You are on page 1of 7

สิทธิยึดหน่วง

 ความหมาย

สิทธิที่ผู้ครอบครองทรัพย์สินของผู้อ่ น
ื และมีหนีอ
้ ันเป็ นคุณประโยชน์
แก่ตนเกี่ยวด้วยทรัพย์สินซึ่งครองนัน
้ ในอันที่จะยึดทรัพย์สินนัน
้ ไว้จนกว่า
จะได้รับชำระหนี ้

 สิทธิยึดหน่วงต่างจากจำนำจำนองอย่างไร

สิทธิยึดหน่วงกล่าว คือ เจ้าหนีม


้ ีสิทธิครอบครองทรัพย์สินของผู้อ่ น

คือลูกหนีท
้ ี่ไม่มีชำระหนีข
้ องตน จะยึดทรัพย์นน
ั ้ จนกว่าลูกหนีจ
้ ะมาชำระ
หนีข
้ องตนแล้วคืนทรัพย์นน
ั ้ ให้แต่เจ้าหนีไ้ ม่สามารถนำทรัพย์สินของลูกหนี ้
ไปขายทอดตลาดเพื่อชำระหนีไ้ ห้แก่ตนได้

จำนำจำนองกล่าว คือ การที่ลูกหนีเ้ อาทรัพย์ของตนไปให้แก่ผู้รับ


จำนำหรือจำนองเพื่อเป็ นประกันการชำระหนี ้ โดยไม่ต้องส่งมอบ
ทรัพย์สินนัน
้ ให้แก่ผู้รับจำนองแต่ในกรณนีล
้ ูกหนีถ
้ ึงเวลาชำระหนีแ
้ ต่ไม่มา
ชำระเจ้าหนีม
้ ีสิทธิที่จะนำทรัพย์สินดังกล่าวไปขายทอดตลาดเพื่อชำระหนี ้
ของตนได้

 การที่เจ้าหนีจ้ะมีสิทธิยึดหน่วงได้นน
ั ้ ต้องประกอบ
ด้วยหลักเกณฑ์อะไรบ้าง

หลักเกณฑ์ในการใช้สิทธิยึดหน่วงมีดังนีค
้ ือ

1) เจ้าหนีค
้ รอบครองทรัพย์สินของผู้อ่ น

2) ได้การครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย
3) มีหนีเ้ ป็ นคุณเกี่ยวด้วยทรัพย์สินที่ครอง

3.1 ต้องมีความผูกพันทางหนีอ
้ ยู่

3.2 เป็ นหนีท


้ ี่เกี่ยวกับทรัพย์ที่ครองนัน

4) หนีน
้ น
ั ้ ต้องถึงกำหนดชำระ

 ข้อยกเว้นที่ไม่ทำให้ไม่มสิทธิยึดหน่วง มาตรา 242

ข้อยกเว้นที่ทำให้ไม่เกิดสิทธิยึดหน่วง

ป.พ.พ. มาตรา 242 " สิทธิยึดหน่วงอันใด ถ้าไม่สมกับลักษณะที่เจ้า


หนีร้ ับภาระในมูลหนีก
้ ็ดี ไม่สมกับคำสั่ง อันลูกหนีไ้ ด้ให้ไว้ก่อนหรือให้ใน
เวลาที่ส่งมอบทรัพย์สินนัน
้ ก็ดี หรือเป็ นการขัดกับความสงบเรียบร้อยของ
ประชาชนก็ดี สิทธิยึดหน่วงเช่นนัน
้ ท่านให้ถือว่าหามีไม่เลย "

เหตุแห่งข้อยกเว้นที่ทำให้ไม่เกิดสิทธิยึดหน่วงตามที่ได้บัญญัติใน
มาตรา 242 คือ

(1) สิทธิยึดหน่วงที่ไม่สมกับลักษณะที่เจ้าหนีร้ ับภาระในมูลหนี ้

(2)สิทธิยึดหน่วงที่ไม่สมกับคำสั่งอันลูกหนีไ้ ด้ให้ไว้ก่อนหรือในเวลาที่

ส่งมอบทรัพย์สินนัน

(3) สิทธิยึดหน่วงที่ขัดกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน

 ผลของสิทธิยึดหน่วง

1. เจ้าหนีส
้ ามารถยึดหน่วงทรัพย์ของลูกหนีห
้ รือบุคคลอื่นไว้ได้
จนกว่าจะได้รับชำระหนี ้

2. เจ้าหนีต
้ ้องดูแลทรัพย์ที่ยึดหน่วงตามฐานะของตน ไม่ต้องใช้
มาตรฐานของวิญญูชน

3. เจ้าหนีจ
้ ะเอาทรัพย์ที่ยึดหน่วงไปใช้ ไปให้เช่า หรือไปทำหลัก
ประกันโดยลูกหนีไ้ ม่ยินยอมไม่ได้

4. เจ้าหนีม
้ ีสิทธิเอาดอกผลที่ได้จากทรัพย์ที่ยึดหน่วงมาจัดสรรชำระ
ดอกเบีย
้ ก่อน ถ้ายังมีเหลือจึงเอามาชำระต้นเงิน

5. เจ้าหนีม
้ ีสิทธิเรียกค่าใช้จ่ายที่จำเป็ นเกี่ยวกับทรัพย์ที่ยึดหน่วง

6. การใช้สิทธิยึดหน่วงไม่ทำให้อายุความในมูลหนีท
้ ี่ยึดหน่วงนัน

สะดุดหยุดลง

 ความระงับแห่งสิทธิยึดหน่วง

1.เจ้าหนีฝ
้ ่ าฝื นหน้าที่ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 246

การฝ่ าฝื นหน้าที่ของเจ้าหนีม


้ ิได้ทำให้สิทธิยึดหน่วงระงับไปทันที
เพียงแต่เป็ นเหตุให้เกิดสิทะิแก่ลก
ู หนีท
้ ี่จะเรียกร้องให้ระงับสิทธิยึดหน่วง
นัน
้ สียโดยเรียกทรัพย์คืน แต่ลูกหนีต
้ ้องใช้สิทธิทางศาลเท่านัน

2.ลูกหนีห
้ าประกันมาให้ตามสมควร
ปพพ. มาตรา 249 ลูกหนี ้ จะเรียกร้อง ให้ระงับ สิทธิยึดหน่วง ด้วยหา
ประกัน ให้ไว้ตามสมควร ก็ได้

3.การครองทรัพย์สูญสิน
้ ไป ปพพ. มาตรา 250

การครอง ทรัพย์สิน สูญสิน


้ ไป สิทธิยึดหน่วง ก็เป็ นอัน ระงับสิน
้ ไป
ด้วย แต่ ความที่กล่าวนี ้ ท่านมิให้ใช้บังคับแก่ กรณีที่ ทรัพย์สิน อันยึด
หน่วงไว้นน
ั ้ ได้ให้เช่าไป หรือ จำนำไว้ ด้วยความยินยอม ของลูกหนี ้

4.การระงับโดยเหตุอ่ น

เช่น ทรัพย์ที่ยึดไว้กลายเป็ นของผู้ยึดหน่วงเอง, ถ้าทรัพย์ที่ยึดหน่วงไว้ถูก


ทำลายสลายลง

1.นายหนึ่งเป็ นช่างซ่อมรถกำลังซ่อมรถให้นายสองนายหนึ่งได้ซ่อม
เครื่องราคาซ่อมทัง้ หมดจำนานเงินสามพันบาท แต่นายสองไม่มีเงิน
เลยให้นายสองชำระหนีว
้ ันที่10 มกรา 2560 พอถึงวันชำระหนีไ้ ด้ นาย
สองยังไม่มีเงินมาใช้ค่ารถอีก นายหนึ่งจึงยึดรถไว้เพื่อที่จะรอให้นาย
สองมาชำระหนี ้ ต่อมาทัง้ สองคนได้ตกลงกัน ว่าจะแบ่งจ่ายเป็ นงวด 3
งวด งวดละ 1000 บาทนายหนึ่งก็ตกลง หลังจากนัน
้ นายสองจ่าย
ไป 2 งวด นายสองได้มาขอใช้รถ แต่นายหนึ่งอ้างว่าเอารถไม่ได้ ต้อง
จ่ายไห้ครบก่อนจึงจะได้รถคืน

ดังนี ้ นายสองจะสามารถขอให้นายหนึ่งคืนรถก่อนได้หรือไหม

ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพานิชย์วางหลักไว้ว่า
มาตรา 241 วรรค 1 ผู้ใดเป็ นผู้ครองทรัพย์สินของผู้อ่ น
ื และมีหนีอ
้ ัน
เป็ นคุณประโยชน์แก่ตนเกี่ยวด้วยทรัพย์สินซึ่งครองนัน
้ ไซร้ ท่านว่าผู้นน
ั ้ จะ
ยึดหน่วงทรัพย์สินนัน
้ ไว้จนกว่าจะได้ชำระหนีก
้ ็ได้ แต่ความที่กล่าวนีท
้ ่านมิ
ให้ใช้บังคับ เมื่อหนีน
้ น
ั ้ ยังไม่ถึงกำหนด

มาตรา 244 ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วงจะใช้สิทธิของตนแก่ทรัพย์สิน


ทัง้ หมดที่ยึดหน่วงไว้นน
ั ้ จนกว่าจะชำระหนีส
้ น
ิ ้ เชิงก็ได้

กรณีตามปั ญหาพิเคราะห์ได้ว่าการที่นายหนึ่งเป็ นช่างทำรถกำลัง


ซ่อมรถให้นายสองนายหนึ่งได้ซ่อมเครื่องราคาซ่อมทัง้ หมดจำนานเงินสาม
พันบาทพอถึงกำหนดชำระนายสองไม่มีเงินเลยซึ่งถือได้ว่าการที่นายหนึ่ง
นัน
้ ครอบครองรถของนายสองเพราะนายสองนัน
้ ไม่มีเงินมาชำระค่าซ่อม
รถนายหนึ่งเลยยึดรถซึ่งเป็ นนัน
้ เป็ นคุณประโยชน์แก่นายสองด้วยท่านว่า
นายหนึ่งสามารถยึดหน่วงทรัพย์ซึ่งเป็ นรถดังกล่าวไว้จนกว่านายสองจะมา
ชำระหนีไ้ ด้ตามป.พ.พ.ม.241 วรรค 1

กรณีต่อมาต่อมาทัง้ สองคนได้ตกลงกัน ว่าจะแบ่งจ่ายเป็ นงวด


3 งวด งวดละ 3000 บาทนายหนึ่งก็ตกลง หลังจากนัน
้ นายสองจ่าย
ไป 2 งวด นายสองได้มาขอใช้รถ แต่นายหนึ่งอ้างว่าเอารถไม่ได้ ต้องจ่าย
ไห้ครบก่อนจึงจะได้รถคืนซึ่งถือได้ว่าการอ้างของหนึ่งนัน
้ สามารถอ้างได้
เพราะว่านายหนึ่งสามารถยึดหน่วงแก่ทรัพย์สินรถของนายสองจนกล่าว
จะชำระสินเชิงกล่าวคือไม่สามารถนำรถนัน
้ ไปใช้ก่อนได้เพราะยังเหลือหนี ้
อีก 1 งาดคือจำนวนเงิน 1000 บาท ที่ต้องจ่ายนายหนึ่งสามารถยึดไปได้
ตลอดจนกว่านายสองจะมาชำระหนีห
้ มดตามป.พ.พ.ม.244
ดังนัน
้ นายสองไม่สามารถเอารถดังกล่าวนัน
้ ก่อนได้ตาม
ป.พ.พ.ม.241 ประกอบม.244

2.เก่งเป็ นตำรวจซึ่งนำรถตำรวจมาซ่อมเนื่องจากขับรถไปชนผู้ร้ายใน
คดียาเสพติดมาให้ซ่อมใจเป็ นผู้ซอ
่ มรถโดยกำหนดชำระเงินในวันที่20
มีนาคม 2564 พอถึงเวลาชำระ เก่งไม่มาชำระเงิน แต่ใจเห็นแล้วว่า
เก่งไม่มาชำระจึงยึดรถตำรวจนัน
้ ไว้ก่อนเพื่อรอให้เก่งมาชำระ

ดังนี ้ ใจสามารถยึดรถตำรวจดังกล่าวเพื่อให้เก่งชำระหนีไ้ ด้หรือ


ไม่

ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพานิชย์วางหลักไว้ว่า

มาตรา 241 วรรค 1 ผู้ใดเป็ นผู้ครองทรัพย์สินของผู้อ่ น


ื และมีหนีอ
้ ัน
เป็ นคุณประโยชน์แก่ตนเกี่ยวด้วยทรัพย์สินซึ่งครองนัน
้ ไซร้ ท่านว่าผู้นน
ั ้ จะ
ยึดหน่วงทรัพย์สินนัน
้ ไว้จนกว่าจะได้ชำระหนีก
้ ็ได้ แต่ความที่กล่าวนีท
้ ่านมิ
ให้ใช้บังคับ เมื่อหนีน
้ น
ั ้ ยังไม่ถึงกำหนด

มาตรา 242 สิทธิยึดหน่วงอันใด ถ้าไม่สมกับลักษณะที่เจ้าหนีร้ ับ


ภาระในมูลหนีก
้ ็ดี ไม่ สมกับค าสัง่ อันลูกหนีไ้ ด้ให้ไว้ก่อน หรือให้ในเวลาที่
ส่งมอบทรัพย์สินนัน
้ ก็ดี หรือเป็ นการขัดกับความสงบ เรียบร้อยของ
ประชาชนก็ดี สิทธิยึดหน่วงเช่นนัน
้ ท่านให้ถือว่าหามีไม่เลย

กรณีตามปั ญหาพิเคราะห์ได้ว่าเก่งเป็ นตำรวจซึ่งนำรถตำรวจมาซ่อม


เนื่องจากขับรถไปชนผู้ร้ายในคดียาเสพติดมาให้ซ่อมใจเป็ นผู้ซ่อมรถโดย
กำหนดชำระเงินในวันที่20 มีนาคม 2564 พอถึงเวลาชำระ เก่งไม่มาชำระ
เงิน แต่ใจเห็นแล้วว่า เก่งไม่มาชำระจึงยึดรถตำรวจนัน
้ ไว้ก่อนเพื่อรอให้
เก่งมาชำระซึ่งถือได้ว่าใจผู้ซ่อมรถสามารถครอบครองทรัพย์สินของเก่งคือ
รถตำรวจนัน
้ ได้เพราะเก่งไม่ชำระหนี ้ ใจจึงยึดหน่วงรถตำรวจนัน
้ ไว้ได้
จนกว่า เก่งจะมาชำระหนีต
้ ามป.พ.พ.ม.241 วรรค 1 แต่ทว่ารถตำรวจดัง
กล่าวเป็ นรถของสถานีตำรวจการยึดถือดังกล่าวนัน
้ เป็ นการขัดต่อความ
สงบเรียบร้อยของประชนถือได้ว่าใจไม่สามารถยึดหน่วงรถดังกล่าวนัน
้ ได้
ตามป.พ.พ.ม.242

ดังนัน
้ ใจไม่สามารถยึดหน่วงรถดังกล่าวนัน
้ ได้
ตามป.พ.พ.ม.241 วรรค 1 ประกอบม.242

You might also like