You are on page 1of 11

ตอบคำถามต้นคาบ

- กรณีการแต่งงานตามมาตรา 1448 ต้องตาม 1454 และ 1436 ด้วย


มัย
้ ? = ถ้าในเรื่องของบรรลุนิติภาวะ 20 + 1448 เท่านัน

- ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์ = หมายถึงแค่บิดามารดาหรือไม่?
รวมถึงผู้ปกครองด้วย มาตรา 1570 1571 1572 ทำมาใช้ได้
- กรณีจำหน่ายทรัพย์สิน ถ้าผู้เยาว์นำเงินไปใช้นอกขอบเขต? =
เข้าไปสู่หลักเดิมตามมาตรา 21 คือไม่ได้รับความยินยอม เป็ น
โมฆียะ
- ผู้เยาว์ทำละเมิดได้
- ถ้าบิดามารดาสมรสกัน บุตรเป็ นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของทัง้ คู่
การที่บิดามารดาหย่ากัน ยังมีอำนาจปกครองทัง้ คู่

ผู้แทนโดยชอบธรรมทำแทนผู้เยาว์
- อำนาจในการจัดการทรัพย์สิน 1571
การจัดการทรัพย์สินที่ต้องขออนุญาตศาลก่อน
เป็ นนิติกรรมที่มีความสำคัญ อาจจะเสี่ยงต่อทรัพย์สินของผู้เยาว์ได้
จึงต้องให้ศาลมาพิจารณาด้วย ซึ่งศาลอาจพิจารณาทัง้ อนุญาตและไม่
อนุญาตได้
ถ้าศาลไม่อนุญาต?
ศาลจะมองถึงประโยชน์ของผู้เยาว์ก่อน เช่น
ฎ 2700/2527 ไม่อนุญาตให้ขายทรัพย์ เพราะมองว่าถ้าให้เป็ นของผู้เยาว์
ต่อไป จะเป็ นประโยชน์ของผู้เยาว์มากกว่า และผู้เยาว์ก็ยังไม่ได้ขัดสน
และไม่ได้ต้องการทรัพย์สินมาเลีย
้ ง ณ ตอนนัน

มาตรา 1574
(1)ขาย แลกเปลี่ยน ขายฝาก ให้เช่าซื้อ จำนอง ปลดจำนองหรือโอน
สิทธิจำนอง ซึง่ อสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ที่อาจจำนองได้

แต่ก่อนจำนองรถยนต์ไม่ได้ แต่ปัจจุบันจดจำนองรถยนต์ได้ ถ้า


จำนำคือเราต้องเอารถไปให้เค้า แต่ถ้าจดจำนองเรายังเอารถมา
ใช้ได้

กฎหมายมองว่าทรัพย์พวกนีเ้ ป็ นทรัพย์ที่มีมูลค่า ถ้าเกิดว่าผู้ใช้


อำนาจปกครองเอาอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ที่จำนองได้ที่
เป็ นของผู้เยาว์ไปทำนิติกรรมต่างๆ อาจทำให้เกิดความเสี่ยงได้ เช่น
เอาไปจำนองอาจโดนยึดได้

ข้อสังเกต การซื้อ ไม่ได้อยู่ในอนุมาตรานี ้ เว้นแต่จะซื้อเพื่อ


ลงทุน(อยู่ในอนุมาตราอื่น) = การซื้อไม่ต้องขออำนาจศาล

(2)กระทำให้สน
ิ ้ สุดลงทัง้ หมดหรือบางส่วนซึ่งทรัพยสิทธิของผู้เยาว์อัน
เกี่ยวกัยอสังหาริมทรัพย์
คือ สิทธิที่อยู่เหนือตัวทรัพย์ เช่น ผู้เยาว์มีสิทธิอาศัยอยู่ในบ้าน 5 ปี
แต่ผู้ใช้อำนาจปกครองจะลดเป็ น 3 ปี ก็ต้องขออนุญาตศาล
(3)ก่อตัง้ ภาระจำยอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพื้นดิน สิทธิเก็บกิน ภาระ
ติดพันในอสังหาริมทรัพย์ หรือทรัพยสิทธิอ่ น
ื ใดในอสังหาริมทรัพย์

เช่น ผูเ้ ยาว์มีที่ดิน 1 แปลง จะให้คนอื่นมามีสิทธิเก็บกิน มาทำทาง


ผ่าน หรือมาอยู่อาศัย ต้องขออนุญาตจากศาล
(4)จำหน่ายไปทัง้ หมดหรือบางส่วนซึ่งสิทธิเรียกร้องที่จะให้ได้มาซึ่งอสัง
หาหรือสังหาจำนองได้หรือสิทธิเรียกร้องที่จะให้ทรัพย์สินเช่นว่านัน

ของผู้เยาว์ปลอดจากทรัพยสิทธิที่มีอยู่เหนือทรัพย์สินนัน

เช่น ผูเ้ ยาว์มีสิทธิที่จะเก็บกินในที่ดิน ในอีก 5 ปี ข้างหน้าตามที่ตกลง


กันไว้ ถ้าผู้เยาว์ต้องการสละให้คนอื่นก็ต้องขออนุญาตทรัพย์

อนุ 1,4 พูดถึงสังหาริมทรัพย์ที่จำนองได้ด้วย แต่ อนุ 2,3 พูดถึงแค่


อสังหาริมทรัพย์

(5)ให้เข่าอสังหาริมทรัพย์เกิน 3 ปี
ถ้าให้เช่าเกิน 3 ปี ? = กฎหมายไม่ได้กำหนดผลไว้เลย
ก็เลยมีคำพิพากษา
2170/2516 = มีผลผูกพันผู้เยาว์เพียง 3 ปี
พรบ. ควบคุมการเช่านา เป็ นบทบัญญัติเฉพาะ เป็ นข้อยกเว้นของ
มาตรา 1574 = แม้เจ้าของนาจะเป็ นผูเ้ ยาว์ ผู้ใช้ปกครองก็นำออก
ให้เช่าได้เลย 6 ปี
พรบ. ควยคุมการเช่านา ปั จจุบันไม่มีแล้ว แต่เป็ น พรบ.การเช่าที่ดิน
ทางเกษตรกรรม แทน

(6)ก่อข้อผูกพันใด ๆ ที่มุ่งให้เกิดผลตาม 1,2,3


เช่น สัญญาจะซื้อจะขาย

(7)ให้กู้ยืมเงิน
ไม่ว่าจะให้กู้เท่าไหร่ก็ต้องขออนุญาตศาล กฎหมายกลัวผู้เยาว์ไม่
ได้รับเงินคืน
ทัง้ นี ้ ถ้าเกิดไปกู้ยืมเงินมา? ทำได้ กฎหมายไม่ได้ห้าม ไม่ต้องขอ
อนุญาตศาล
927/2485, 553/2518 เป็ นการไปกู้ กฎหมายไม่ได้ห้าม บุตมีความ
ผูกพันในการกู้นน
ั ้ ด้วย

(8)ให้โดยเสน่หา เว้นแต่จะเอาเงินได้ของผู้เยาว์ให้แทนผู้เยาว์เพื่อการ
กุศลสาธารณะ เพื่อการสังคม หรือตามหน้าที่ธรรมจรรยา ทัง้ นี ้ พอ
สมควรแก่ฐานานุรูปของผู้เยาว์

เอาทรัพย์ของผู้เยาว์ไปให้คนอื่นโดยเสน่หา

(9)รับการให้โดยสเน่หาที่มีเงื่อนไขหรือค่าภาระติดพัน หรือไม่รับการ
ให้โดยเสน่หา

เช่น ให้ที่ดินผู้เยาว์มา แต่ยังมีบุคคลมาอื่นเก็บผลประโยชน์จากที่ดิน


ได้ หรือให้ผู้เยาว์มา แต่ผู้เยาว์จะต้องกระทำอะไรบางอย่างคืน
ถ้ารับสิ่งที่มีแต่ได้ไม่มีเสีย? = ผู้เยาว์รับได้เองเลย ไม่ต้องขอความ
ยินยอมด้วยซ้ำ ตาม ม.22
รับที่ดินติดจำนอง? = มีข้อหารืออยู่ บางคนมองว่าผู้เยาว์ไม่ต้องเสีย
อะไร ผู้เยาว์รับมาได้
(10) ประกันโดยประการใด ๆ อันอาจมีผลให้ผเู้ ยาว์ต้องถูกบังคับ
ชำระหนี ้ หรือทำนิติกรรมอื่นที่มีผลให้ผู้เยาว์ต้องรับเป็ นผู้รับชำระ
หนีข
้ องบุคคลอื่นหรือแทนบุคคลอื่น

จัดการให้ผู้เยาว์เป็ นลูกหนี ้ = ก่อให้เกิดผลคือ ผู้เยาว์มีโอกาสต้องไป


ชำระหนี ้

1056/2525 เป็ นกรณีที่มีแม่กับลูก พ่อเกิดเสียชีวิตไป แล้วมี


บำเหน็จตกทอดสู่ทายาท กรณีนแ
ี ้ ม่ไปตกลงกับเจ้านี ้ ให้หักเงิน
บำเหน็จของพ่อ ไปชำระหนีก
้ ับเจ้าหนี ้ เป็ นการเอาทรัพย์ของผู้เยาว์
ไปชำระหนี ้ เป็ นการขัดต่อมาตรา 1574 (10)

(11) เอาทรัพย์สินของผู้เยาว์ไปแสวงหาประโยชน์นอกจากในกรณี
ที่บัญญัติไว้ในมาตรา 1598/4 (1) (2) หรือ (3)
มาตรา 1598/4
(1) ซื้อพันธบัตรรัฐ
(2) รับจำนอง รับขายฝากในราคาที่ไม่เกินครึ่งนึง
(3) ฝากประจำ
เป็ นเรื่องการจัดการทรัพย์สิน ต้องมีแต่เพิ่มพูนขึน
้ มา แต่ถ้าเป็ น
ลักษณะของการลงทุนที่มีความเสี่ยง ต้องขออนุญาตศาล เช่น
ซื้อหุ้น ซื้อที่ดิน

(12) ประนีประนอมยอมความ
มีความเสี่ยงที่ผู้เยาว์จะเสียเปรียบได้ ต้องขออนุญาตศาลก่อน
(13) มอบข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการวินิจฉัย
อนุญาโตตุลาการ ไม่ใช่ศาล กฎหมายจึงไม่เชื่อถือ
อนุญาโตตุลาการ คือบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ศาล โดยที่คู่กรณีสามารถยื่น
ข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการมาแก้ไข เป็ นอีกระบบหนึ่ง เอาไว้
ระงับข้อพิพาทโดยเฉพาะ ทำแบบลับได้ แต่มีผลผูกพันทาง
กฎหมาย

ใน 1574 ถ้าไม่ได้ขออนุญาตศาล?
ในกฎหมายไม่ได้พูดอะไรเลย แต่มีคำพิพากษาฎีกาออกมา

แนว 1 ส่วนใหญ่จะมองว่า ไม่มีผลผูกพันผู้เยาว์

ฎ 6838/2555
การขออนุญาตศาลหรือไม่ ไม่ใช่แบบของนิติกรรม และกฎหมายก็
มิได้บัญญัติไว้โดยชัดแจ้งว่าให้นิติกรรมที่ฝ่าฝื นบทบัญญัติดังกล่าวเป็ น
โมฆะกรรม = คงมีผลแค่เพียงไม่ผูกพันผู้เยาว์

เช่น อาจารย์สั่งให้นิสิตเอารถไปให้คนอื่นเช่า นิสิตจะมีอำนาจแค่ให้เช่า


เท่านัน
้ ถ้านิสิตเอารถนัน
้ ไปขาย สัญญานัน
้ ไม่ผูกพันกับอาจารย์ นิสิตต้อง
รับผิดชอบเอาเอง

ฏ 1726/2493
บิดามารดาทำสัญญาจะขายที่ดินของบุตรที่ยังไม่บนนลุนิติภาวะโดย
ไม่ได้รับอนุญาตจากศาล = บุตรเป็ นคนนอกสัญญา บิดามารดาต้องรับผิด
ชอบเอาเอง

ฏ 8535/2547
โจทก์เป็ นเจ้าของร่วมกับจำเลยในที่ดิน โดยจำเลยที่ 5-6 เป็ นผู้เยาว์
จำเลยทัง้ หกขอถอนชื่อออกจากโฉนดที่ดินพิพาท
= การกระทำให้สน
ิ ้ สุดลงบางส่วนซึ่งทรัพย์สินของผู้เยาว์อันเกี่ยวกับ
อสังหาริมทรัพย์และการประนีประนอมยอมความ
= เป็ นนิติกรรมที่ผู้แทนโดยชอบธรรมต้องขออนุญาตศาลตาม 1574 (2),
(12) ไม่มีผลผูกพันกับจำเลย 5-6 ซึง่ เป็ นผู้เยาว์

แนว 2 ให้ตกเป็ นโมฆะ


ฎ 1056/2525 มารดาไปเอาเงินบำเหน็จที่บุตรจะได้รับไปชำระหนี ้ ข้อ
ตกลงดังกล่าวเป็ นโมฆะ

แนว 3 ให้ตกเป็ นโมฆียะ


ฎ 3496/2537 ถูกทำละเมิด แล้วไปทำสัญญาประนีประนอม โดยมีผู้
แทนโดยชอบธรรมเป็ นพยาน = มีผลบังคับได้ ตามหลักปกติของมาตรา
21

แต่
ฎ 4984/2537, ฎ 8535/2547 ผู้เยาว์ทำนิติกรรมตาม 1574 เองไม่ได้
แม้จะได้รับอนุญาตจากผู้แทนโดยชอบธรรม เพราะถ้าผู้เยาว์ทำได้โดยไม่
ต้องขออนุญาตจากศาล มันจะเป็ นการขัดกับเจตนารมณ์ของกฎหมาย
และนำไปสู่การเลี่ยงกฎหมาย

แต่
ฎ 1783/2558 เป็ นกรณีที่พี่เยาว์ทำนิติกรรมจะซื้อจะขายเอง ไม่ต้องปรับ
ตามมาตรา 1574 แต่ต้องปรับตามมาตรา 21

จะเห็นได้ว่า ศาลมองแตกต่างกันออกไป ดูตามลายลักษณ์อักษรบ้าง ดู


ตามเจตนารมณ์บ้าง

มาตรา 27 วรรค 2 ผู้เยาว์สามารถทำธุรกิจได้เสมือนเป็ นผู้บรรลุ


นิติภาวะ แล้วถ้ามีนิติกรรมตามมาตรา 1574 ต้องขออนุญาตจากศาล
มัย
้ ?

มีความเห็นที่ต่างกัน 2 ทางได้แก่

1. คณะกรรมการ ป.พ.พ. เห็นว่า ถ้ามันเข้า 1574 ก็ควรต้องขออนุญาต


จากศาล แต่ในเมื่อมาตรา 27 บอกว่าเป็ นเสมือนดังผู้บรรลุนิติภาวะแล้ว
ก็ให้ถือว่าทำได้เพราะเป็ นเสมือนผู้บรรลุนิติภาวะแล้ว

2. คณาจารย์อ่ น
ื ๆ จะมองไปที่เจตนารมณ์ของกฎหมาย ดังนัน
้ ถ้าบอกว่า
มาตรา 27 มาใช้อ้าง 1574 ได้ ก็จะเป็ นการขัดต่อเจตนารมณ์ของ
กฎหมาย (กฎหมายต้องการคุ้มครองผลประโยชน์ของผู้เยาว์) และ
เป็ นการเลี่ยงกฎหมายได้
มาตรา 1575 ถ้าในกิจการใด ประโยชน์ของผู้ใช้อำนาจปกครอง หรือ
ประโยชน์ของคู่สมรส หรือบุตรของผู้ใช้อำนาจปกครอง ขัดกับประโยชน์
ของผู้เยาว์ = ผู้ใช้อำนาจปกครองต้องได้รับอนุญาตจากศาลก่อนจึงทำ
กิจกรรมนัน
้ ได้ มิฉะนัน
้ เป็ นโมฆะ
(Conflict of Interest)
ฎ 1686/2506 บิดาเป็ นผูแ
้ ทนโดยชอบธรรมของลูก โดยพ่อไปทำสัญญา
กับเจ้าหนี ้ ให้บุตรเป็ นลูกหนีแ
้ ทนบิดา เป็ นการชำระหนีใ้ ห้แก่บิดา ถ้าไม่
ขออนุญาตต่อศาล จะเป็ น Conflict of Interest ก็ตกเป็ นโมฆะ

ฎ 2081-2087/2514 แม่เอาสร้อยทองของลูก ไปตีใช้หนีข


้ องตัวเอง
เป็ นการใช้อำนาจปกครองที่ขัดต่อประโยชน์ของผู้เยาว์ ต้องขออนุญาตต่อ
ศาล มิฉะนัน
้ เป็ นโมฆะ

ประโยชน์ของผู้ใช้อำนาจปกครอง ให้รวมถึงมาตรา 1576 ด้วย =


ครอบคลุมถึงประโยชน์ที่ได้จากการถือหุ้นกับห้างหุ้นส่วนสามัญ(ส่วนได้
ส่วนเสียของห้างหุ้นส่วนสามัญเป็ นอันเดียวกันกับผู้ถ้อ
ื หุน), ประโยชน์ที่ได้
รับจากห้างหุ้นส่วนจำกัดที่บุคคลดังกล่าวนัน
้ เป็ นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัด
ความรับผิด

1574 (10) กับ 1575 ในการให้เอาทรัพย์ของผู้เยาว์มาชำระหนี ้ ? = อาจ


จะเข้าได้ทงั ้ 2 มาตรา แต่ 1575 แรงกว่า

สรุป
เวลาเจอข้อสอบ
1. เป็ นนิติกรรม ? (ในวิชานีจ
้ ะบอกเลยว่าเป็ นนิติกรรม)
2. ความสามารถของผู้ทำนิติกรรม = คนที่จะทำนิติกรรมนัน
้ อยู่ใน
ภาวะแบบไหน บรรลุนิติภาวะหรือยัง ถ้าบรรลุนิติภาวะไปแล้ว จะ
ทำอะไรก็สมบูรณ์ไปหมด (วิกลจริต เสมือนไร้ ไว้ดูครึ่งเทอมหน้า
ตอนนีด
้ ูแค่ผเู้ ยาว์)
3. ถ้าผู้เยาว์ทำนิติกรรมเอง มีข้อยกเว้นมัย
้ ? (22,23,24,25,26,27)
4. ถ้ามีผู้แทนโดยชอบธรรม ดูว่าใช่ผู้แทนโดยชอบธรรมจริงๆรึเปล่า
5. นิติกรรมมีผลอย่างไร บอกล้างได้หรือไม่ (โมฆะ โมฆียะ สมบูรณ์
ไม่มีผลผูกพันผู้เยาว์) ต้องอธิบายว่าโมฆียะเพราะอะไร สมบูรณ์
เพราะอะไร

ต้องไล่เรียงทุกอย่างไปจนถึงคำตอบสุดท้าย ระวังอย่าให้ประเด็นไหน
หายไป

ข้อสอบบรรยาย ต้องตอบความเห็นในทางกฎหมาย โดยยึดหลัก


กฎหมายเป็ นที่ตงั ้ แล้วค่อยแสดงความคิดเห็น เห็นด้วยเพราะหลัก
กฎหมายบอกว่าอะไร

การเป็ นผู้เยาว์
การทำนิติกรรมของผู้เยาว์ ทัง้ ร้องเพลงกับทองคำ
ได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรมมัย

แอลใช่ผแ
ู้ ทนโดยชอบธรรมมัย

ส่งผลให้มีผลสมบูรณ์
ถ้านิติกรรม 1574 ผู้เยาว์ต้องขออนุญาตจากศาลรึป่าว
ทองคำไม่ได้รับความยินยอม
เข้าข้อยกเว้นมัย
้ เกี่ยวกับการทำงานมัย
้ สมฐานานุรูปมัย

เป็ นโมฆียะ
ยายบีบอกล้างได้มย
ั ้ คนที่บอกล้างได้คือผู้เยาว์หรือผู้แทนโดยชอบธรรม
ยายบีไม่ใช่ บอกล้างไม่ได้

มีหลักกฎหมายรึป่าว
ปรับข้อเท็จจริงเข้ากับหลักยังไง
ยินยอมโดยชัดแจ้ง , ยินยอมโดยปริยาย
Issue ไม่เน้น

อธิบายเรื่องผู้เยาว์ 1 ย่อหน้า
อธิบายเรื่องนิติกรรมแยกไปอีกย่อหน้า
อย่าลืมตอบให้ครบว่าโจทย์ถามอะไรบ้าง

ตอบสัน
้ แต่ได้ใจความ ดีกว่าตอบยาว แต่ประเด็นไม่ครบ

You might also like