
้ และให้แจ้งไปด้วย
ว่าถ้าจะคัดค้านประการใด ให้ร้องคัดค้านต่อศาลภายในกำหนดเวลาสิบสี่
วันนับแต่วันได้รับแจ้งความยืนยัน
ถ้าบุคคลที่ได้รับแจ้งความยืนยันนัน
้ คัดค้านต่อศาลโดยทำเป็ น
คำร้องภายในกำหนดเวลาตามวรรคก่อน ให้ศาลพิจารณา ถ้าพอใจว่าเป็ น
หนี ้ ให้ม ีคำ บัง คับ ให้บ ุค คลนัน
้ ชำ ระเงิน หรือ ส่ง มอบทรัพ ย์ส ิน แก่เ จ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ถ้าเห็นว่าไม่ได้เป็ นหนี ้ ให้มีคำ สั่งให้จำ หน่ายจาก
บัญชีลก
ู หนี ้
ถ้าบุคคลที่ได้รับแจ้งความจากเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มิได้
ปฏิเ สธต่อ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ห รือ มิไ ด้ร ้อ งคัด ค้า นต่อ ศาลตาม
กำหนดเวลาที่กล่าวข้างต้น เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์อาจมีคำ ขอต่อศาล
ให้บังคับให้บุคคลนัน
้ ชำระหนีภ
้ ายในกำหนดเวลาตามที่ศาลเห็นสมควร
ถ้า บุค คลนัน
้ ไม่ป ฏิบ ัต ิต ามคำ บัง คับ ของศาล เจ้า พนัก งาน
พิทักษ์ทรัพย์อาจมีคำ ขอให้ศาลออกหมายบังคับคดีเสมือนหนึ่งว่าบุคคล
นัน
้ เป็ นลูกหนีต
้ ามคำพิพากษา
ในกรณีที่ผู้ถูกทวงหนีร้ ้องคัดค้านต่อศาล เจ้าพนักงานพิทักษ์
ทรัพย์อาจมีคำขอโดยทำเป็ นคำร้องต่อศาลให้สง่ั ยึด หรืออายัดทรัพย์สน
ิ ของ
ผูร้ อ
้ งคัดค้านไว้ชว่ั คราวก่อนมีคำสัง่ ในเรื่องหนีน
้ น
ั้ ได้
 
มาตรา ๑๒๐  ถ้า ลัก ษณะแห่ง ธุร กิจ ของลูก หนีม
้ ีเ หตุอ ัน
สมควรที่จ ะดำเนิน ต่อ ไป เมื่อ ได้รับ ความเห็น ชอบจากที่ป ระชุมเจ้า หนี ้
แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะดำเนินธุรกิจของลูกหนีน
้ น
ั ้ เองเพื่อชำระ
สะสางธุรกิจนัน
้ ให้เสร็จไปหรือจะตัง้ บุคคลใดหรือลูกหนีเ้ ป็ นผู้จัดการโดย
กำหนดอำนาจหน้าที่ไว้ก็ได้
ถ้าเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ตัง้ บุคคลใดนอกจากลูกหนีเ้ ป็ นผู้
จัดการ บุคคลนัน
้ ต้องให้ประกันตามที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สั่ง และมี
สิทธิได้รับบำเหน็จตามที่ที่ประชุมเจ้าหนีกำ
้ หนด ถ้ามิได้กำหนดไว้ ให้เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็ นผู้กำหนด
ผู้จัดการต้องทำบัญชีย่ น
ื ตามที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สั่ง
 
มาตรา ๑๒๑  ถ้าลูกหนีเ้ ป็ นข้าราชการ เมื่อศาลได้มคำ
ี สัง่ พิทก
ั ษ์
ทรัพย์แล้ว เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีสิทธิรับเงินเดือน บำนาญ บำเหน็จ
เบีย
้ หวัด หรือ เงิน ในทำ นองเดีย วกัน นีข
้ องลูก หนีจ
้ ากเจ้า หน้า ที่เ พื่อ
รวบรวมแบ่งให้แก่เจ้าหนีไ้ ด้ แต่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะต้องจ่ายค่า
เลีย
้ งชีพลูกหนีแ
้ ละครอบครัวตามสมควรแก่ฐานานุรูป
บทบัญญัติในวรรคก่อน ให้ใช้บงั คับในกรณีที่ล ูกหนีม
้ ส
ี ิทธิได้
รับเงินจากบุคคลหรือองค์การอื่นที่มิใช่รัฐบาลด้วย
 
มาตรา ๑๒๒  ภายในกำหนดเวลาสามเดือ นนับ แต่วัน ที่เ จ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทราบว่า ทรัพย์สินของลูกหนีห
้ รือสิทธิตามสัญญามี
ภาระเกินควรกว่าประโยชน์ที่จะพึงได้ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีอำนาจ
ไม่ยอมรับทรัพย์สินหรือสิทธิตามสัญญานัน
้ ได้
บุค คลใดได้ร ับ ความเสีย หายโดยเหตุท ี่เ จ้า พนัก งานพิท ัก ษ์
ทรัพย์ไม่ยอมรับดังกล่าว มีสิทธิขอรับชำระหนีสำ
้ หรับค่าเสียหายได้
 
มาตรา ๑๒๓  ทรัพย์สินซึ่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์รวบรวม
ได้มา เมื่อลูกหนีล
้ ้มละลายแล้ว เจ้า พนัก งานพิทัก ษ์ทรัพ ย์มี อำ นาจขาย
ตามวิธีที่สะดวกและเป็ นผลดีที่สุด
การขายโดยวิธีอ่ น
ื นอกจากการขายทอดตลาดนัน
้ ต้องได้รับ
ความเห็น ชอบของกรรมการเจ้า หนี ้ เว้น แต่ทรัพ ย์ส ิน ที่เ ป็ นของเสีย ง่า ย
หรือ ถ้า หน่ว งช้า ไว้จ ะเสีย หาย หรือ ค่า ใช้จ ่า ยจะเกิน ส่ว นกับ ค่า ของ
ทรัพย์สินนัน

ผู้ได้รับโอนทรัพย์สินจากเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ในการขาย
หรือการแบ่ง ไม่ต้องรับผิดในค่าภาษีอากรหรือจังกอบสำหรับปี ก่อนที่ได้
รับโอน
 
ส่วนที่ ๕
การแบ่งทรัพย์สิน
                  
 
มาตรา ๑๒๔  ทรัพ ย์ส ิน ซึ่ง เหลือ จากที่ก ัน ไว้สำ หรับ ค่า
ธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายนัน
้ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ต้องจัดการแบ่งใน
ระหว่างเจ้าหนีโ้ ดยเร็ว
การแบ่งทรัพย์สินต้องกระทำทุกระยะเวลาไม่เกินหกเดือนนับ
แต่วันที่ศาลพิพากษาให้ล ูกหนีล
้ ้มละลาย เว้นแต่ศาลจะอนุญาตให้ขยาย
เวลาต่อไปโดยมีเหตุสมควร
 
มาตรา ๑๒๕  เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ต้องกันเงินส่วนแบ่ง
รายที่มีเงื่อนไขหรือมีข้อโต้แย้ง และค่าธรรมเนียมกับค่าใช้จ่ายอันอาจเกิด
ขึน
้ ไว้ตามสมควรแล้วแบ่งเงินที่เหลือให้แก่เจ้าหนีน
้ อกนัน
้ ไป
 
มาตรา ๑๒๖  ก่อนกระทำการแบ่งครัง้ ใด เจ้าพนักงานพิทักษ์
ทรัพย์ต้องโฆษณาในหนังสือพิมพ์รายวันอย่างน้อยหนึ่งฉบับ และส่งแจ้ง
ความไปยังเจ้าหนีแ
้ ละบุคคลล้มละลายล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน กำหนด
วันเวลาให้มาตรวจบัญชีส่วนแบ่ง ถ้าไม่มีผู้ใดคัดค้าน ให้ถือว่าบัญชีนน
ั ้ ถูก
ต้องและเป็ นที่สุด แล้วให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์โฆษณาการแบ่งไว้ ณ
สำนักงาน และแจ้งจำนวนส่วนแบ่งที่จะจ่ายไปยังเจ้าหนี ้
 
มาตรา ๑๒๗  ถ้ามีผู้มส
ี ่วนได้เสียคนใดคัดค้านบัญชีส ่วนแบ่ง
ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์พิจารณาคำคัดค้านและคำชีแ
้ จงของเจ้าหนี ้
และบุคคลล้มละลายแล้วสั่งตามที่เห็นสมควร
ผู้ม ีส ่ว นได้เ สีย อาจคัด ค้า นคำสั่ง นัน
้ โดยทำเป็ นคำร้อ งยื่น ต่อ
ศาลได้ภายในกำหนดเวลาเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้ฟังคำสั่ง
ถ้ามีผ ู้คัดค้านต่อศาล ให้เจ้าพนักงานพิทัก ษ์ทรัพ ย์เ ลื่อ นการ
จ่ายเงินไปจนกว่าศาลได้มีคำ สั่งแล้ว แต่ถ้าเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เห็น
ว่าการเลื่อนนัน
้ จะทำให้ผู้มีส่วนได้เ สียได้รับ ความเสียหาย เจ้าพนักงาน
พิทักษ์ทรัพย์จะกันเงินค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายอันอาจเกิดขึน
้ ไว้ตาม
สมควร แล้วแบ่งเงินที่เหลือให้แก่เจ้าหนีร้ ายที่ไม่มีข้อโต้แย้งไปก่อนได้
 
มาตรา ๑๒๘  ห้ามมิให้จ่ายส่วนแบ่งแก่เจ้าหนีค
้ นใดเมื่อรวม
ส่วนแบ่งทุกครัง้ แล้วเป็ นเงินไม่ถึงหนึ่งบาท
 
มาตรา ๑๒๙  สามีห รือ ภริย าของบุค คลล้ม ละลายจะได้ร ับ
ส่วนแบ่งในฐานะเจ้าหนีต
้ ่อเมื่อเจ้าหนีอ
้ ่น
ื ได้รับชำระหนีเ้ ป็ นที่พอใจแล้ว
 
มาตรา ๑๓๐ ๑๐๑]  ในการแบ่ง ทรัพ ย์ส ิน ให้แ ก่เ จ้า หนีน
[
้ น
ั ้ ให้
ชำระค่าใช้จ่ายและหนีส
้ ินตามลำดับ ดังต่อไปนี ้
(๑) ค่าใช้จ่ายในการจัดการมรดกของลูกหนี ้
(๒) ค่า ใช้จ ่า ยของเจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ใ นการจัด การ
ทรัพย์สินของลูกหนี ้
(๓) ค่าปลงศพลูกหนีต
้ ามสมควรแก่ฐานานุรูป
[๑๐๒]
(๔)  ค่า ธรรมเนีย มในการรวบรวมทรัพ ย์ส ิน ตามมาตรา

๑๗๙ (๔)
(๕) ค่าธรรมเนียมของเจ้าหนีผ
้ ู้เ ป็ นโจทก์แ ละค่า ทนายความ
ตามที่ศาล หรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์กำหนด
(๖) ค่าภาษีอากรที่ถึงกำหนดชำระภายในหกเดือนก่อนมีคำสั่ง
พิทักษ์ทรัพย์ และเงิน ที่ล ูกจ้างมีส ิทธิได้รับ ก่อ นมีคำ สั่งพิทัก ษ์ทรัพ ย์เ พื่อ
การงานที่ได้ทำ ให้ลูกหนีซ
้ ึ่งเป็ นนายจ้างตามมาตรา ๒๕๗ แห่งประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์และตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน
(๗) หนีอ
้ ่น
ื ๆ
ถ้ามีเงินไม่พอชำระเต็มจำนวนหนีใ้ นลำดับใดให้เจ้าหนีใ้ นลำดับ
นัน
้ ได้รบ
ั เฉลีย
่ ตามส่วน
 
มาตรา ๑๓๐ ทวิ ๑๐๓]  ในกรณีที่หนีต
[
้ ามมาตรา ๑๓๐ (๗) ราย
ใดมีการกำหนดโดยกฎหมายหรือสัญญาให้เจ้าหนีม
้ ีสิทธิได้รับ ชำระหนีต
้ ่อ
เมื่อเจ้าหนีอ
้ ่น
ื ได้รับชำระหนีจ
้ นเต็มจำนวนแล้ว เจ้าหนีด
้ ังกล่าวนัน
้ ยังคงมี
สิท ธิไ ด้ร ับ ส่ว นแบ่ง ทรัพ ย์ส ิน ตามสิท ธิท ี่ต นมีอ ยู่ต ามที่กำ หนดไว้โ ดย
กฎหมายหรือสัญญานัน

 
มาตรา ๑๓๑  ก่อนกระทำการแบ่งครัง้ ที่สุด ให้เจ้าพนักงาน
พิทัก ษ์ทรัพ ย์ส ่ง แจ้ง ความไปยัง ผู้ที่เ กี่ยวค้า งค่า จ้า งแรงงานหรือ เงิน ที่ไ ด้
ออกไปโดยคำสัง่ ของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพ ย์ว ่า ให้ส่งบัญชีเ งิน ที่เ กี่ยว
ค้างนัน
้ ภายในสิบสี่วันนับแต่วันได้รับแจ้งความ ถ้าไม่ส่งตามกำหนด เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะจัดการแบ่งครัง้ ที่สุด และจ่ายเงินไปโดยไม่คำนึง
ถึงเงินที่เกี่ยวค้างอยู่นน
ั ้ ถ้าผู้ที่ได้รับแจ้งความไม่ปฏิบัติดังว่านี ้ ผู้นน
ั ้ หมด
สิทธิเรียกร้องต่อไป
กำหนดเวลาดังกล่าวไว้ในวรรคก่อน เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
มีอำนาจขยายได้ เมื่อมีเหตุสมควร
 
มาตรา ๑๓๒  เมื่อ ได้ชำ ระหนีท
้ งั ้ หมดโดยเต็ม จำนวนตามที่
บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินก
ี ้ ับค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในคดี
ล้มละลายหมดแล้ว ถ้ายังมีทรัพย์สินเหลืออยู่ให้คืนแก่บุคคลล้มละลายไป
 
ส่วนที่ ๖
การปิ ดคดี
                  
 
มาตรา ๑๓๓  เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้แบ่งทรัพย์สิน
ของลูกหนีค
้ รัง้ ที่สุด  หรือได้หยุดกระทำการตามข้อตกลงในการประนอม
หนี ้ หรือ เมื่ อ ลูก หนี ไ้ ม่ม ีท รัพ ย์ส ิน จะให้แ บ่ง เจ้า พนัก งานพิทักษ์ทรัพย์
อาจทำรายงานแสดงกิจการและบัญชีรับจ่ายในคดีล้มละลายยื่นต่อศาล
และขอให้ศาลสั่งปิ ดคดีได้
เมื่อ ศาลได้พ ิจ ารณารายงานและบัญ ชีข องเจ้า พนัก งาน
พิท ัก ษ์ท รัพ ย์ป ระกอบกับ คำคัด ค้า นของเจ้า หนีห
้ รือ ผู้มีส ่วนได้เ สียแล้ว
ศาลจะสั่งให้ปิดคดีหรือไม่ก็ได้
ถ้าศาลสั่งไม่ให้ปิ ดคดี เมื่ อเจ้าหนี ห
้ รือผู้มีส่วนได้เสียมีคำ ขอ
โดยทำเป็ นคำร้อง ศาลอาจสัง่ ให้เจ้าพนักงานพิทก
ั ษ์ทรัพย์รบ
ั ผิดในการทีไ่ ด้
กระทำหรือละเว้นกระทำอันมิชอบด้วยหน้าทีก
่ ไ็ ด้
คำสัง่ ปิ ดคดีทำให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์พ้นจากความรับผิด
ในหน้าที่จนถึงวันที่ศาลสั่งนัน

ถ้าปรากฏว่าศาลได้สั่งไปโดยผิดหลง ศาลอาจเพิกถอนคำสั่ง
ปิ ดคดีนน
ั ้ ได้
 
มาตรา ๑๓๔  คำสัง่ ปิ ดคดีมีผลเพียงให้ระงับการจัดการต่าง ๆ
ไว้ แต่ไม่ทำให้คดีล้มละลายสิน
้ สุด และไม่ทำให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
หลุดพ้นจากหน้าที่ ดังต่อไปนี ้
(๑) หน้าที่ตามมาตรา ๑๖๐
(๒) หน้าที่อนุมัติการใด ๆ ที่กฎหมายบัญญัติไว้
(๓) หน้าที่ตรวจบัญชีรับจ่ายของบุคคลล้มละลาย
ถ้า เจ้า พ นัก ง านพ ิท ัก ษ์ท รัพ ย์เ ห ็น ว ่า บ ุค ค ล ล ้ม ล ะ ล าย มี
ทรัพย์สินขึน
้ ใหม่ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์อาจขอให้ศาลเปิ ดคดีต่อไปได้
 
ส่วนที่ ๗
การยกเลิกการล้มละลาย
                  
 
มาตรา ๑๓๕  เมื่อ ผู้ม ีส ่ว นได้เ สีย หรือ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์
ทรัพ ย์ม ีคำ ขอ ศาลมีอำ นาจสั่ง ยกเลิก การล้ม ละลายได้ ถ้า ปรากฏเหตุ
อย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี ้
(๑) เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่อาจดำเนิน การให้ไ ด้ผ ลเพื่อ
ประโยชน์แก่เจ้าหนีท
้ งั ้ หลาย เพราะเจ้าหนีผ
้ ู้เป็ นโจทก์ไม่ช่วยหรือยอมเสีย
ค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายหรือวางเงินประกัน ตามทีเ่ จ้าพนักงานพิทก
ั ษ์
ทรัพย์เรียกร้อง และไม่มเี จ้าหนีอ
้ ่น
ื สามารถและเต็มใจกระทำการดังกล่าว
แล้ว ภายในกำหนดเวลาหนึ่งเดือนนับแต่วันที่เจ้าหนีผ
้ ู้เป็ นโจทก์ได้ขัดขืน
หรือละเลยนัน

(๒) ลูกหนีไ้ ม่ควรถูกพิพากษาให้ล้มละลาย
(๓) หนีส
้ ินของบุคคลล้มละลายได้ชำระเต็มจำนวนแล้ว
ถ้าลูกหนีป
้ ฏิเสธหนีส
้ ินรายใด แต่ลูกหนีย
้ อมทำสัญญาและ
ให้ประกันต่อศาลว่าจะใช้เงินให้เต็มจำนวนกับค่าธรรมเนียมด้วยก็ดี หรือ
ถ้าหาตัวเจ้าหนีไ้ ม่พบ แต่ลก
ู หนีไ้ ด้นำเงินเต็มจำนวนมาวางต่อศาลก็ดี ให้
ถือว่าหนีส
้ ินรายนัน
้ ได้ชำระเต็มจำนวนแล้ว
(๔) เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้แบ่งทรัพย์ครัง้ ที่สุด หรือ
ไม่มีทรัพย์สินจะแบ่งให้แก่เจ้าหนีแ
้ ล้ว ต่อแต่นน
ั ้ มาภายในกำหนดเวลาสิบ
ปี เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ไม่อาจรวบรวมทรัพย์สินของบุคคลล้มละลาย
ได้อีก และไม่มีเจ้าหนีม
้ าขอให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จัดการรวบรวม
ทรัพย์สินของบุคคลล้มละลาย
 
มาตรา ๑๓๖  คำสัง่ ยกเลิก การล้มละลายตามมาตรา ๑๓๕
(๑) หรือ (๒) นัน
้ ไม่ทำให้ลูกหนีห
้ ลุดพ้นหนีส
้ ินแต่อย่างใด
 
มาตรา ๑๓๗  คำสั่งยกเลิกการล้มละลายไม่กระทบถึงการใด
ที่ศาลหรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้กระทำไปแล้ว ส่วนทรัพย์สินของ
บุคคลล้มละลายให้ตกแก่บค
ุ คลหนึง่ บุคคลใดตามที่ศาลกำหนด หรือถ้าไม่
ได้กำหนด ก็ให้คืนแก่บค
ุ คลล้มละลาย
 
มาตรา ๑๓๘  เมื่อศาลได้มคำ
ี สัง่ ยกเลิกการล้มละลายแล้ว ให้
เจ้าพนักงานพิทก
ั ษ์ทรัพย์โฆษณาในราชกิจจานุเบกษาและในหนังสือพิมพ์
รายวันไม่น้อยกว่าหนึ่งฉบับ
 
หมวด ๕
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
                  
 
ส่วนที่ ๑
การแต่งตัง้ และถอดถอน
                  
 
[๑๐๔]
มาตรา ๑๓๙   รัฐ มนตรีม ีอำ นาจแต่ง ตัง้ บุค คลหนึ่ง หรือ
หลายคนที่เห็นสมควรโดยเฉพาะตัวหรือ โดยตำแหน่งหน้า ที่ ให้เ ป็ นเจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์และมีอำนาจถอดถอน รวมทัง้ ออกระเบียบกำหนด
คุณสมบัตข
ิ องเจ้าพนักงานพิทก
ั ษ์ทรัพย์ผม
ู้ อำ
ี นาจออกคำสัง่ เกีย
่ วกับคำขอ
รับชำระหนีไ้ ด้
การแต่ง ตัง้ หรือ ถอดถอนเจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์แ ละ
ระเบียบตามวรรคหนึ่งให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
 
ส่วนที่ ๒
อำนาจหน้าที่
                  
 
มาตรา ๑๔๐  ในการเป็ นคู่ค วามในศาลก็ด ี ในการจัด การ
ทรัพย์สินของลูกหนีก
้ ็ดี หรือในการกระทำการอื่นเพื่อให้เป็ นไปตามหน้าที่
ก็ดี ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ใช้นามตำแหน่งว่า “เจ้าพนักงานพิทักษ์
ท ร ัพ ย ์ข อ ง ...............ล ูก ห น ี”
้  ห ร ือ  “ เ จ ้า พ น ัก ง า น พ ิท ัก ษ ์ท ร ัพ ย ์
ของ..................ผู้ล้มละลาย” โดยกรอกนามของลูกหนีห
้ รือผู้ล้มละลาย
ลงในช่องว่าง แล้วแต่กรณี
 
มาตรา ๑๔๑  ในการดำเนิน กระบวนพิจ ารณาในศาล เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ มีอำนาจจ้างทนายความเข้าทำการแทนได้
 
มาตรา ๑๔๒  นอกจากที่ม ีบ ัญ ญัต ิไ ว้ใ นบทมาตราอื่น เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์มีหน้าที่ ดังต่อไปนี ้
(๑) รายงานข้อ ความเกี่ย วกับ กิจ การ ทรัพ ย์ส ิน หรือ ความ
ประพฤติของลูกหนีต
้ ามที่ศาลต้องการ
(๒) ช่ว ยซัก ถามลูก หนีห
้ รือ บุค คลอื่น ในการที่ศ าลดำ เนิน
กระบวนพิจารณาตามพระราชบัญญัตินี ้
 
มาตรา ๑๔๓  ในการปฏิบ ัต ิก ารตามหน้า ที่ เจ้า พนัก งาน
พิทักษ์ทรัพย์อาจมีคำขอให้ศาลมีคำสัง่ เกี่ยวกับการใดที่เป็ นปั ญหาได้
 
มาตรา ๑๔๔  ถ้าเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เห็นเป็ นการจำเป็ น
ที่จะต้องกู้ยืมเงินเพื่อประโยชน์แห่งการจัดการทรัพย์สินของลูกหนี ้ เมื่อได้
รับอนุญาตจากศาลแล้วให้กู้ยืมได้
 
มาตรา ๑๔๕  เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะกระทำการดังต่อ
ไปนีไ้ ด้ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบของกรรมการเจ้าหนีแ
้ ล้ว
(๑) ถอนการยึดทรัพย์ในคดีล้มละลาย
(๒) โอนทรัพย์สินใด ๆ นอกจากโดยวิธีขายทอดตลาด
(๓) สละสิทธิ
(๔) ฟ้ องหรือ ถอนฟ้ องคดีแ พ่ง เกี่ย วกับ ทรัพ ย์ส ิน ในคดีล ้ม
ละลายหรือฟ้ องหรือถอนฟ้ องคดีล้มละลาย
(๕) ประนีประนอมยอมความหรือมอบคดีให้อนุญาโตตุลาการ
วินิจฉัย
 
มาตรา ๑๔๖  ถ้าบุคคลล้มละลาย เจ้าหนี ้ หรือบุคคลใดได้รับ
ความเสีย หายโดยการกระทำ หรือ คำ วิน ิจ ฉัย ของเจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์
ทรัพ ย์ บุค คลนัน
้ อาจยื่น คำขอโดยทำเป็ นคำร้อ งต่อ ศาลภายในกำหนด
เวลาสิบ สี่ว ัน นับ แต่ว ัน ที่ไ ด้ท ราบการกระทำหรือ คำ วิน ิจ ฉัย นัน
้ ศาลมี
อำนาจสั่งยืนตาม กลับ หรือแก้ไข หรือสั่งประการใดตามที่เห็นสมควร
 
มาตรา ๑๔๗  ในการปฏิบ ัต ิก ารตามหน้า ที่ เจ้า พนัก งาน
พิทักษ์ทรัพย์ไม่ต้องรับผิดเป็ นส่วนตัว เว้นแต่จะได้กระทำโดยเจตนาร้าย
หรือโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
 
มาตรา ๑๔๘  การฟ้ องเจ้า พนัก งานพิท ก
ั ษ์ท รัพ ย์ห รือ เจ้า
พนักงานอื่นตามพระราชบัญญัตินี ้ ในการที่ได้ก ระทำหรือละเว้น กระทำ
การตามที่ไ ด้บ ัญ ญัต ิไ ว้ใ นพระราชบัญ ญัต ิน ี ้ ถ้า มิได้ฟ้ องภายในกำหนด
เวลาหกเดือนนับแต่วันที่เกิดอำนาจฟ้ องให้ถือว่าขาดอายุความ
 
หมวด ๖
อำนาจศาลและกระบวนพิจารณาคดีล้มละลาย
                  
 
ส่วนที่ ๑
อำนาจศาล
                  
 
มาตรา ๑๔๙ ๑๐๕]  (ยกเลิก)
[

 
มาตรา ๑๕๐  การยื่นคำฟ้ องหรือคำร้องขอให้ล้มละลายให้ย่ น

ต่อศาลซึง่ ลูกหนีม
้ ีภูมิลำ เนาอยู่ในเขตหรือประกอบธุรกิจอยู่ในเขต ไม่ว่า
ด้วยตนเองหรือโดยตัวแทนในขณะที่ย่ น
ื คำฟ้ องหรือคำร้องขอหรือภายใน
กำหนดเวลาหนึง่ ปี ก่อนนัน

 
มาตรา ๑๕๑  ศาลต้องสอดส่องให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
ปฏิบัติหน้าที่โดยเรียบร้อย เพื่อการนีใ้ ห้มีอำนาจสั่งให้เจ้าพนักงานพิทักษ์
ทรัพย์ทำคำชีแ
้ จงในเรื่องบัญชีหรือเรื่องใด ๆ เกีย
่ วกับกระบวนพิจารณาคดี
ล้มละลาย หรือจะสัง่ ให้กระทำหรือละเว้นกระทำการตามทีเ่ ห็นสมควรได้
 
มาตรา ๑๕๒  ถ้าเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ก่อให้เกิดความเสีย
หายขึน
้ แก่ก องทรัพ ย์ส ิน ในคดีล ้ม ละลายโดยเจตนาร้า ยหรือ ประมาท
เลินเล่ออย่างร้ายแรง ศาลมีอำนาจสั่งให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ชดใช้ค่า
เสียหายเป็ นส่วนตัวตามที่เห็นสมควรได้
 
ส่วนที่ ๒
กระบวนพิจารณาคดีล้มละลาย
                  
 
มาตรา ๑๕๓ ๑๐๖]  (ยกเลิก)
[
 
มาตรา ๑๕๔  ในคดีที่ศาลได้มีคำ สั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี ้
ชั่วคราวแล้ว ถ้าเจ้าหนี ้ผู้เป็ นโจทก์ทงิ ้ ฟ้ อง ถอนฟ้ อง หรือขาดนัดพิจารณา
ก่อนที่ศาลจะสัง่ จำหน่ายคดี ให้โฆษณาในหนังสือพิมพ์รายวันอย่างน้อยห
นึ่งฉบับเพื่อให้เจ้าหนีท
้ งั ้ หลายทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน
 
มาตรา ๑๕๕  เจ้า หนี ผ
้ ู้เ ป็ นโจทก์ม ีห น้า ที่ร ะวัง ประโยชน์
ของเจ้า หนี ท
้ ั ง้ หลาย ช่ว ยเจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ใ นการรวบรวม
จำหน่า ยทรัพ ย์ส ิน ของลูก หนีแ
้ ละรับ ผิด ในบรรดาค่า ธรรมเนีย ม ค่า เสีย
หาย และค่า ใช้จ ่า ยในคดีล ้ม ละลายนัน
้ เพื่อ ประกัน การรับ ผิด นีเ้ จ้า
พนักงานพิทัก ษ์ทรัพ ย์มีอำ นาจเรีย กประกัน จากเจ้า หนีผ
้ ู้เ ป็ นโจทก์ต าม
จำนวนที่เห็นว่าจำเป็ น
 
มาตรา ๑๕๖  ถ้าเจ้าหนีผ
้ เู้ ป็ นโจทก์ขด
ั ขืนหรือละเลยไม่ชว่ ยเจ้า
พนักงานพิทก
ั ษ์ทรัพ ย์ หรือ ไม่ใ ห้ป ระกัน ตามที่ก ล่า วไว้ใ นมาตรา ๑๕๕
ภายในกำหนดเวลาเจ็ด วัน นับ แต่วัน ที่ไ ด้ร ับ คำแจ้ง ความ เจ้า พนัก งาน
พิทักษ์ทรัพย์ด้วยความเห็นชอบของที่ประชุมเจ้าหนีม
้ ี อำ นาจแต่งตัง้ เจ้า
หนีค
้ นอื่นเป็ นเจ้าหนีผ
้ ู้เป็ นโจทก์แทนต่อไป
 
มาตรา ๑๕๗  เมื่อได้ส่งแจ้งความนัดประชุมหรือแจ้งความใด
ๆ ไปยังเจ้าหนีท
้ งั ้ หลายในราชอาณาจักรแล้ว แม้เจ้าหนีบ
้ างคนจะยังไม่ได้
รับ ก็ไม่ทำให้การประชุมหรือการนัน
้ เสียไป
 
มาตรา ๑๕๘  ผู้มีส่วนได้เสียคนใดเห็นว่าเจ้าพนักงานพิทักษ์
ทรัพย์ไม่มีสิทธิยึดทรัพย์สินอย่างหนึ่งอย่างใด ให้คัดค้านต่อเจ้าพนักงาน
พิท ัก ษ์ท รัพ ย์ เมื่อ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ไ ด้ร ับ คำ คัด ค้า นแล้ว ให้
สอบสวนและมีคำ สัง่ ถ้าเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์สั่งไม่ให้ถอนการยึด ผู้
นัน
้ มีสิทธิย่ น
ื คำร้องขอต่อศาลภายในกำหนดเวลาสิบสีว่ น
ั นับแต่วน
ั ได้ทราบ
คำสัง่ นัน
้ เมื่อศาลได้รบ
ั คำร้องขอแล้ว  ให้ศาลพิจารณาและมีคำ สัง่ ชีข
้ าด
เหมือนอย่างคดีธรรมดา โดยเรียกเจ้าพนักงานพิทก
ั ษ์ทรัพย์เข้ามาสูค
้ ดี
 
มาตรา ๑๕๙  เมื่อ ศาลได้พ ิพ ากษาหรือ มี คำ สั่ง อย่า งหนึ่ง
อย่างใดแล้ว ให้แจ้งให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทราบ
 
หมวด ๗
การสอบสวนและบทกำหนดโทษ
                  
 
ส่วนที่ ๑
การสอบสวน
                  
 
มาตรา ๑๖๐  ในระหว่า งดำ เนิน กระบวนพิจ ารณาคดีล ้ม
ละลาย ถ้ามีเหตุควรเชื่อได้ว ่าลูกหนีห
้ รือผู้หนึ่งผู้ใดได้กระทำความผิดใน
ทางอาญาเกี่ย วกับ การล้ม ละลาย ให้เ จ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์เ ป็ น
พนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาด้วย
ในกรณีที่พนักงานอัยการมีความเห็นว่าไม่ควรฟ้ อง ซึ่งแย้งกับ
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ให้ส่งสำนวนไปยังอธิบดีกรมอัยการเพื่อสั่ง
 
ส่วนที่ ๒
บทกำหนดโทษ
                  
 
[๑๐๗]
มาตรา ๑๖๑   ลูก หนีค
้ นใดฝ่ าฝื นบทบัญ ญัต แ
ิ ห่ง มาตรา
๖๗ (๓) โดยไม่มีข้อแก้ตัวอันสมควร มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน
สองหมื่นบาท หรือจำคุกไม่เกินสองเดือน หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
[๑๐๘]
มาตรา ๑๖๒   ลูก หนีค
้ นใดฝ่ าฝื นบทบัญ ญัต แ
ิ ห่ง มาตรา
๖๔ มาตรา ๖๕ มาตรา ๗๙ หรือมาตรา ๘๐ โดยไม่มีข้อแก้ตัวอันสมควร
หรือขัดขืนเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๑๖ (
๑) มีค วามผิดต้องระวางโทษปรับ ไม่เ กิน สี่ห มื่น บาท หรือ จำคุก ไม่เ กิน สี่
เดือน หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
[๑๐๙]
มาตรา ๑๖๓   ลูกหนีค
้ นใดกระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดดัง
ต่อไปนี ้ มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือจำคุกไม่
เกินสองปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
(๑) ฝ่ าฝื นบทบัญญัติแห่งมาตรา ๒๓ มาตรา ๓๐ หรือมาตรา
๖๗ (๑) หรือ (๒) โดยไม่มีข้อแก้ตัวอันสมควร
(๒) ละเว้นไม่แจ้งข้อความอันเป็ นสาระสำคัญ หรือกล่าวเท็จ
เกี่ยวกับ กิจการหรือทรัพ ย์ส ิน ของตนต่อ ศาล เจ้า พนัก งานพิทัก ษ์ทรัพ ย์
หรือที่ประชุมเจ้าหนี ้ เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่ามิได้มีเจตนาฉ้อฉล
(๓) มิได้แจ้งให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ทราบภายในกำหนด
เวลาหนึ่งเดือน เมื่อได้ทราบหรือมีเหตุผลอันสมควรเชื่อได้ว ่ามีผู้นำหนีส
้ ิน
อันเป็ นเท็จมาขอรับชำระในคดีล้มละลาย
 
[๑๑๐]
มาตรา ๑๖๔   ในระหว่างเวลาหนึง่ ปี กอ
่ นมีการขอให้ลก
ู หนีล
้ ม

ละลาย หรือภายหลังนัน
้  แต่ก่อนมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ ลูกหนีค
้ นใดกระทำ
การอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี ้ มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินสอง
แสนบาท หรือจำคุกไม่เกินสองปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
(๑) ยักย้าย ซุกซ่อน ทำลาย ก่อความชำรุด หรือเปลี่ยนแปลง
ดวงตรา สมุดบัญชีหรือเอกสารอันเกี่ยวกับกิจการหรือทรัพย์สินของตน
หรือรู้เห็นเป็ นใจด้วยการกระทำนัน
้ ๆ เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่ามิได้มีเจตนา
ปกปิ ดสภาพแห่งกิจการของตน
ถ้า ปรากฏว่า ดวงตรา สมุด บัญ ชี หรือ เอกสารสูญ หาย
ชำรุด หรือเปลี่ยนแปลง ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าลูกหนีเ้ ป็ นผูก
้ ระทำ
(๒) ละเว้น จดข้อความอัน เป็ นสาระสำคัญ หรือ จดข้อ ความ
เท็จลงในสมุดบัญชีหรือเอกสารอันเกี่ยวกับกิจการหรือทรัพย์สินของตน
หรือรู้เห็นเป็ นใจในการนัน

(๓) นำ ทรัพ ย์ส ิน ซึ่ง ได้ม าโดยเชื่อ และยัง มิไ ด้ชำ ระราคาไป
จำนำ จำนอง หรือจำหน่าย เว้นแต่การนัน
้ เป็ นปกติธุระของลูกหนี ้ และ
พิสูจน์ได้ว่ามิได้มีเจตนาฉ้อฉล
(๔) รับ สิน เชื่อ จากบุค คลอื่น โดยใช้อ ุบ ายหลอกลวง หรือ
ซุกซ่อน โอน หรือส่งมอบทรัพย์สินของตนโดยทุจริต หรือกระทำหรือยอม
ให้ผ ู้อ่ น
ื กระทำให้ทรัพ ย์ส ิน ของตนต้อ งมีภ าระผูก พัน ขึน
้ โดยทุจริต หรือ
ยอมหรือสมยอมกับบุคคลอื่นให้ศาลพิพากษาให้ตนต้องชำระหนีซ
้ ง่ึ ตนมิควร
ต้องชำระ
 
[๑๑๑]
มาตรา ๑๖๕   ในระหว่างเวลาตัง้ แต่ศาลได้มคำ
ี สัง่ พิทก
ั ษ์
ทรัพย์จนถึงเวลาทีพ
่ น
้ จากล้ม ละลาย ลูก หนีค
้ นใดกระทำการอย่า งหนึ่ง
อย่างใดดังต่อไปนี ้ มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาทหรือ
จำคุกไม่เกินสองปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
(๑) รับสินเชื่อจากผูอ
้ ่น
ื มีจำนวนตัง้ แต่สองพันบาทขึน
้ ไปโดยมิได้
แจ้งให้ผน
ู้ น
ั้ ทราบว่าตนถูกพิทักษ์ทรัพย์หรือล้มละลาย
(๒) ประกอบการค้าหรือธุรกิจโดยใช้นามตัวหรือนามสมญาผิด
จากทีต
่ นถูกพิทก
ั ษ์ทรัพย์หรือล้มละลาย และในการนัน
้ ได้รบ
ั สินเชื่อ จาก
บุคคลอื่นโดยมิได้แจ้งให้ผน
ู้ น
ั้ ทราบว่าตนถูกพิทก
ั ษ์ทรัพย์หรือล้มละลาย
(๓) ประกอบการค้าหรือธุรกิจโดยใช้นามหรือนามสมญาของผู้
อื่นบังหน้า
(๔) ประกอบการค้าหรือธุรกิจโดยใช้น ามตัวหรือนามสมญา
ผิด ไปจากที่ตนถูก พิทก
ั ษ์ทรัพย์หรือล้มละลาย โดยมิได้โฆษณารายการดัง
ต่อไปนีใ้ นหนังสือพิมพ์รายวันอย่างน้อยสองฉบับ
ก. นามตัวและนามสมญาที่ถูกพิทักษ์ทรัพย์หรือล้มละลาย
ข. ตำบลที่ตนประกอบการค้าหรือธุรกิจในขณะที่ถูกพิทักษ์
ทรัพย์
ค. นามตัวและนามสมญาซึ่งประสงค์จะใช้ต ่อไปในการค้า
หรือธุรกิจ
ง. ลักษณะของการค้าหรือธุรกิจที่จะประกอบต่อไป
จ. ตำบลที่จะประกอบการค้าหรือธุรกิจ
 
[๑๑๒]
มาตรา ๑๖๖   ลูกหนีค
้ นใดมีหนีส
้ น
ิ เนื่องในการค้าหรือธุรกิจ
อยูใ่ นขณะทีถ
่ ก
ู พิทก
ั ษ์ทรัพย์ กระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี ้ มีความ
ผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือจำคุกไม่เกินหนึง่ ปี หรือ
ทัง้ ปรับทัง้ จำ
(๑) เมื่อ เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ส อบถามหรือ ศาลทำการ
ไต่สวน ลูกหนีไ้ ม่สามารถให้เหตุผลอันสมควรถึงการที่ได้เสียทรัพย์สินไป
เป็ นจำนวนมากในระหว่างเวลาหนึ่งปี ก่อนมีการขอให้ล้มละลาย หรือภาย
หลังนัน
้ แต่ก่อนมีคำสัง่ พิทักษ์ทรัพย์
(๒) กระทำหนีส
้ ินอันพึงขอรับชำระได้ในคดีล้มละลายโดยไม่มี
เหตุอันน่าเชื่อว่าจะสามารถชำระหนีน
้ น
ั ้ ได้
 
[๑๑๓]
มาตรา ๑๖๗   บุคคลซึ่งประกอบพาณิชยกิจตามที่ระบุไว้
ในกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนพาณิชย์คนใดไม่มีบัญชีย้อนหลังขึน
้ ไปสาม
ปี นับ แต่ว ัน ที่ถ ูก พิท ัก ษ์ท รัพ ย์เ ด็ด ขาด ซึง่ จะแสดงให้เ ห็น การประกอบ
พาณิช ยกิจ หรือ ฐานะการเงิน ของตนอย่า งเพีย งพอตามทีบ
่ ญ
ั ญัต ไิ ว้ใ น
กฎหมายว่าด้วยการบัญ ชีซ ึ่ง ใช้อ ยู่ในเวลานัน
้ มีค วามผิด ต้อ งระวางโทษ
ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาทหรือจำคุกไม่เกินหนึง่ ปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
[๑๑๔]
มาตรา ๑๖๘   ในระหว่างเวลาหกเดือนก่อนมีการขอให้ลูก
หนีล
้ ้มละลายหรือภายหลังนัน
้ แต่ก่อนเวลาที่พ้นจากล้มละลาย ลูกหนีค
้ น
ใดออกไปหรือพยายามจะออกไปนอกราชอาณาจักร โดยนำทรัพย์สน
ิ ซึง่
ตามกฎหมายต้องเอาไว้แบ่งใช้หนีแ
้ ก่เจ้าหนีร้ าคาเกินกว่าสองพันบาทออก
ไปด้วย เว้นแต่จะพิสจ
ู น์ได้วา่ มิได้มเี จตนาฉ้อฉล มีความผิดต้องระวางโทษ
ปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือจำคุกไม่เกินสองปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
[๑๑๕]
มาตรา ๑๖๙   เมื่อศาลได้มีคำ สั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ลูกหนี ้
คนใดซ่อ นตัว หรือ หลบไปเสีย จากที่ ๆ เคยอยู่ห รือ ที่ทำ การค้า หรือ
ประกอบธุรกิจแห่ง สุด ท้า ย หรือ ออกไปนอกราชอาณาจัก ร โดยเจตนา
หลีกเลี่ยงหมายเรียกหรือหมายนัดของศาลในคดีล้มละลาย หรือหลีกเลี่ยง
การที่จ ะถูก สอบสวนหรือ ไต่ส วนเกี่ย วกับ กิจ การหรือ ทรัพ ย์ส ิน ของตน
หรือทำให้เกิดความลำบากขัดข้องแก่กระบวนพิจารณาคดีล ้มละลาย มี
ความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือจำคุกไม่เกินหนึ่งปี
หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
[๑๑๖]
มาตรา ๑๗๐   เมื่อศาลได้มีคำ สั่งพิทักษ์ทรัพย์แล้ว ลูกหนี ้
คนใดกระทำการฉ้อฉล หรือให้ หรือเสนอให้ หรือตกลงว่าจะให้ประโยชน์
ใด ๆ แก่เจ้าหนี ้ โดยมุ่งหมายที่จะได้รับความยินยอมของเจ้าหนีน
้ น
ั ้ ในการ
ขอประนอมหนีห
้ รือข้อตกลงเกีย
่ วกับกิจการหรือการล้มละลายของตน หรือ
เพื่อมิให้มีการคัดค้านการขอปลดจากล้มละลาย มีความผิดต้องระวางโทษ
ปรับไม่เกินสองแสนบาท หรือจำคุกไม่เกินสองปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
[๑๑๗]
มาตรา ๑๗๑   เจ้า หนีห
้ รือ ผู้แ ทนเจ้า หนีค
้ นใดกล่า วอ้า ง
หรือขอรับ ชำระหนีใ้ นคดีล้มละลายหรือการขอประนอมหนี ้ หรือในการ
ตกลงเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนีโ้ ดยไม่เป็ นความจริงในส่วนสาระสำคัญ
เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่ามิได้มีเจตนาฉ้อฉล มีความผิดต้องระวางโทษปรับ
ไม่เกินสองแสนบาท หรือจำคุกไม่เกินสองปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
 
มาตรา ๑๗๒  เจ้า หนีห
้ รือ ผู้แ ทนเจ้า หนีค
้ นใด เรีย กหรือ รับ
หรือยินยอมที่จะรับทรัพย์สินหลักประกันหรือผลประโยชน์ใด ๆ ไว้เป็ น
ประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อ่ น
ื เพื่อ ที่จะยิน ยอมหรือ ไม่ค ัด ค้า นในการขอ
ประนอมหนี ้ หรือการขอปลดจากล้มละลาย มีค วามผิด ต้อ งระวางโทษ
ปรับไม่เกินห้าเท่าของราคาผลประโยชน์อันมิควรได้นน
ั้
 
มาตรา ๑๗๓  ผู้ใ ดรู้ว ่า ได้ม ีห รือ จะมีคำ สั่ง พิท ัก ษ์ท รัพ ย์แ ล้ว
ยัก ย้า ย ซุก ซ่อ น รับ จำหน่า ย หรือ จัด การแก่ท รัพ ย์ส ิน ของลูก หนีโ้ ดย
เจตนาทุจริต มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองเท่าราคาทรัพย์สิน
นัน
้ หรือจำคุกไม่เกินสองปี หรือทัง้ ปรับทัง้ จำ
เพื่อ ประโยชน์แ ห่ง มาตรานี ้ ให้ส ัน นิษ ฐานไว้ก ่อ นว่า เมื่อ เจ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้โฆษณาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ในราชกิจจานุเบกษา
และหนังสือพิมพ์รายวันแล้ว บุคคลทุกคนได้ทราบว่ามีคำสั่งนัน

 
[๑๑๘]
มาตรา ๑๗๔   ผู้ใดกล่าวอ้างโดยไม่เป็ นความจริงว่าตนเป็ น
เจ้า หนี ้ โดยมุ่ง หมายที่จ ะได้ด ูห รือ คัด สำ เนาเอกสารใด ๆ ที่เ กี่ย วกับ
กระบวนพิจารณาคดีล้มละลาย มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้า
พันบาท
 
มาตรา ๑๗๕  บุคคลดัง ต่อ ไปนีม
้ ีห น้า ที่แ ละความรับ ผิด ทาง
อาญาเช่น เดีย วกับ ลูก หนี ้ สำหรับ กิจ การที่ต นได้ก ระทำในขณะที่เ ป็ นผู้
ประกอบการงานของลูกหนี ้
(๑) ถ้าลูกหนีเ้ ป็ นห้างหุ้นส่วนสามัญซึ่งได้จดทะเบียนหรือห้าง
หุ้นส่วนจำกัด หุ้นส่วนผู้จัดการ หรือผู้เป็ นหุ้นส่วนซึ่งสอดเข้าไปเกี่ยวข้อง
จัดการงาน หรือผู้ชำระบัญชีของห้างหุ้นส่วนนัน

(๒) ถ้า ลูก หนีเ้ ป็ นบ ริษ ัท จำ ก ัด ผู้เ ริ่ม ก ่อ ก าร กรรมการ
พนักงาน ลูกจ้าง หรือผูชำ
้ ระบัญชีของบริษัทนัน

(๓) ถ้าลูกหนีเ้ ป็ นนิตบ
ิ ค
ุ คลอื่นนอกจากทีก
่ ล่าวไว้ใน (๑) และ
(๒) ผูจ
้ ด
ั การหรือผูชำ
้ ระบัญชีของนิติบุคคลนัน

(๔) ถ้า ลูก หนีม
้ ีต ัว แทนหรือ ลูก จ้า งเป็ นผู้ป ระกอบการงาน
ตัวแทนหรือลูกจ้างของลูกหนีน
้ น
ั้
(๕) ถ้า ลูก หนีต
้ าย ทายาท ผู้จ ัด การมรดก หรือ ผู้ป กครอง
ทรัพย์ของลูกหนีน
้ น
ั้
 
หมวด ๘
บทบัญญัติเบ็ดเสร็จ
                  
 
ส่วนที่ ๑
เงินค้างจ่าย
                  
 
มาตรา ๑๗๖  เมื่อเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ได้แบ่งทรัพย์สิน
ครัง้ ที่สุดแล้ว ถ้ามีเงินค้างจ่ายซึ่งไม่มีผู้ใดมารับภายในกำหนดเวลาห้า ปี
นับ แต่ว ัน ที่ศ าลสั่ง ปิ ดคดี เจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ต ้อ งโฆษณาใน
หนังสือ พิมพ์รายวัน ไม่น ้อยกว่า หนึ่ง ฉบับ ให้เ จ้า หนีม
้ ารับ ภายในกำหนด
เวลาสองเดือน ถ้าไม่มารับภายในกำหนด ให้เงินนีต
้ กเป็ นของแผ่นดิน
 
ส่วนที่ ๒
การล้มละลายเกี่ยวกับต่างประเทศ
                  
 
มาตรา ๑๗๗  การพิทักษ์ทรัพย์หรือการล้มละลายตามพระ
ราชบัญญัตินม
ี ้ ีผลเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนีต
้ ลอดและเฉพาะแต่ในราช
อาณาจักร
การพิทักษ์ทรัพย์หรือการล้มละลายตามกฎหมายของประเทศ
อื่น ไม่มีผลเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนีซ
้ ึ่งอยู่ในราชอาณาจักร
 
มาตรา ๑๗๘  เจ้าหนีต
้ า่ งประเทศซึง่ มีภม
ู ลำ
ิ เนาอยูน
่ อกราช
อาณาจักรจะขอรับชำระหนีใ้ นคดีล้มละลายได้ต่อเมื่อได้ปฏิบัติตามเงื่อนไข
ดังต่อไปนี ้
(๑) ต้องพิส ูจน์ว่า เจ้าหนีใ้ นประเทศไทยก็มีส ิทธิข อรับ ชำระ
หนีใ้ นคดีล้มละลายตามกฎหมายและในศาลแห่งประเทศของตนได้ ใน
ทำนองเดียวกัน
(๒) ต้องแถลงว่า ตนได้ร ับ หรือ มีส ิทธิจ ะได้ร ับ ทรัพ ย์ส ิน หรือ
ส่วนแบ่งจากทรัพย์สินของลูกหนีค
้ นเดียวกันนัน
้ นอกราชอาณาจักรเป็ น
จำนวนเท่า ใดหรือ ไม่ และถ้า มี ตนยอมส่ง ทรัพ ย์ส ิน หรือ ส่ว นแบ่ง จาก
ทรัพย์สินของลูกหนีด
้ ังกล่าวแล้วมารวมในกองทรัพย์สินของลูกหนีใ้ นราช
อาณาจักร
 
ส่วนที่ ๓
ค่าธรรมเนียม
                  
 
มาตรา ๑๗๙ ๑๑๙]  ค่า ธรรมเนีย มในคดีล ้ม ละลายให้ค ิด ตาม
[

อัตรา ดังต่อไปนี ้
(๑) ค่าขึน
้ ศาลสำหรับคำฟ้ องหรือคำร้องขอให้ล้มละลาย ห้า
ร้อยบาท
(๒) ค่ายื่นคำขอรับชำระหนีใ้ นคดีล้มละลาย สองร้อยบาท เว้น
แต่เป็ นคำขอของเจ้าหนีต
้ ามคำพิพากษาหรือเจ้าหนีท
้ ี่ขอรับ ชำระหนีไ้ ม่
เกินห้าหมื่นบาท
(๓) ค่าขึน
้ ศาลในกรณีที่มีการอุทธรณ์เรื่องขอรับชำระหนี ้ สอง
ร้อยบาท
(๔) ค่าธรรมเนียมในการรวบรวมทรัพย์สินให้คิดในอัตราร้อย
ละสามของเงิน สุท ธิท ี่ร วบรวมได้ สำหรับ ทรัพ ย์ส น
ิ ทีไ่ ม่มก
ี ารขายหรือ
จำหน่า ยให้ค ด
ิ ในอัต ราร้อ ยละสองของราคาทรัพ ย์ส น
ิ นัน
้  แต่ถ ้า มีก าร
ประนอมหนีใ้ ห้ค ิด ค่า ธรรมเนีย มในอัต ราร้อ ยละสามของจำนวนเงิน ที่
ประนอมหนี ้  ทัง้ นี ้ แล้วแต่จำนวนใดจะสูงกว่า
ค่าธรรมเนียมนอกจากนี ้ ให้ค ิด อัต ราเดีย วกับ ค่า ธรรมเนีย ม
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
 
มาตรา ๑๘๐  ถ้ามีเงินเหลือพอ ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
จ่ายค่าป่ วยการและค่าพาหนะเดินทางของพยานหรือบุคคลที่ถูกเรียกมาส
อบสวน โดยอนุโลมตามอัตราที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่ง
 
มาตรา ๑๘๑  แบบพิมพ์ซึ่งลูกหนีจำ
้ ต้อ งยื่นต่อเจ้า พนักงาน
พิทักษ์ทรัพย์ตามพระราชบัญญัตินี ้ ให้ยกเว้นอากรแสตมป์
 
 
ผู้รับสนองพระบรม
ราชโองการ
พิบล
ู สงคราม
นายกรัฐมนตรี
[
พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๑๑ ๑๒๐]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใช้บ ัง คับ ตัง้ แต่วัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๑๒  บรรดาคดีล ้มละลายที่ไ ด้ย่ น
ื ฟ้ องก่อ นวัน ที่พ ระ
ราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับ และยังค้างพิจารณาอยู่ในศาลหรืออยู่ในระหว่า ง
ปฏิบ ัติก ารของเจ้าพนัก งานพิทัก ษ์ทรัพ ย์ ให้บ ัง คับ ตามกฎหมายว่า ด้วย
การล้มละลายซึ่งใช้อยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับ
 
มาตรา ๑๓  ให้รัฐมนตรีว ่า การกระทรวงยุต ิธ รรมรัก ษาการ
ตามพระราชบัญญัตินี ้
 
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้พ ระราชบัญ ญัต ิฉ บับ นี ้ คือ
เนื่องจากค่าของเงินในปั จจุบันแตกต่างไปจากเมื่อสมัยก่อ นเป็ นอัน มาก
จึงควรแก้ไขกำหนดจำนวนหนีท
้ ี่จะฟ้ องคดีล้มละลายให้ส งู ขึน
้ กับแก้ไข
จำนวนเงิน วางศาลและค่าธรรมเนียมบางอย่า งให้เ หมาะสม และโดยที่
บทบัญ ญัต ิเ กี่ย วกับ การขอเพิก ถอนการกระ ทำ ของลูก หนีเ้ กี่ย วกับ
ทรัพย์สินยังไม่รัดกุม  จึงสมควรแก้ไขด้วย
 
[
พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๖ ๑๒๑]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๕  บรรดาคดีล ้ม ละลายที่ไ ด้ย่ ืน ฟ้ องก่อ นวัน ที่พ ระ
ราชบัญ ญัต ิน ีใ้ ช้บ ัง คับ และ ยัง คงค้า งพิจ ารณาอยู่ใ นศาลหรือ อยู่ใ น
ระหว่างปฏิบัติการของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ให้บังคับตามกฎหมายว่า
ด้วยการล้มละลาย ซึ่งใช้อยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับ
 
มาตรา ๖  ให้ร ัฐ มนตรีว ่า การกระทรวงยุต ิธ รรมรัก ษาการ
ตามพระราชบัญญัตินี ้
 
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้พ ระราชบัญ ญัต ิฉ บับ นี ้ คือ
เนื่องจากกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในปั จจุบันได้กำหนดเกี่ยวกับจำนวนเงินที่
เจ้าหนีม
้ ีสิทธิจะฟ้ องลูกหนีใ้ ห้ล้มละลายได้จะต้องเป็ นหนีอ
้ ยู่ไม่น้อยกว่า
สามหมื่น บาทและเนื่อ งจากในปั จจุบ ัน ค่า ของเงิน บาทตกต่ำลงมาก
สมควรกำหนดจำนวนเงินที่เจ้าหนีจ
้ ะฟ้ องลูกหนีใ้ ห้ล้มละลายได้เสียใหม่
โดยจะฟ้ องได้ต่อเมื่อลูกหนีซ
้ ึ่งเป็ นบุคคลธรรมดาเป็ นหนีเ้ จ้าหนีผ
้ เู้ ป็ นโจทก์
คนเดียวหรือหลายคนเป็ นจำนวนไม่นอ
้ ยกว่าห้าหมื่นบาท หรือลูกหนีซ
้ ง่ึ เป็ น
นิตบ
ิ ค
ุ คลเป็ นหนีเ้ จ้าหนีผ้ เ้ ู ป็ นโจทก์คนเดียวหรือหลายคน เป็ นจำนวนไม่นอ
้ ย
กว่าห้าแสนบาท  จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัติฉบับนีข
้ น
ึ้
 
พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๑ ๑๒๒] [

 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใช้บ ัง คับ ตัง้ แต่วัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้พ ระราชบัญ ญัต ิฉ บับ นี ้ คือ
เนื่องจากบทบัญญัติบางมาตราของพระราชบัญญัตล
ิ ้มละลาย พุทธศักราช
๒๔๘๓ ไม่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปั จจุบัน โดยเฉพาะ
เมื่อลูกหนีท
้ ี่เป็ นนิติบค
ุ คลประสบปั ญหาสภาพคล่องทางการเงินชั่วคราว
อัน ควรได้รับ ความช่วยเหลือทางการเงิน จากผู้ป ระสงค์จ ะให้ค วามช่ว ย
เหลือ ทางการเงิน แก่ล ูก หนี ้ เพื่อ ให้ล ูก หนีม
้ ีโ อกาสได้ฟ้ื นฟูก ิจ การ แต่
เนื่อ งจากมาตรา ๙๔ (๒) แห่ง พระราชบัญ ญัต ิล ้ม ละลาย พุท ธศัก ราช
๒๔๘๓ บัญญัติให้เจ้าหนีท
้ ี่ยอมให้ล ูกหนีก
้ ่อหนีข
้ น
ึ ้ โดยรู้อยู่แล้วว่าลูกหนีม
้ ี
หนีส
้ ินล้น พ้น ตัวไม่มีส ิทธิข อรับ ชำระหนีใ้ นคดีล ้มละลาย อัน เป็ นเหตุให้
ไม่ม ีส ถาบัน ทางการเงิน หรือ เอกชนรายใดยิน ยอมให้ค วามช่ว ยเหลือ
ทางการเงินแก่ลูกหนีท
้ ี่ประสบปั ญหาสภาพคล่องทางการเงินชั่วคราว ลูก
หนีจ
้ ึงต้องตกเป็ นบุคคลล้มละลายทัง้ ๆ ที่กิจการของลูกหนีอ
้ ยู่ในสภาพที่
จะฟื้ นฟูได้ หากได้รับความช่วยเหลือทางการเงิน สมควรที่จะมีบทบัญญัติ
คุ้ม ครองการให้ค วามช่ว ยเหลือ ทางการเงิน แก่ล ูก หนีท
้ ี่ป ระสบปั ญหา
สภาพคล่องทางการเงินชั่วคราวเพื่อให้ลูกหนีม
้ ีโอกาสได้ฟ้ื นฟูกิจการได้ซึ่ง
จะช่วยเจ้าหนีใ้ ห้มีโอกาสรับชำระหนีอ
้ ย่างเป็ นธรรมด้วย อันจะเป็ นการส่ง
เสริมเศรษฐกิจและการค้าของประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไป  จึงจำเป็ น
ต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
[
พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒ ๑๒๓]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๓๔  บรรดาคดีล ้มละลายที่ไ ด้ย่ น
ื ฟ้ องก่อ นวัน ที่พ ระ
ราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับ และยังคงค้างพิจารณาอยู่ในศาลหรืออยู่ในระหว่าง
ปฏิบัติการของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ให้บังคับตามกฎหมายว่าด้วยล้ม
ละลายซึ่งใช้อยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับ
 
มาตรา ๓๕ ๑๒๔]  (ยกเลิก)
[

 
มาตรา ๓๖  ให้บ ทบัญ ญัต ิม าตรา ๙๐/๗๙ แห่ง พระราช
บัญ ญัต ิล ้ม ละลาย พุท ธศัก ราช ๒๔๘๓ ซึ่ง แก้ไ ขเพิ่ม เติม โดยพระราช
บัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๑ และบทบัญญัติมาตรา ๑๔๙
และมาตรา ๑๕๓ แห่ง พระราชบัญ ญัต ิล ้ม ละลาย พุท ธศัก ราช ๒๔๘๓
ก่อ นการยกเลิก โดยพระราชบัญ ญัต ิน ใี ้ ช้บ ัง คับ อยู่ต ่อ ไปจนกว่า จะเปิ ด
ทำการศาลล้มละลายกลางตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตัง้ ศาลล้มละลาย
และวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย
 
มาตรา ๓๗  ให้รัฐมนตรีว ่า การกระทรวงยุต ิธ รรมรัก ษาการ
ตามพระราชบัญญัตินี ้
 
หมายเหตุ :- เหตุผ ลในการประกาศใช้พ ระราชบัญ ญัต ิฉ บับ นี ้ คือ
เนื่อ งจากบทบัญ ญัต ิแ ห่ง กฎหมายว่า ด้ว ยล้ม ละลายที่ใ ช้บ ัง คับ อยู่ใ น
ปั จจุบันซึ่งกำหนดจำนวนเงินที่เจ้าหนีม
้ ีสิทธิจะฟ้ องลูกหนีใ้ ห้ล้มละลายได้
รวมทัง้ จำนวนเงินที่ต้องวางประกันค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมในขัน
้ ตอน
ต่าง ๆ และราคาของทรัพย์สินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมาแบ่งให้แก่เจ้า
หนี ไ้ ด้ใ ช้บ ัง คับ มาเป็ นเวลานานแล้ว ไม่เ หมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ
และสัง คมปั จจุบ ัน สมควรแก้ไ ขให้เ หมาะสม รวมทัง้ บทบัญ ญัต ิข อง
กฎหมายดังกล่าวในส่วนทีเ่ กีย
่ วกับทรัพย์สน
ิ ซึง่ ได้รบ
ั ยกเว้นไม่ตอ
้ งนำมาแบ่ง
ให้แก่เจ้าหนี้ และมาตรการในการรวบรวมและจำหน่ายทรัพย์สินที่กำหนด
ไว้ยังไม่ครอบคลุมถึงสามีของลูกหนี ้ นอกจากนี ้ บทบัญญัติของกฎหมาย
ว่า ด้ว ยล้ม ละลาย ในส่ว นที่เ กี่ย วกับ การฟื้ นฟูก ิจ การของลูก หนีแ
้ ละ
กระบวนการล้มละลายบางประการยังไม่เอื้ออำนวยต่อการแก้ไขปั ญหา
การดำเนินธุรกิจ จึงสมควรแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว ่าด้วยกระบวนการ
ฟื้ นฟูก ิจ การของลูก หนีใ้ นส่ว นที่เ กี่ย วกับ การลงมติย อมรับ แผนฟื้ นฟู
กิจ การ การใช้ด ุล พิน ิจ ของศาลในการเห็น ชอบด้ว ยแผน อำนาจของผู้
บริห ารแผนเกี่ย วกับ การจัด การทรัพ ย์ส ิน ของล ูก หนี ้ การปรับ ปรุง
บ ท บ ัญ ญ ัต ิเ ก ี่ย ว ก ับ ก า ร เ พ ิก ถ อ น น ิต ิก ร ร ม ท ี่ไ ด ้ก ร ะ ทำ ไ ป แ ล ้ว ใ น
กระบวนการล้ม ละลาย และกระบวนการฟื้ นฟูก ิจ การ นอกจากนัน
้ ได้
แก้ไขในเรื่องลำดับบุริมสิทธิในคดีล้มละลาย โดยกำหนดให้เงินที่ลูกจ้างมี
สิทธิไ ด้รับ เพื่อการงานที่ไ ด้ทำ ให้ล ูก หนีซ
้ ึ่ง เป็ นนายจ้า งมีลำ ดับ บุร ิมสิทธิ
เดียวกันกับเงินค่าภาษีอากร และเนื่องจากมีการจัดตัง้ ศาลล้มละลายเพื่อ
พิจารณาคดีล้มละลายโดยเฉพาะ สมควรยกเลิกบทบัญญัติในกฎหมายว่า
ด้วยล้มละลายให้สอดคล้องกับกฎหมายว่าด้วยการจัดตัง้ ศาลล้มละลาย
และวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย รวมทัง้ เพิ่มบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่ให้
อำนาจในการตรากฎหมายจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญ
บัญญัติรับรองไว้ด้วย  จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
[
พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๔๓ ๑๒๕]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
มาตรา ๒๗๕ ของรัฐ ธรรมนูญ แห่ง ราชอาณาจัก รไทย ประกอบกับ
กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรมกำหนดให้สำนักงาน
ศาลยุติธรรมเป็ นหน่วยงานธุรการอิสระของศาลยุติธรรม แต่มิได้กำ หนด
ให้กรมบังคับคดีเป็ นหน่วยงานธุรการของศาลยุติธรรม กรมบังคับคดีจึงยัง
อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงยุติธรรม   ดังนัน
้ สมควรแก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ ในส่วนที่เกี่ยวกับสถานะ
ของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ดังกล่าว   จึ
งจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
[
พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑๒๖]
 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๑๓  บุคคลธรรมดาซึง่ ศาลได้พพ
ิ ากษาให้ลม
้ ละลายก่อน
วันทีพ
่ ระราชบัญญัตน
ิ ใี้ ช้บังคับและครบระยะเวลาตามที่กำหนดในมาตรา
๘๑/๑ แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ ซึง่ แก้ไขเพิ่ม
เติมโดยพระราชบัญญัตินี ้ ก่อนหรือในวันที่พระราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับให้
ปลดจากล้มละลาย
บุคคลซึ่งศาลพิพากษาให้ล้มละลายก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี ้
ใช้บ ังคับ และยัง ไม่ถ ูก ปลดจากล้มละลายตามวรรคหนึ่ง ให้ป ลดจากล้ม
ละลายตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ ซึง่ แก้ไขเพิ่ม
เติม โดยพระราชบัญ ญัต ิน ี ้ โดยการนับ ระยะเวลาให้น ับ ตัง้ แต่ศ าลได้
พิพากษาให้ล้มละลาย
 
มาตรา ๑๔  บทบัญญัติมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัตินไี ้ ม่
ใช้บังคับแก่บรรดาคดีล้มละลายที่ได้ย่ น
ื ฟ้ องไว้ก ่อนวันที่พระราชบัญญัตินี ้
ใช้บังคับ และให้ใช้บทบัญญัติมาตรา ๑๗๙ แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย
พุทธศักราช ๒๔๘๓ ซึ่งใช้บังคับอยู่ในวันที่มีการฟ้ องคดี บังคับแก่คดีดัง
กล่าว
 
ม าต รา ๑ ๕   ใ ห ้ป ระ ธา นศ าล ฎีก าแ ล ะ ร ัฐ ม น ต ร ีว ่า ก า ร
กระทรวงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี ้
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
บทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยล้มละลายในส่วนที่เกี่ยวกับการกำหนดให้
ลูกหนีพ
้ ้นจากการล้มละลายโดยผลของกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในปั จจุบัน
ยังขาดความชัดเจน ทำให้เกิดปั ญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับผลของการพ้นจาก
การล้มละลาย โดยเฉพาะการจัดการทรัพย์สินของลูกหนี ้ อย่างไรก็ตาม
หลัก การของบทบัญ ญัต ิใ นเรื่อ งนีเ้ ป็ นช่อ งทางหนึ่ง ที่ช ่ว ยให้บ ุค คลล้ม
ละลายที่สุจริตได้มีโอกาสพ้นจากการเป็ นบุคคลล้มละลาย สมควรคงหลัก
การดัง กล่า วไว้ โดยยกเลิก บทบัญ ญัต ิเ ดิม และนำ มากำ หนดเพิ่ม เป็ น
บทบัญญัติเกี่ยวกับการปลดจากล้มละลายโดยผลของกฎหมาย นอกจาก
นี ้ บทบัญญัติที่กำ หนดให้บุคคลล้มละลายอาจร้องขอให้ศาลมีคำสัง่ ปลด
จากล้มละลายได้ซึ่งใช้บงั คับในปั จจุบันนัน
้ ยังขาดความชัดเจนแน่นอนขึน

อยู่กับดุลพินิจของศาลแต่ละกรณี จึงสมควรแก้ไขหลักเกณฑ์ที่ศาลจะสั่ง
ปลดจากล้มละลายให้ชัดเจน เพื่อ เป็ นหลักประกันแก่บุคคลล้มละลายว่า
หากดำเนินการตามที่กฎหมายกำหนดแล้วจะสามารถได้รับการปลดจาก
ล้มละลาย และเพื่อให้บทบัญญัติในส่วนที่เกี่ยวกับค่าธรรมเนียมในคดีล้ม
ละลายที่ใช้บงั คับอยูเ่ หมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปั จจุบน
ั สมควร
ปรับปรุงให้เหมาะสมยิง่ ขึน
้   จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑๒๗] [

 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
มาตรา ๑๕  บรรดาคดีล ้มละลายที่ไ ด้ย่ น
ื ฟ้ องก่อ นวัน ที่พ ระ
ราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับ และยังคงค้างพิจารณาอยู่ในศาลหรืออยู่ในระหว่าง
ปฏิบัติการของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ให้บังคับตามพระราชบัญญัติล้ม
ละลาย พุทธศักราช ๒๔๘๓ ซึ่งใช้อยู่ก่อนวันที่พระราชบัญญัตินใี ้ ช้บังคับ
 
ม าต รา ๑ ๖   ใ ห ้ป ระ ธา นศ าล ฎีก าแ ล ะ ร ัฐ ม น ต ร ีว ่า ก า ร
กระทรวงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี ้
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
กระบวนพิจ ารณาคำ ขอรับ ชำ ระหนีใ้ นคดีล ้ม ละลายที่กำ หนดให้เ จ้า
พนักงานพิทักษ์ทรัพย์เสนอคำขอรับชำระหนีต
้ ่อศาลเพื่อมีคำ สั่งคำขอรับ
ชำระหนีทำ
้ ให้กระบวนพิจารณาคำขอรับชำระหนีม
้ ีหลายขัน
้ ตอน สมควร
ลดขัน
้ ตอนโดยกำหนดให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เป็ นผู้มีอำ นาจในการ
พิจารณาและมีคำสัง่ เกี่ยวกับคำขอรับชำระหนี ้ เพื่อให้การพิจารณาคำขอ
รับชำระหนีม
้ ีความรวดเร็วขึน
้ นอกจากนี ้ สมควรกำหนดรายละเอียดของ
คำขอประนอมหนีก
้ ่อนล้มละลายให้ชัดเจน และกำหนดให้เจ้าหนีท
้ ี่ไม่ได้
ยื่นคำขอรับชำระหนีภ
้ ายในกำหนดเวลาสองเดือนนับแต่วันโฆษณาคำสัง่
พิท ัก ษ์ท รัพ ย์เ ด็ด ขาดสามารถ ยื่น คำ ขอรับ ชำ ระ หนีไ้ ด้ใ นกรณีท ี่ม ี
เหตุส ุด วิส ัย รวมทัง้ ปรับ ปรุง บทกำหนดโทษปรับ ให้เ หมาะสมกับ สภาพ
เศรษฐกิจและสังคมในปั จจุบัน  จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๕๙ ๑๒๘] [

 
มาตรา ๒  พระราชบัญ ญัต ินใี ้ ห้ใ ช้บ ัง คับ ตัง้ แต่ว ัน ถัด จากวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
 
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉ บับ นี ้ คือ โดยที่
กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการฟื้ นฟูกิจการของลูกหนีย
้ ังไม่ครอบคลุมลูก
หนีซ
้ ึ่ง ประกอบธุร กิจ วิส าหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อ ม ที่ม ีท งั ้ บุค คล
ธรรมดา คณะบุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนสามัญ
นิติบค
ุ คล ห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือบริษัทจำกัด ซึ่งมีอยู่เป็ นจำนวนมากใน
ระบบเศรษฐกิจปั จจุบัน และประสบปั ญหาขาดสภาพคล่องทางการเงิน
ชั่วคราว  ดังนัน
้ เพื่อให้ลูกหนีซ
้ ึ่งไม่อยู่ในสถานะที่จะชำระหนีไ้ ด้มีโอกาส
ได้รับการฟื้ นฟูกิจการและไม่ต้องตกเป็ นบุคคลล้มละลายหากมีช ่องทางที่
จะฟื้ นฟูกิจการได้  จึงจำเป็ นต้องตราพระราชบัญญัตินี ้
 
 
 
 
 
 
สัญชัย/ผู้จัดทำ
๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๑
 
วศิน/แก้ไข
๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
 
นุสรา/ปรับปรุง
๒ กันยายน ๒๕๕๘
 
วิศนี/เพิ่มเติม
๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๙
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

[๑]
 ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๗/-/หน้า ๙๕๘/๓๐ ธันวาคม ๒๔๘๓
[๒]
 มาตรา ๖ นิยามคำว่า “บุคคลภายในของลูกหนี”้ เพิม
่ โดยพระราช
บัญญัตล
ิ ม
้ ละลาย (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๓]
 มาตรา ๖ นิยามคำว่า “บุคคลภายในของลูกหนี”
้ (๓) แก้ไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๔๗
[๔]
 มาตรา ๖ นิยามคำว่า “บุคคลล้มละลายทุจริต” แก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๔๗
[๕]
 มาตรา ๙ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๒๖
[๖]
 มาตรา ๙ (๒) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๗]
 มาตรา ๑๐ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๒๖
[๘]
 มาตรา ๑๐ (๒) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๙]
 มาตรา ๑๑ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๔๒
[๑๐]
 มาตรา ๒๑ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๗)
พ.ศ. ๒๕๔๗
[๑๑]
 มาตรา ๓๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๘)
พ.ศ. ๒๕๕๘
[๑๒]
 มาตรา ๓๗ วรรคสอง แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย
(ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๑๓]
 มาตรา ๔๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๘)
พ.ศ. ๒๕๕๘
[๑๔]
 มาตรา ๖๗/๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๗) พ.ศ.
๒๕๔๗
[๑๕]
 มาตรา ๖๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๑๑
[๑๖]
 มาตรา ๖๘ วรรคหนึ่ง แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๑๗]
 มาตรา ๗๑ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๗)
พ.ศ. ๒๕๔๗
[๑๘]
 มาตรา ๗๒ ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๗) พ.ศ.
๒๕๔๗
[๑๙]
 มาตรา ๗๓ ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๗) พ.ศ.
๒๕๔๗
[๒๐]
 มาตรา ๗๔ ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๗) พ.ศ.
๒๕๔๗
[๒๑]
 มาตรา ๗๕ ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๗) พ.ศ.
๒๕๔๗
[๒๒]
 มาตรา ๘๑/๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๗) พ.ศ.
๒๕๔๗
[๒๓]
 มาตรา ๘๑/๒ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๗) พ.ศ.
๒๕๔๗
[๒๔]
 มาตรา ๘๑/๓ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๗) พ.ศ.
๒๕๔๗
[๒๕]
 มาตรา ๘๑/๔ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๗) พ.ศ.
๒๕๔๗
[๒๖]
 หมวด ๓/๑ กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการฟื้ นฟูกิจการของลูกหนี ้
มาตรา ๙๐/๑ ถึงมาตรา ๙๐/๙๐ เพิ่มโดยพระราชบัญ ญัต ิล ้ม ละลาย (ฉบับ ที่ ๔)
พ.ศ. ๒๕๔๑
[๒๗]
 มาตรา ๙๐/๒๖ วรรคสอง แก้ไ ขเพิ่ม เติมโดยพระราชบัญ ญัต ิล ้ม
ละลาย (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๒๘]
 มาตรา ๙๐/๓๑ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับ
ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๒๙]
 มาตรา ๙๐/๔๑ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับ
ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๓๐]
 มาตรา ๙๐/๔๑ ทวิ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๔๒
[๓๑]
 มาตรา ๙๐/๔๒ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับ
ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๓๒]
 มาตรา ๙๐/๔๒ ทวิ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๔๒
[๓๓]
 มาตรา ๙๐/๔๒ ตรี เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๔๒
[๓๔]
 มาตรา ๙๐/๔๖ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับ
ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๓๕]
 มาตรา ๙๐/๔๖ ทวิ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๔๒
[๓๖]
 มาตรา ๙๐/๔๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับ
ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๓๗]
 มาตรา ๙๐/๕๐ วรรคสอง แก้ไ ขเพิม
่ เติม โดยพระราชบัญ ญัตล
ิ ม

ละลาย (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๓๘]
 มาตรา ๙๐/๕๑ วรรคหนึง่ แก้ไขเพิม
่ เติม โดยพระราชบัญ ญัตล
ิ ม

ละลาย (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๓๙]
 มาตรา ๙๐/๕๔ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับ
ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๔๐]
 มาตรา ๙๐/๕๕ วรรคหนึ่ง แก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญ ญัต ิล้ม
ละลาย (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๔๑]
 มาตรา ๙๐/๕๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับ
ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๔๒]
 มาตรา ๙๐/๖๓ วรรคสาม แก้ไ ขเพิม
่ เติม โดยพระราชบัญ ญัตล
ิ ม

ละลาย (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๔๓]
 มาตรา ๙๐/๖๘ วรรคหนึง่ แก้ไ ขเพิม
่ เติม โดยพระราชบัญ ญัตล
ิ ม

ละลาย (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๔๔]
 มาตรา ๙๐/๖๘ วรรคสอง แก้ไ ขเพิม
่ เติม โดยพระราชบัญ ญัตล
ิ ม

ละลาย (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๔๕]
 ส่ว นที่ ๑๒ การอุท ธรณ์ ยกเลิก โดยพระราชบัญ ญัต ิล ้ม ละลาย
(ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๔๗
[๔๖]
 มาตรา ๙๐/๗๙ ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๗)
พ.ศ. ๒๕๔๗
[๔๗]
 หมวด ๓/๒ กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการฟื้ นฟูกิจการของลูกหนีท
้ ี่
เป็ นวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม มาตรา ๙๐/๙๑ ถึงมาตรา ๙๐/๑๒๘ เพิ่ม
โดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙) พ.ศ. ๒๕๕๙
[๔๘]
 มาตรา ๙๐/๙๑ เพิ่ม โดยพระราชบัญ ญัต ิล ้ม ละลาย (ฉบับ ที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๔๙]
 มาตรา ๙๐/๙๒ เพิ่ม โดยพระราชบัญ ญัต ิล ้ม ละลาย (ฉบับ ที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๕๐]
 มาตรา ๙๐/๙๓ เพิ่ม โดยพระราชบัญ ญัต ิล ้ม ละลาย (ฉบับ ที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๕๑]
 มาตรา ๙๐/๙๔ เพิ่ม โดยพระราชบัญ ญัต ิล ้ม ละลาย (ฉบับ ที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๕๒]
 มาตรา ๙๐/๙๕ เพิ่ม โดยพระราชบัญ ญัต ิล ้ม ละลาย (ฉบับ ที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๕๓]
 มาตรา ๙๐/๙๖ เพิ่ม โดยพระราชบัญ ญัต ิล ้ม ละลาย (ฉบับ ที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๕๔]
 มาตรา ๙๐/๙๗ เพิ่ม โดยพระราชบัญ ญัต ิล ้ม ละลาย (ฉบับ ที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๕๕]
 มาตรา ๙๐/๙๘ เพิ่ม โดยพระราชบัญ ญัต ิล ้ม ละลาย (ฉบับ ที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๕๖]
 มาตรา ๙๐/๙๙ เพิ่ม โดยพระราชบัญ ญัต ิล ้ม ละลาย (ฉบับ ที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๕๗]
 มาตรา ๙๐/๑๐๐ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๕๘]
 มาตรา ๙๐/๑๐๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๕๙]
 มาตรา ๙๐/๑๐๒ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๖๐]
 มาตรา ๙๐/๑๐๓ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๖๑]
 มาตรา ๙๐/๑๐๔ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๖๒]
 มาตรา ๙๐/๑๐๕ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๖๓]
 มาตรา ๙๐/๑๐๖ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๖๔]
 มาตรา ๙๐/๑๐๗ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๖๕]
 มาตรา ๙๐/๑๐๘ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๖๖]
 มาตรา ๙๐/๑๐๙ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๖๗]
 มาตรา ๙๐/๑๑๐ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๖๘]
 มาตรา ๙๐/๑๑๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๖๙]
 มาตรา ๙๐/๑๑๒ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๗๐]
 มาตรา ๙๐/๑๑๓ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๗๑]
 มาตรา ๙๐/๑๑๔ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๗๒]
 มาตรา ๙๐/๑๑๕ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๗๓]
 มาตรา ๙๐/๑๑๖ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๗๔]
 มาตรา ๙๐/๑๑๗ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๗๕]
 มาตรา ๙๐/๑๑๘ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๗๖]
 มาตรา ๙๐/๑๑๙ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๗๗]
 มาตรา ๙๐/๑๒๐ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๗๘]
 มาตรา ๙๐/๑๒๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๗๙]
 มาตรา ๙๐/๑๒๒ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๘๐]
 มาตรา ๙๐/๑๒๓ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๘๑]
 มาตรา ๙๐/๑๒๔ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๘๒]
 มาตรา ๙๐/๑๒๕ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๘๓]
 มาตรา ๙๐/๑๒๖ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๘๔]
 มาตรา ๙๐/๑๒๗ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๘๕]
 มาตรา ๙๐/๑๒๘ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๙)
พ.ศ. ๒๕๕๙
[๘๖]
 มาตรา ๙๑ วรรคสอง แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย
(ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๘๗]
 มาตรา ๙๑/๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๘) พ.ศ.
๒๕๕๘
[๘๘]
 มาตรา ๙๔ (๒) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับ
ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๘๙]
 มาตรา ๑๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๙๐]
 มาตรา ๑๐๖ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๙๑]
 มาตรา ๑๐๗ ยกเลิก โดยพระราชบัญ ญัต ิล ้ม ละลาย (ฉบับ ที่ ๘)
พ.ศ. ๒๕๕๘
[๙๒]
 มาตรา ๑๐๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๙๓]
 มาตรา ๑๐๙ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๒) พ.ศ. ๒๕๑๑
[๙๔]
 มาตรา ๑๐๙ (๑) แก้ไ ขเพิ่ม เติม โดยพระราชบัญ ญัต ิล ้ม ละลาย
(ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๙๕]
 มาตรา ๑๑๑ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๒) พ.ศ. ๒๕๑๑
[๙๖]
 มาตรา ๑๑๒ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๒) พ.ศ. ๒๕๑๑
[๙๗]
 มาตรา ๑๑๔ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล ้มละลาย (ฉบับ
ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๙๘]
 มาตรา ๑๑๕ วรรคสอง เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับ
ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๙๙]
 มาตรา ๑๑๖ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล ้มละลาย (ฉบับ
ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๑๐๐]
 มาตรา ๑๑๗ วรรคหนึ่ง เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับ
ที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๑๐๑]
 มาตรา ๑๓๐ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๕) พ.ศ. ๒๕๔๒
[๑๐๒]
 มาตรา ๑๓๐ วรรคหนึง่ (๔) แก้ไขเพิม
่ เติมโดยพระราชบัญญัตล
ิ ม

ละลาย (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๑๐๓]
 มาตรา ๑๓๐ ทวิ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๔๒
[๑๐๔]
 มาตรา ๑๓๙ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๑๐๕]
 มาตรา ๑๔๙ ยกเลิก โดยพระราชบัญ ญัต ิล ้ม ละลาย (ฉบับ ที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๔๒
[๑๐๖]
 มาตรา ๑๕๓ ยกเลิก โดยพระราชบัญ ญัต ิล ้ม ละลาย (ฉบับ ที่ ๕)
พ.ศ. ๒๕๔๒
[๑๐๗]
 มาตรา ๑๖๑ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๑๐๘]
 มาตรา ๑๖๒ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๑๐๙]
 มาตรา ๑๖๓ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๑๑๐]
 มาตรา ๑๖๔ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๑๑๑]
 มาตรา ๑๖๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๑๑๒]
 มาตรา ๑๖๖ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๑๑๓]
 มาตรา ๑๖๗ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๑๑๔]
 มาตรา ๑๖๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๑๑๕]
 มาตรา ๑๖๙ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๑๑๖]
 มาตรา ๑๗๐ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๑๑๗]
 มาตรา ๑๗๑ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๑๑๘]
 มาตรา ๑๗๔ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่
๘) พ.ศ. ๒๕๕๘
[๑๑๙]
 มาตรา ๑๗๙ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับ
ที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๔๗
[๑๒๐]
 ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๘๕/ตอนที่ ๒๘/หน้า ๑๙๑/๒ เมษายน
๒๕๑๑
[๑๒๑]
 ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๐๐/ตอนที่ ๓๗/ฉบับพิเศษ หน้า ๑/๑๖
มีนาคม ๒๕๒๖
[๑๒๒]
 ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๕/ตอนที่ ๑๘ ก/หน้า ๔/๙ เมษายน
๒๕๔๑
[๑๒๓]
 ราชกิจ จานุเ บกษา เล่ม ๑๑๖/ตอนที่ ๒๙ ก/หน้า ๓๑/๒๑
เมษายน ๒๕๔๒
[๑๒๔]
 มาตรา ๓๕ ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่ ๗) พ.ศ.
๒๕๔๗
[๑๒๕]
 ราชกิจ จานุเ บกษา เล่ม ๑๑๗/ตอนที่ ๑๐๓ ก/หน้า ๖/๑๓
พฤศจิกายน ๒๕๔๓
[๑๒๖]
 ร า ช ก ิจ จ า น ุเ บ กษา เ ล ่ม ๑ ๒ ๑ /ตอ นท ี่ ๔ ๔ ก /ห น้า ๑ /๑ ๕
กรกฎาคม ๒๕๔๗
[๑๒๗]
 ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๒/ตอนที่ ๘๐ ก/หน้า ๑/๒๖ สิงหาคม
๒๕๕๘
[๑๒๘]
 ราชกิจ จานุเ บกษา เล่ม ๑๓๓/ตอนที่ ๔๖ ก/หน้า ๒๔/๒๔
พฤษภาคม ๒๕๕๙

You might also like