You are on page 1of 19

การครอบครองปรปั กษ์

ร.ต.อ.เจตนินธ์ จันทรานุกลู

นิตศิ าสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


นิตศิ าสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Master im europäischen und internationalen Wirtschaftsrecht an der Universität Wien
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์
• มาตรา ๑๓๘๒ บุคคลใดครอบครองทรัพย์สนิ ของผูอ้ ?ืนไว้โดยความสงบและโดย
เปิ ดเผยด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ ถ้าเป็ นอสังหาริมทรัพย์ได้ครอบครองติดต่อกันเป็ น
เวลาสิบปี ถ้าเป็ นสังหาริมทรัพย์ได้ครอบครองติดต่อกันเป็ นเวลาห้าปี ไซร้ ท่านว่า
บุคคลนันO ได้กรรมสิทธิQ
• มาตรา ๑๓๘๓ ทรัพย์สนิ อันได้มาโดยการกระทําผิดนันO ท่านว่าผูก้ ระทําผิดหรือผูร้ บั
โอนไม่สจุ ริตจะได้กรรมสิทธิQโดยอายุความก็แต่เมื?อพ้นกําหนดอายุความอาญา หรือ
พ้นเวลาที?กาํ หนดไว้ในมาตราก่อน ถ้ากําหนดไหนยาวกว่า ท่านให้ใช้กาํ หนดนันO
บุคคลใด
• บุคคลธรรมดา
• นิตบิ คุ คล – กระทําได้โดยผ่านผูแ้ ทนของนิตบิ คุ คล ซึง? เป็ นบุคคลธรรมดา
ทําสัญญายกที?ดนิ ให้นิตบิ คุ คลแต่ไม่ได้ทาํ หนังสือและจดดทะเบียนต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที? สัญญาเป็ นโมฆะตาม มาตรา ๕๒๕ แต่เมื?อนิตบิ คุ คลนันO ได้ครองครองที?ดนิ เกินกว่า
๑๐ ปี ย่อมได้กรรมสิทธิSตามมาตรา ๑๓๘๒ ( ฎ.๑๔๗๙ – ๑๔๘๐/๒๕๒๔)
ครอบครองโดยเจตนาเป็ นเจ้าของ
• การครอบครองโดยเจตนาเป็ นเจ้าของ ต้องมีเจตนาเพือ8 จะให้ตนเป็ นเจ้าของกรรมสิทธิ @จริงๆ หากไม่
สามารถพิสจู น์เจตนาได้ ต้องอาศัยพฤติการณ์ต่างๆเพือ8 พิจารณา
• คําพิพากษาฎีกาที8 NONP/PNOR จําเลยปลูกบ้านในที8ดนิ ของโจทก์เพราะเข้าใจว่าเป็ นที8ดนิ ของ
บุตรสาวทีย8 นิ ยอมให้จําเลยอยู่อาศัยแสดงว่าจําเลยเข้าไปครอบครองทีด8 นิ พิพาทเป็ นการชัวคราว 8 โดยมิได้
เจตนาเป็ นเจ้าของ แม้เป็ นการครอบครองติดต่อกันนานเกินกว่า XY ปี กไ็ ม่ได้กรรมสิทธิ @โดยการครอบครอง
ปรปั กษ์
• คําพิพากษาฎีกาที8 PZY[/PNPR การทีบ8 ุคคลเข้าไปถมทีแ8 ละล้อมรัว\ เพื8อแสดงแนวเขตทีแ8 น่ นอนใน
ทีด8 นิ ของบุคคลอื8น แม้บุคคลนัน\ จะมิได้เข้าอยูอ่ าศัยหรือมอบหมายให้ผใู้ ดเข้าอยูแ่ ทนในทีด8 นิ นัน\ ก็ตาม ถือได้
ว่าเป็ นการครอบครองปรปั กษ์ในทีด8 นิ ของบุคคลอืน8 แล้ว
• คําพิพากกษาฎีกาที8 XNOR/PNO^ การทีผ8 รู้ อ้ งเข้าไปขุดหน้าดินขายในปี PNX^-PNX[ และดูดทราย
ขายในปี PNP^ เพียง P ครัง\ โดยไม่ตดิ ต่อกันถือว่าเป็ นการเข้าไปทําประโยชน์ในทีด8 นิ เป็ นครัง\ คราว ยังไม่ได้
แสดงโดยแจ้งชัดว่าเป็ นการใช้สทิ ธิยดึ ถือครอบครองเหนือที8ดนิ พิพาทด้วยเจตนาเป็ นเจ้าของ ผูร้ อ้ งไม่ได้
กรณี ครอบครองโดยเจตนาเป็ นเจ้าของรูปแบบต่างๆ และได้กรรมสิทธB ิ ตามมาตรา CDEF

X. กรณีผรู้ บั โอนทีน8 ิตกิ รรมเป็ นโมฆะ


รับโอนจากเจ้าของทรัพย์แต่นิตกิ รรมเป็ นโมฆะ (มาตรา ๑๕๐(วัตถุประสงค์เป็ นการต้องห้าม
พ้นวิสยั ขัดต่อความสงบเรียบร้อย) ,๑๕๒(ไม่ทาํ ตามแบบที/กฎหมายกําหนด))
คําพิพากษาฎีกาที8 Z[[R/PNO^ โจทก์ทงั \ สองและจําเลยทัง\ สองต่างรับโอนทีด8 นิ มีโฉนดไขว้สบั
กัน และต่างฝ่ ายต่างครอบครองทีด8 นิ ทีต8 นรับโอนมาเกินกว่า XY ปี ดังนี\ ทัง\ สองฝ่ ายจึงต่างได้กรรมสิทธิ @ในทีด8 นิ
ทีไ8 ด้รบั โอนและครอบครองมา แม้จาํ เลยทัง\ สามจะมีช8อื โฉนดทีด8 นิ ทีโ8 จทก์ครอบครองก็จะอ้างเป็ นกรรมสิทธิ @ใน
ทีด8 นิ ทีจ8 ําเลยทัง\ สามมิได้มเี จตนารับโอนไม่ได้ โจทก์ทงั \ สองจึงมีสทิ ธิขอบังคับให้จําเลยทัง\ สามส่งมอบโฉนด
โดยแลกเปลีย8 นกันและจดทะเบียนกรรมสิทธิ @ทีด8 นิ ทัง\ สองแปลงให้ถกู ต้องตามความเป็ นจริงได้
P. กรณีเป็ นผูย้ ดึ ถือแทน โดยผูย้ ดึ ถือแทนบอกกล่าวไปยังเจ้าของว่าไม่มเี จตนายึดถือทรัพย์สนิ แทน
เจ้าของตามมาตรา ๑๓๘๑ เช่นผูเ้ ช่าทรัพย์ บอกกล่าวไปยังเจ้าของทรัพย์วา่ ไม่ตอ้ งการจะเช่าแล้วแต่
ทรัพย์ทเ8ี ช่าเป็ นของตน
๓. หรือรับโอนมาจากผูย้ ดื ถือแทน คือผูร้ บั โอนรับโอนมาโดยสุจริต และมีเจตนาเป็ นเจ้าของ

มาตรา ๑๓๘๑ บุคคลใดยึดถือทรัพย์สนิ อยูใ่ นฐานะเป็ นผูแ้ ทนผูค้ รอบครอง บุคคลนัน\ จะเปลีย8 นลักษณะแห่งการ
ยึดถือได้ ก็แต่โดยบอกกล่าวไปยังผูค้ รอบครองว่าไม่เจตนาจะยึดถือทรัพย์สนิ แทนผูค้ รอบครองต่อไป หรือตนเอง
เป็ นผูค้ รอบครองโดยสุจริต อาศัยอํานาจใหม่อนั ได้จากบุคคลภายนอก

๔. เจ้าของทรัพย์สนิ สละการครอบครองตามมาตรา ๑๓๗๗ แล้วผูย้ ดึ ถึอแทนยังคงครอบครองทรัพย์


อยู่
• ก. ทําสัญญาซือ? บ้านจาก ข. เมื/อ ๑ ม.ค.๖๔ แต่ปรากฏว่าในสัญญาซือ? ขายที/ทาํ เป็ นหนังสือจดทะเบียนกับ
พนักงานเจ้าหน้าที/ ระบุเป็ นบ้านในที/ดนิ แปลงอื/นที/ไม่ใช่แปลงที/จะซือ? ขายจริง แต่ ก.ได้เข้าครอบครองอยูอ่ าศัย
ในบ้านและที/ดนิ ดังกล่าวจนถึง ๒ ม.ค.๗๔ เช่นนี ? ก.ได้กรรมสิทธิ[โดยการครอบครองปรปั กษ์หรือไม่ ?
• ก. เช่าบ้านจาก ข. จะเริม/ ครอบครองปรปั กษ์ได้อย่างไร ?
ทรัพย์สินของผูอ้ ืHน
! เป็ นทรัพย์ทโ.ี ดยธรรมดาแล้วเอกชนมีกรรมสิทธิ =เหนือทรัพย์นัน@ ได้ เช่น รร.นรต.ไม่สามารถครอบครอง
ปรปั กษ์ได้เพราะเป็ นสมบัตขิ องแผ่นดิน และทรัพย์สนิ ของเอกชนนัน@ จะต้องมีกรรมสิทธิ =
คําพิพากษาฎีกาที. PQR/TPQU โจทก์บรรยายฟ้ องว่าเป็ นเจ้าของกรรมสิทธิ =ทีด. นิ พิพาทโดยใส่ช.อื จําเลยที. !
ในโฉนดทีด. นิ แทนแล้วโจทก์ทงั @ สองได้ครอบครองทีด. นิ พิพาทตลอดมาจนได้กรรมสิทธิ =โยยการครอบครองปรปั กษ์ แม้การ
บรรยายฟ้ องและคําขอบังคับของโจทก์ทงั @ สองมุ่งในเรื.องการครอบครองปรปั กษ์ แต่การครอบครองปรปั กษ์ตาม ปพพ.
มาตรา !QRT จะต้องเป็ นการครอบครองทรัพย์ของผูอ้ .นื ศาลไม่อาจพิพากษาให้โจทก์ทงั @ สองได้กรรมสิทธิ =ในทีด. นิ พิพาท
โดยการครอบครองปรปั กษ์ท.ดี นิ ของตนเองได้โจทก์ทงั @ สองจึงไม่มอี ํานาจฟ้ อง ซึ.งข้อนี@เป็ นปั ญหาเกี.ยวกับความสงบ
เรียบร้อย ศาลฎีกายกขึน@ วินิจฉัยเองได้
คํา พิพ ากษาฎีก าที. U__/TPQT เครื.อ งหมายการค้า เป็ น ทรัพ ย์ส ิน ทางปั ญ ญามิใ ช่ อ สัง หาริม ทรัพ ย์ หรือ
สังหาริมทรัพย์ทส.ี ามารถได้กรรมสิทธิ =โดยการครอบครองปรปั กษ์
T แต่ เ จ้า ของรวมคนหนึ. ง ย่ อ มถือ ว่ า ยึ ด ถื อ ทรัพ ย์สิ น แทนเจ้า ของรวมคนอื.น หากเจ้า ของรวมจะเข้า
ครอบครองปรปั กษ์ จะต้องบอกแก่เจ้าของรวมคนอืน. ว่าทรัพย์สนิ เป็ นของตนแต่เพียงผูเ้ ดียว
โดยความสงบและเปิ ดเผย
• มาตรา ๑๓๗๗ ผูค้ รอบครองนัน? ท่านให้สนั นิษฐานไว้ก่อนว่าครอบครองโดยสุจริต โดยความสงบและโดย
เปิ ดเผย ความสงบ หมายความว่าไม่ได้ถกู กําจัดให้ออกไป หรือถูกฟ้องร้อง เพียงแต่โต้เถียงกันยังไม่หมายความ
ถึงไม่สงบ (คําพิพากษาฎีกาที/ ๗๗๒/๒๕๐๕)
คําพิพากษาฎีกาที8 XN^[^/PNN^ ป.มารดาผูค้ ดั ค้านซึง8 เป็ นเจ้าของทีด8 นิ พิพาทคนก่อนทําหนังสือ
ร้องเรียนถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเกีย8 วกับทีด8 นิ พิพาทเป็ นเพียงการอ้างความเป็ นเจ้าของทีด8 นิ
ของ ป. โดยผูร้ อ้ งก็ยงั ครอบครองทีด8 นิ พิพาทอยู่หาถูกกําจัดให้ออกไปไม่ ยังถือไม่ได้ว่าการครอบครองทีด8 นิ
พิพาทของผูร้ อ้ งเป็ นการครอบครองโดยความไม่สงบตาม ปพพ. มาตรา XOqP
เปิ ดเผย คือไม่มกี ารปิ ดบังอําพรางหรือซ่อนเร้น การแอบใช้ การครอบครองทรัพย์ผดิ กฎหมาย บุกรุกทีด8 นิ
จนเกิดการทะเลาะวิวาทไม่ใช่การครอบครองโดยสงบและเปิ ดเผย

คําพิพากษาฎีกาที8 NPOq/PNZ^ จําเลยสร้างฐานรากของโรงเรือนซึ8งเป็ นส่วนทีฝ8 ั ง8 อยู่ใต้ดนิ รุกลํ\าเข้าไปในทีด8 นิ


ของโจทก์โดยเจตนาเพื8อซ่อนเร้นปกปิ ดการกระทําทีไ8 ม่ชอบของตน จึงไม่อาจถือได้ว่าจําเลยครอบครองทีด8 นิ
ส่วนทีร8 ุกลํ\าของโจทก์โดยเปิ ดเผยตาม ปพพ. มาตรา XOqP ประกอบมาตรา XZYX (เรื8องถาระจํายอม) แม้จะมี
การครอบครองมานานเท่าใด จําเลยก็ไม่มสี ทิ ธิในภาระจํายอมดังกล่าว
ระยะเวลา
• ๑๐ ปี สําหรับอสังหาริมทรัพย์
• ๕ ปี สาํ หรับสังหาริมทรัพย์
• ตามกําหนดอายุความอาญา สําหรับทรัพย์ท/ีได้มาจากการกระทําผิด ตามมาตรา ๑๓๘๓
มาตรา ๑๓๘๓ ทรัพย์สนิ อันได้มาโดยการกระทําผิดนัน? ท่านว่าผูก้ ระทําผิดหรือผูร้ บั โอนไม่สจุ ริตจะได้
กรรมสิทธิ[โดยอายุความก็แต่เมื/อพ้นกําหนดอายุความอาญา หรือพ้นเวลาที/กาํ หนดไว้ในมาตราก่อน ถ้า
กําหนดไหนยาวกว่า ท่านให้ใช้กาํ หนดนัน?
ระยะเวลาการครอบครองปรปักษ์สะดุดหยุดลง
• มาตรา ^_`a ถ้าครอบครองขาดยึดถือทรัพย์สนิ โดยไม่สมัครและได้คืนภายในเวลาปี หนึง?
นับตังO แต่วนั ขาดยึดถือหรือได้คืนโดยฟ้องคดีภายในกําหนดนันO ไซร้ ท่านมิให้ถือว่าครอบครอง
สะดุดหยุดลง
• มาตรา ^_ff วรรคแรก ถ้าผูค้ รอบครองสละเจตนาครอบครองหรือไม่ยดึ ถือทรัพย์สนิ ต่อไปไซร้
การครอบครองย่อมสุดสินO ลง
วรรคสอง ถ้าเหตุอนั มีสภาพเป็ นเหตุช? วั คราวมีมาขัดขวางมิให้ผคู้ รอบครองยึดถือทรัพย์สนิ ไซร้
ท่านว่าการครอบครองไม่สดุ สินO ลง
ขาดการยึดถือโดยไม่สมัครใจ V. มีเหตุชวัH คราว
• แย่งการครอบครอง และฟ้องหรือได้คืนภายใน ๑ ปี ?
• ไปบวชเป็ นพระภิกษุ ๑ ปี ?
• รับโทษจําคุก ๕ ปี ?
ระยะเวลาการครอบครองปรปั กษ์สะดุดหยุดลง (ต่อ)
• เปลี/ยนตัวเจ้าของทรัพย์ เป็ นบุคคลภายนอกผูไ้ ด้สทิ ธิมาโดยเสียค่าตอบแทน และได้จดทะเบียนสิทธิมาโดย
สุจริต
• มาตรา ๑๒๙๙ วรรคสอง ถ้ามีผไู้ ด้มาซึง/ อสังหาริมทรัพย์หรือทรัพย์สทิ ธิอนั เกี/ยวกับอสังหาริมทรัพย์โดยทาง
อื/นนอกจากนิตกิ รรม สิทธิของผูไ้ ด้มานัน? ถ้ายังมิได้จดทะเบียนไซร้ ท่านว่าจะมีการเปลี/ยนแปลงการ
ทะเบียนไม่ได้ และสิทธิอันยังมิได้จดทะเบียนนั3น มิให้ยกขึน3 เป็ นข้อต่อสู้บุคคลภายนอกผู้ได้สทิ ธิมา
โดยเสียค่าตอบแทนและโดยสุจริต และได้จดทะเบียนสิทธิโดยสุจริตแล้ว
คําพิพากษาฎีกาที8 ^XZ[/PNNZ แม้จําเลยจะได้ครอบครองที8ดนิ พิพาทตัง\ แต่วนั ที8จําเลยซื\อโฉนดที8ดนิ เลขที8
OX^P เมื8อวันที8 OY มีนาคม PNOY เป็ นต้นมาก็ตาม แต่เมื8อวันที8 P[ ธันวาคม PNOO บริษทั ค. ซื\อทีด8 นิ โฉนด
เลขที8 OPP^ จากเจ้าของเดิมโดยจดทะเบียนซือ\ ขายและเสียค่าตอบแทนโดยสุจริต จําเลยจึงไม่อาจอ้างสิทธิการ
ครอบครองปรปั กษ์ทด8ี นิ พิพาทบางส่วนของโฉนดเลขที8 OPP^ ในช่วงระยะเวลาก่อนหน้านัน\ ขึน\ อ้างยันต่อบริษทั
ค. ได้ ทัง\ นี\เป็ นไปตาม ปพพ. มาตรา XPRR วรรคสอง การนับระยะเวลาครอบครองปรปั กษ์ของจําเลยจึงต้อง
เริม8 นับตัง\ แต่วนั ที8 P[ ธันวาคม PNOO เป็ นต้นมา เมื8อนับถึงวันทีโ8 จทก์ฟ้องคดีน\ีวนั ที8 OX ตุลาคม PNZO ยังไม่
ครบระยะเวลา XY ปี จําเลยจึงยังไม่ได้กรรมสิทธิ @ในทีด8 นิ พิพาทโดยการครอบครองปรปั กษ์
• ข. เข้าครอบครองปรปั กษ์ท?ีดินของ ก. เมื?อ ๑ ม.ค.๖๔ ต่อมา ๑ ม.ค.๖๓ ก. ขายที?ดินให้ ค.
โดยที? ค. รูอ้ ยูแ่ ล้วว่า ข. ครอบครองปรปั กษ์อยู่ ต่อมา ค. ยกที?ดนิ ให้แก่ ง.โดยสเน่หา เมื?อ ๑
ม.ค.๖๕ และต่อมาเมื?อ ๑ ม.ค.๗๕ ง. ได้ขายที?ดนิ ให้ ฉ. โดยสุจริต และได้จดทะเบียนโดย
สุจริต เช่นนี O ข. จะได้กรรมสิทธิSท?ีดนิ โดยการครอบครองปรปั กษ์เมื?อใด ?
ผลของการโอนการครอบครอง
• มาตรา hijk ถ้าโอนการครอบครองแก่กนั ผูร้ บั โอนจะนับเวลาซึง/ ผูโ้ อนครอบครองอยูก่ ่อนนัน? รวมเข้ากับ
เวลาครอบครองของตนก็ได้ ถ้าผูร้ บั โอนนับรวมเช่นนัน? และถ้ามีขอ้ บกพร่องในระหว่างครอบครองของผูโ้ อน
ไซร้ ท่านว่าข้อบกพร่องนัน? ยกขึน? เป็ นข้อต่อสูผ้ รู้ บั โอนได้
ข้อสอบเนติ ฯ สมัยทีH ๖๕ ปี ๒๕๕๕
นายเอกเข้าครอบครองทําประโยชน์ท/ีดนิ พิพาทซึง/ เป็ นที/ดนิ มีโฉนดของนายแดงอย่างเป็ นเจ้าของมาตัง? แต่
เม.ย.๔๕ โดยไม่มีผใู้ ดโต้แย้ง ต่อมาต้นปี ๕๐ นายเอกสุขภาพไม่ดีจงึ โอนการครอบครองให้นายโทบุตรชายเข้า
ครอบครองทําประโยชน์โดยไม่มีใครโต้แย้ง ต่อมานายแดงถึงแก่ความตายนายดําทายาทนายแดงได้จด
ทะเบียนรับโอนมรดกที/ดนิ พิพาทนีเ? มื/อกลางปี ๕๕ บัดนีน? ายดําต้องการเข้าทําประโยชน์ในที/ดนิ แต่นายโทไม่
ยอมและอ้างว่าตนได้กรรมสิทธิ[จากการครอบครองปรปั กษ์ นายดําจึงฟ้องขับไล่นายโทโดยอ้างว่านายโท
ครอบครองที/ดนิ ไม่ครบ ๑๐ ปี และเมื/อต้นปี ๕๔ เกิดอุทกภัย เป็ นเหตุให้นายโทต้องอพยพออกจากที/ดนิ เป็ น
เวลาครึง/ ปี และกลับเข้าครอบครองทําประโยชน์ได้เมื/อ ธ.ค.๕๔ นายโทจึงยังไม่ได้กรรมสิทธิ[จากการ
ครอบครองปรปั กษ์ อย่างไรก็ตามเมื/อนายโทยังไม่จดทะเบียนกรรมสิทธิ[ นายโทย่อมไม่อาจยกการได้มา
ดังกล่าวขึน? เป็ นข้อต่อสูน้ ายดําซึง/ เป็ นบุคคงภายนอกได้ ให้วินิจฉัยว่านายโทได้กรรมสิทธิ[ท/ีดนิ พิพาทจากการ
ครอบครองปรปั กษ์หรือไม่ และจะยกการได้มาดังกล่าวต่อสูน้ ายดําได้หรือไม่
จบ
Email : jadejantara@gmail.com

You might also like