You are on page 1of 28

แนวข้ อสอบ วิชากฎหมาย

1. ข้ อใดเป็ นลักษณะของนิติกรรม
1. เป็ นการกระทาของบุคคลโดยมีการแสดงเจตนา
2. ต้องเป็ นการกระทาที่ชอบด้วยกฎหมาย
3. ต้องเป็ นการกระทาด้วยใจสมัคร
4. ต้องเป็ นการกระทาที่มุ่งโดยตรงที่จะให้เกิดผลในทางกฎหมายขึ้นระหว่าง
บุคคล
5. ก่อให้เกิดความเคลื่อนไหวในสิ ทธิ

2. ผู้เยาว์ จะทานิติกรรมต้ องได้ รับความยินยอมจากผู้ใด หากปราศจากความ


ยินยอมผลจะเป็ นอย่ างไร
- ต้องได้รับความยินยอมของผูแ้ ทนโดยชอบธรรมก่อน หากฝ่ าฝื นนิติกรรมตก
เป็ นโมฆียะ
3. ข้ อใดไม่ ใช่ ลกั ษณะของสั ญญา
1. มีบุคคลตั้งแต่2ฝ่ ายขึ้นไป ลาพังฝ่ ายเดียว ไม่อาจก่อให้เกิดสัญญาขึ้นมาได้
2. 2ฝ่ ายต้องมีการแสดงเจตนา ซึ่งถูกต้องตรงกัน
3. มีวตั ถุประสงค์ที่ก่อให้เกิดความผูกพันในทางกฎหมาย
4. วัตถุประสงค์ในการทาสัญญาต้องไม่ตอ้ งห้ามตามกฎหมาย ไม่เป็ นการพ้นวิสัย
หรื อขัดต่อความสงบเรี ยบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน

4. มัดจา คืออะไร
- เงินหรื อสิ่ งมีค่าอื่นซึ่งคู่สัญญาได้ส่งมอบให้ไว้แก่กนั เมื่อเข้าทาสัญญา เพื่อ
ประโยชน์ในการเป็ นพยานหลักฐานว่าสัญญาได้ทากันขึ้นแล้ว

5. การซื้อขายอสั งหาริมทรัพย์ ต้องทาตามแบบใด


- ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนโอนกรรมสิ ทธิ์จากผูข้ ายไปยังผูซ้ ้ือต่อหน้า
พนักงานเจ้าหน้าที่ผมู ้ ีอานาจในการรับรอ
6. ข้ อใดไม่ ใช่ หลักฐานการฟ้องร้ องบังคับคดีในสั ญญาซื้อขาย
1. หลักฐานเป็ นหนังสื ออย่างใดลงลงลายมือชื่อฝ่ ายผูต้ อ้ งรับผิดเป็ นสาคัญ
2. การวางประจา หรื อเรี ยกอีกอย่างว่าการมัดจา
3. การชาระหนี้บางส่ วน

7. ข้ อใดไม่ ใช่ ประเภทของข้ อตกลงในการซื้อขาย


1. สัญญาซื้อขายเสร็ จเด็จขาด
2. สัญญาซื้อขายมีเงื่อนไข
3. สัญญาซื้อขายมีเงื่อนเวลา
4. สัญญาจะซื้อหรื อจะขาย
5. คามัน่ ว่าจะซื้อหรื อจะขาย
8. สั ญญาคา้ ประกันจะระงับด้ วยวิธีใด
1. เมื่อหนี้ของลูกหนี้ระงับ
2. เมื่อผูค้ ้ าประกันบอกเลิกค้ าประกัน
3. เมื่อเจ้าหนี้ผอ่ นเวลาให้กบั ลูกหนี้
4. เจ้าหนี้ไม่ยอมชาระหนี้จากผูค้ ้ าประกัน

9. ข้ อใดไม่ ใช่ ลกั ษณะของสั ญญาคา้ ประกัน


1. สัญญาระหว่างเจ้าหนี้กบั ผูค้ ้ าประกัน
2. มีวตั ถุประสงค์เพื่อประกันหนี้
3. เป็ นสัญญาที่ไม่ตอ้ งทาตามแบบ

10. สั ญญาคา้ ประกันเป็ นสั ญญาลักษณะใด


- สัญญาซึ่งบุคคลภายนอกคนหนึ่งเรี ยกว่า ผูค้ ้ าประกัน ผูกพันต่อเจ้าหนี้คนหนึ่ง
เพื่อชาระหนี้ ในเมื่อลูกหนี้ไม่ชาระหนี้
11. ทรัพย์ สินข้ อใดสามารถจานองได้
1. อสังหาริ มทรัพย์ ที่ดิน ทรัพย์ที่ติดกับดิน
2. สังหาริ มทรัพย์พิเศษ เรื อ5ตัน แพที่อยูอ่ าศัย ช้าง ม้า โค กระบือ ลา ล่อ
3. สังหาริ มทรัพย์อื่นซึ่งกฎหมายบัญญัติไว้ให้จดทะเบียนเฉพาะการ เครื่ องจักร
เครื่ องบิน

12. ข้ อใดกล่าวถูกต้ องเกีย่ วกับการจานอง


- การที่บุคคลคนหนึ่งเรี ยกว่า “ผูจ้ านอง” เอาอสังหาริ มทรัพย์ของตน เช่น ที่ดิน
หรื อทรัพย์ที่กฎหมายอนุญาตให้จานองได้ ไปจดทะเบียนไว้กบั บุคคลอีกคนหนึ่ง
เรี ยกว่า “ผูร้ ับจานอง” เพื่อเป็ นหลักประกันในการชาระหนี้ ทั้งนี้โดยผูจ้ านองไม่
ต้องส่ งมอบที่ดินหรื อทรัพย์สินดังกล่าวนั้นให้แก่ผรู ้ ับจานอง

13. ข้ อใดคือแบบของสั ญญาจานอง


- เป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่อเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ หากไม่ทาหนังสื อ หรื อทา
หนังสื อแต่ไม่จดทะเบียน การจานองมีผลเป็ นโมฆะ
14. ข้ อใดกล่าวถูกต้ องเกีย่ วกับการจานา
- การที่บุคคลคนหนึ่งเรี ยกว่า “ผูจ้ านา” ส่ งมอบทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง
เป็ นผูค้ รองครองเรี ยกว่า “ผูร้ ับจานา” เพื่อเป็ นหลักประกันการชาระหนี้

15. ทรัพย์ สินข้ อใดสามารถจานาได้


1. สังหาริ มทรัพย์ รวมถึง สังหาริ มทรัพย์พิเศษ เช่น โทรทัศน์ ช้าง ม้า เครื่ องจักร
รถยนต์ เครื่ องบิน
2. สิ ทธิซ่ ึงมีตราสาร เช่น ตัว๋ เงิน ใบหุน้ ระบุชื่อ ใบหุ ้นกู้ ใบประทวนสิ นค้า แต่ไม่
รวม หนังสื อสัญญาเงินกู้ หรื อ หนังสื อสัญญาซื้อขาย

16. สั ญญายืม มีกปี่ ระเภท


- 2 ประเภท
1. สัญญายืมใช้คงรู ป
2. สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง
17. ข้ อใดคือลักษณะสาคัญของสั ญญาณยืมใช้ คงรูป
1. เป็ นสัญญา2ฝ่ าย
2. เป็ นสัญญาไม่มีค่าตอบแทน
3. เป็ นสัญญาที่สมบูรณ์เมื่อส่ งมอบทรัพย์สินที่ยมื
4. เป็ นสัญญาที่ไม่โอนกรรมสิ ทธิ์
5. วัตถุของสัญญาไม่วา่ จะเป็ นสังหาหรื ออสังหา เป็ นทรัพย์ที่มีรูปร่ างหรื อไม่มี
สามารถให้ยมื ได้ท้ งั นั้น
6. ผูย้ มื ต้องส่ งคืนทรัพย์สินที่ยมื ให้แก่ผใู ้ ห้ยมื

18. การกู้ยืมเงินตั้งแต่ กบี่ าทขึน้ ไปต้ องมีหลักฐานเป็ นหนังสื อจึงจะฟ้องร้ องบังคับ


คดีได้
- การกูย้ มื เงินเกินกว่า 2,000 บาท ขึ้นไป

19. กรณีผ้ ูก้ลู งลายพิมพ์นิว้ มือแทนลายมือชื่ อต้ องมีพยานอย่ างน้ อยกีค่ น


- 2 คน
20. ข้ อใดไม่ ใช่ ข้อกาหนดที่ลูกหนีต้ ้ องปฏิบัติเพื่อเป็ นการชาระหนี้
1. การกระทา
2. งดเว้นการกระทา
3. กระทาการโอนกรรมสิ ทธิ์ส่งมอบทรัพย์สิน

21. ภาษาละตินในเรื่ อง ละเมิด ว่ าแปลว่ าอะไร


- Volenti nonfit injuria
ในกรณี ที่ผเู ้ สี ยหายยินยอมให้กระทาไม่ถือว่าเป็ นการละเมิด

22. บุคคลใดต้ องร่ วมรับผิดกับตัวแทน


- ความรับผิดของตัวการ ตัวการย่อมต้องผูกพันต่อบุคคลภายนอกในกิจการ
ทั้งหลายอันตัวแทน หรื อ ตัวแทนช่วงได้ทาไปภายในขอบเขตอานาจฐานตาแทน

23. กรณีไม่ ร้ ูตัวผู้ทาละเมิดต้ องฟ้องร้ องภายในกีป่ ี นับแต่ วนั ที่กระทาละเมิด


- 10 ปี
24. ข้ อใดไม่ ใช่ สังหาริมทรัพย์ ชนิดพิเศษ
- ทรัพย์นอกเหนือจากอสังหาริ มทรัพย์ ที่กฎหมายกาหนดให้เป็ นสังหาริ มทรัพย์
พิเศษ ได้แก่ เรื อระวาง 5 ตันเป็ นต้นไป แพที่คนอาศัย สัตว์พาหนะ ช้าง ม้า โค
กระบือ ล่อ ลา

25. ข้ อใดคือทรัพย์ ที่ (แบ่ งได้ / แบ่ งไม่ ได้ )


- ทรัพย์แบ่งได้ หมายความว่า ทรัพย์อนั อาจแยกออกจากกันเป็ นส่ วนๆ ได้จริ ง
ถนัดชัดแจ้ง แต่ละส่ วนได้รูปบริ บูรณ์ลาพังตัว เช่น ผ้า ที่ดิน น้ า ข้าวสาร
- ทรัพย์แบ่งไม่ได้ ทรัพย์อนั จะแยกออกจากกันไม่ได้ นอกจากเปลี่ยนแปลงภาวะ
ของทรัพย์ และหมายความรวมถึงทรัพย์ที่มีกฎหมายบัญญัติวา่ แบ่งไม่ได้ดว้ ย เช่น
รนยนต์ บ้าน กางเกง เสื้ อ
26. ข้ อใดคือทรัพย์ นอกพาณิชย์
- ทรัพย์นอกพาณิ ชย์ ทรัพย์ที่ไม่สามารถถือเอาได้และทรัพย์ที่โอนแก่กนั มิได้โดย
ชอบด้วยกฎหมาย ทรัพย์นอกพาณิ ชย์มีความหมาย 2 ประการ คือ
1. ทรัพย์ที่ไม่สามารถถือเอาได้ เช่น ลม แสงแดด ทะเล ดวงดาว ก้อนเมฆ
2. ทรัพย์ที่โอนแก่กนั ไม่ได้โดยชอบด้วยกฎหมาย เช่น ที่วดั ที่สนามหลวง ที่ศา
สนสมบัติกลาง

27. ผู้เยาว์ ต้องการหมั่นต้ องขอความยินยอมจากผู้ใด


1. บิดาและมารดา ในกรณี ที่มีท้ งั บิดามารดา
2. บิดาหรื อมารดา ในกรณี ที่มารดาหรื อบิดาตายหรื อถูกถอนอานาจปกครอง
หรื อไม่อยูใ่ นสภาพหรื อฐานะที่อาจให้ความยินยอม
3. ผูร้ ับบุตรบุญธรรม ในกรณี ที่ผเู ้ ยาว์เป็ นบุตรบุญธรรม
4. ผูป้ กครอง ในกรณี ที่ไม่มีบุคคลซึ่งอาจให้ความยินยอมตาม
28. ข้ อใดไม่ ใช่ เหตุหย่ า
1. สามีหรื อภริ ยาอุปการะเลี้ยงดูหรื อยกย่องผูอ้ ื่นฉันภริ ยาหรื อสามี เป็ นชูห้ รื อมีชู้
หรื อร่ วมประเวณี กบั ผูอ้ ื่นเป็ นอาจิณ อีกฝ่ ายหนึ่งฟ้องหย่าได้
2. สามีหรื อภริ ยาประพฤติชวั่ ไม่วา่ ความประพฤติชวั่ นั้นจะเป็ นความผิดอาญา
หรื อไม่ ถ้าเป็ นเหตุให้อีกฝ่ ายหนึ่ง
(ก)ได้รับความอับอายขายหน้าอย่างร้ายแรง
(ข)ได้รับความดูถูกเกลียดชังเพราะเหตุที่คงเป็ นสามีหรื อภริ ยาของฝ่ ายที่ประพฤติ
ชัว่ อยูต่ ่อไป
(ค)ได้รับความเสี ยหายหรื อเดือดร้อนเกินควร ในเมื่อเอาสภาพฐานะ และความ
เป็ นอยูร่ ่ วมกันฉันสามีภริ ยามาคานึงประกอบอีกฝ่ ายหนึ่งนั้นฟ้องหย่าได้
3. สามีหรื อภริ ยาทาร้าย หรื อทรมานร่ างกายหรื อจิตใจ หรื อหมิ่นประมาท หรื อ
เหยียดหยามอีกฝ่ ายหนึ่งหรื อบุพการี ของอีกฝ่ ายหนึ่ง ทั้งนี้ ถ้าเป็ นการร้ายแรง อีก
ฝ่ ายหนึ่งนั้นฟ้องหย่าได้
4.สามีหรื อภริ ยาจงใจละทิ้งร้างอีกฝ่ ายหนึ่งไปเกิน 1 ปี อีกฝ่ ายหนึ่ง นั้นฟ้องหย่า
ได้
5. สามีหรื อภริ ยาถูกศาลสั่งให้เป็ นคนสาบสู ญ หรื อไปจากภูมิลาเนา หรื อถิ่นที่อยู่
เป็ นเวลาเกิน 3 ปี โดยไม่มีใครทราบแน่วา่ เป็ นตายร้ายดีอย่าง ไร อีกฝ่ ายหนึ่งฟ้อง
หย่าได้
6. สามีหรื อภริ ยาไม่ให้ความช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูอีกฝ่ ายหนึ่งตามสมควร หรื อ
ทาการเป็ นปฏิปักษ์ต่อการที่เป็ นสามีหรื อภริ ยากันอย่างร้ายแรง ทั้งนี้ ถ้าการ
กระทานั้นถึงขนาดที่อีกฝ่ ายหนึ่งเดือดร้อนเกินควรในเมื่อเอาสภาพ ฐานะ และ
ความเป็ นอยูร่ ่ วมกันฉันสามีภริ ยามาคานึงประกอบ อีกฝ่ าย หนึ่งนั้นฟ้องหย่าได้
7. สามีหรื อภริ ยาวิกลจริ ตตลอดมาเกิน 3 ปี และความวิกลจริ ตนั้นมี ลักษณะยาก
จะหายได้ กับทั้งความวิกลจริ ตถึงขนาดที่จะทนอยูร่ ่ วมกัน ฉันสามีภริ ยาต่อไป
ไม่ได้ อีกฝ่ ายหนึ่งฟ้องหย่าได้
8. สามีหรื อภริ ยาผิดทัณฑ์บนที่ทาให้ไว้เป็ นหนังสื อในเรื่ องความประพฤติอีกฝ่ าย
หนึ่งฟ้องหย่าได้
9. สามีหรื อภริ ยาเป็ นโรคติดต่ออย่างร้ายแรงอันอาจเป็ นภัยแก่อีกฝ่ ายหนึ่งและโรค
มีลกั ษณะเรื้ อรัง ไม่มีทางที่จะหายได้ อีกฝ่ ายหนึ่งนั้นฟ้องหย่าได้
10. สามีหรื อภริ ยามีสภาพแห่งกายทาให้สามีหรื อภริ ยานั้น ไม่อาจร่ วมประเวณี ได้
ตลอดกาล อีกฝ่ ายหนึ่งฟ้องหย่าได้
29. ข้ อใดไม่ ใช่ ทายาทโดยธรรม ประเภทเภทยาทของเจ้ ามรดก
-ผูท้ ี่มีสายสัมพันธ์ทางสายโลหิต ซึ่งมี 6 ลาดับด้วยกันคือ
1.ผูส้ ื บสันดาน
2.บิดามารดา
3.พี่นอ้ งร่ วมบิดามารดาเดียวกัน
4.พี่นอ้ งร่ วมบิดาหรื อร่ วมมารดาเดียวกัน
5.ปู่ ย่า ตา ยาย
6.ลุง ป้า น้า อา

30. ข้ อใดไม่ ใช่ แบบของพินัยกรรม


1.พินยั กรรมแบบธรรมดา
2.พินยั กรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ
3.พินยั กรรมทาเป็ นเอกสารฝ่ ายเมือง
4.พินยั กรรมแบบทาเป็ นเอกสารลับ
5.พินยั กรรมแบบทาด้วยวาจา
31. ข้ อใดเป็ นการกระทาโดยงดเว้ น
1. เป็ นการไม่กระทา
2. ทั้งที่ผกู ้ ระทามีหน้าที่ตอ้ งกระทา
3. หน้าที่ตอ้ งกระทาตามข้อ2 เป็ นหน้าที่โดยเฉพาะซึ่งต้องกระทาเพื่อป้องกันผลที่
เกิดขึ้นนั้น

32. ข้ อใดไม่ ใช่ ราชอาณาจักรไทยตามกฎหมายอาญา


- หมายถึงพื้นดินในเขตแดนประเทศไทย เขตน่านน้ าซึ่งอานาจอธิปไตยของไทย
คลุมถึง(12ไมล์ทะเลหรื อประมาณ 22 กิโลเมตร ตามพระบรมราชโองการกาหนด
ความกว้างของทะเลอาณาเขตโดยไม่รวมถึงไหล่ทวีป)ห้วงอากาศเหนือพื้นดิน
และพื้นน้ า แต่ไม่รวมถึงสถานทูตไทยในต่างประเทศ

33. บุคคลใดที่กระทาความผิดในประเทศไทยแล้วต้ องรับโทษในประเทศไทย


- ผูใ้ ดกระทาความผิดในราชอาณาจักรต้องรับโทษตามกฎหมาย
34. ดาต้ องการฆ่ าแดง ยิงปื นไปที่แดง แดงหลบทัน กระสุ นไปถูกเหลืองตาย ดา
ต้ องรับผิดต่ อเหลืองหรื อไม่
- ไม่ตอ้ ง การกระทาโดยพลาด

35. ดาต้ องการฆ่ าแดง เห็นเหลืองหน้ าเหมือนแดง ใช้ ปืนยิงเหลืองตาย การกระทา


ของดาเป็ นความผิดประเภทใด
- พยายามฆ่า

36. บุคคลใดกระทาความผิดแล้วกฎหมายยกเว้ นโทษให้


1. ความวิกลจริ ต
2. ความมึนเมา
3. การกระทาด้วยความจาเป็ น
4. การกระทาตามคาสั่งของเจ้าพนักงาน
5. ความเป็ นสามีภรรยา
37. ข้ อใดคือผู้ใช้ ตามกฎหมายอาญา
- ผูใ้ ดก่อให้ผอู ้ ื่นกระทาความผิดไม่วา่ ด้วยการใช้ บังคับ ขู่เข็ญ จ้าง วานหรื อยุยง
ส่ งเสริ ม หรื อด้วยวิธีอื่นใด ผูน้ ้ นั เป็ นผูใ้ ช้ให้กระทาความผิด

38. ซ่ องโจรต้ องมีผ้ สู มคบกันในการกระทาความผิดตั้งแต่ กคี่ นขึน้ ไป


- ตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป

39. ปล้ นทรัพย์ ต้องมีผ้ รู ่ วมกระทาตั้งแต่ กี่คนขึน้ ไป


- ตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป

40. ข้ อใดเป็ นความผิดต่ อเสรีภาพ


- ผูใ้ ดข่มขืนใจผูอ้ ื่นให้กระทาการใด ไม่กระทาการใด หรื อจายอมต่อสิ่ งใด โดย
ทาให้กลัวว่าจะเกิดอันตรายต่อชีวิต ร่ างกาย เสรี ภาพ ชื่อเสี ยงหรื อทรัพย์สินของผู ้
ถูกข่มขืนใจนั้นเองหรื อของผูอ้ ื่น หรื อโดยใช้กาลังประทุษร้ายจนผูถ้ ูกข่มขืนใจ
ต้องกระทาการนั้น ไม่กระทาการนั้นหรื อจายอมต่อสิ่ งนั้น
41. นาย ก. เข้ าไปในอสั งหาริมทรัพย์ ของผู้อื่น แต่ ไม่ ยอมออก มีความผิดอะไร
- ความผิดฐานบุกรุ ก

42. ข้ อใดเป็ นความผิดลหุโทษ


- ความผิดเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่มีโทษเบาหรื อ โทษที่ไม่ร้ายแรง จาคุหไม่เกิน1เดือน
ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

43. เมื่อมีคาพิพากษาประหารชีวติ ต้ องนาตัวนักโทษไปฉีดสารพิษให้ ตาย ภายในกี่


วัน
- 60 วัน

44. เรียงลาดับโทษทางอาญา (เบา→หนัก,หนัก→เบา)


- 1.ประหารชีวิต 2.จาคุก 3.กักขัง 4.ปรับ 5.ริ บทรัพย์สิน
45. ใครไม่ มีอานาจจัดการแทนผู้เสี ยหาย
1. สามีภรรยา
2. บุพการี ผูส้ ื บสันดาน
3. ผูแ้ ทนโดยชอบธรรม
4. ผูจ้ ดั การหรื อผูแ้ ทนอื่นๆ

46. คดีความผิดอันยอมความได้ มีอายุความเท่ าใด


- 3 เดือนนับแต่วนั ที่รู้เรื่ องความผิดและรู ้ตวั ผูก้ ระทาความผิด เป็ นอันขาดอายุ
ความ

47. ผู้ใดมีอานาจฟ้องคดีอาญาต่ อศาล


- พนักงานอัยการและผูเ้ สี ยหาย

48. ผู้ต้องหา คือ


- บุคคลผูถ้ ูกกล่าวหาว่าได้กระทาความผิด แต่ยงั ไม่ได้ถูกฟ้องต่อศาลและอาจจะ
ถูกจับแล้วนามาควบคุมหรื อขังไว้เพื่อทาการสอบสวน
49. ข้ อใดไม่ ใช่ หมายอาญา
1.หมายจับ
2.หมายขัง
3.หมายค้น
4.หมายจาคุก
5.หมายปล่อย

50. ผู้ใดมีอานาจออกหมายจับ
- ศาล

51. สถานที่แม้ มีหมายก็ห้ามจับเด็ดขาด


- พระรางวัง วังของรัชทายาท บรมวงษ์สมเด็จเจ้าฟ้าขึ้นไป
- สถานที่ที่พระมหากษัตริ ย ์ ราชินี รัชทายาท บรมวงษ์เจ้าฟ้า ประทับ
52. ศาลมีอานาจสั่ งขังผู้ต้องหาเพื่อให้ พนักงานทาการสอบสวนสู งสุ ดไม่ เกินกีว่ นั
- จาคุกไม่เกิน6เดือน 7วัน
- จาคุกเกิน6เดือน ครั้งละ12วัน รวมไม่เกิน 48วัน
- จาคุก10ปี ขึ้นไป ครั้งละ12วัน รวมไม่เกิน84วัน

53. พนักงานสอบสวนมีอานาจคุมตัวเยาวชนที่กระทาความผิดไว้ ไม่ เกินกีช่ ั่วโมง


- 24 ชัว่ โมง

55. หมายขังใช้ ไม่ ได้ ในระหว่ างใด


- สอบสวน ไต่สวนมูลฟ้อง

56. ความผิดที่มีอตั ราโทษเท่ าใดอยู่ในอานาจศาลแขวง


- จาคุกไม่เกินสามปี หรื อปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ
57. ข้ อใดเป็ นศาลยุติธรรม
- 1.ศาลชั้นต้น 2.ศาลอุทธรณ์ 3.ศาลฎีกา
(ศาลพิเศษ ศาลชานัญพิเศษ ศาลปกครอง ศาลทหาร)

58. ข้ อใดเป็ นศาลชานัญพิเศษ


- 1.ศาลแรงงาน 2.ศาลภาษีอากร 3.ศาลทรัพย์ทางปัญญาและการค้าระหว่าง
ประเทศ 4.ศาลล้มละลาย

59. ศาลปกครองมีกี่ช้ัน
- 2 ชั้น

60. ศาลรัฐธรรมนูญมีกชี่ ้ัน


- มีช้ นั เดียว

61. พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎรฉบับปัจจุบันคือข้ อใด


- พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534
62. ผู้ใดเป็ นผู้อานวยการสานักทะเบียนกลาง
- นายธนาคม จงจิระ

63. ข้ อมูลใดมิได้ ถูกจัดเก็บในทะเบียนราษฎร


1.รายได้
2.ประวัติอาชญากรรม
3.การชาระหรื อไม่ชาระภาษีอากร
4.ข้อมูลที่คณะรัฐมนตรี กาหนด
5.ข้อมูลที่กฎหมายไม่ได้กาหนดให้ตอ้ งแจ้ง

64. เมื่อมีผ้ ยู ้ ายออกจากบ้ านเจ้ าบ้ านต้ องแจ้ งต่ อนายทะเบียนภายในกีว่ นั


- 15 วัน

65. เมื่อผู้อยู่ในบ้ าน แล้วติดต่ อไม่ ได้ เจ้ าบ้ านต้ องแจ้ งการย้ ายออกต่ อนายทะเบียน
ภายในกีว่ ัน
- 30 วัน
66. สถานที่ใดไม่ ต้องติดเลขที่บ้าน
- บ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร โรงเรื อนหรื อสิ่ งปลูกสร้างสาหรับ
ใช้เป็ นที่อยูอ่ าศัย ซึ่งมีเจ้าบ้านครอบครอง รวมถึงแพ เรื อ หรื อ ยานพาหนะซึ่งใช้
และอยูอ่ าศัยเป็ นประจา

67. ข้ อใดเป็ นวิธีการติดเลขที่บ้านได้ ถูกต้ อง


- ประตูทางเข้าบ้าน บริ เวณที่คนภายนอกเห็นได้ง่าย บ้านที่ทีร้ ัวให้ติดไว้ที่ร้ ัวบ้าน
หากทางเข้าบ้านอยูร่ ิ มน้ าหรื อศาลาท่าน้ า ให้ติดไว้ที่ศาลาท่าน้ าของบ้านนั้น บ้าน
ที่มีหลายชั้นหรื อแยกการปกครอง เช่น ห้องเช่า อาคารชุด ให้ติดทุกห้อง
เรี ยงลาดับจากชั้นล่างไปหาชั้นบน

68. ทะเบียนบ้ าน คือ


- ทะเบียนประจาบ้านแต่ละบ้าน ซึ่งแสดงเลขประจาบ้านและ รายการของคน
ทั้งหมดผูอ้ ยูใ่ นบ้าน
69. ถ้ าสาเนาทะเบียนบ้ านชารุดเสี ยหายใช้ งานไม่ ได้ หรื อสู ญหาย แล้วไม่ ขอฉบับ
ใหม่ ต้องถูกปรับเท่ าใด
- ไม่เกิน 1,000 บาท

70. ใบแจ้ งเกิด เรียกว่ าอะไร


- สู ติบตั ร

71. บุคคลสั ญชาติไทย อายุเท่ าใดต้ องมีบัตรประชาชน


- 7 ปี บริ บูรณ์
72. บุคคลใดต้ องขอมีบัตรประชาชน
- ไม่ตอ้ งขอมีบตั รได้แก่
1.ราชินี
2.บรมวงษ์ช้ นั องค์เจ้าขึ้นไป
3.พระ/เณร นักพรต นักบวช
4.ผูพ้ ิการ
5.ผูถ้ ูกขุมขังด้วยกฎหมาย
6.บุคคลเรี ยนต่อต่างประเทศ

73. การนับวันเกิด(ในหนังสื อ)
- เริ่ มนับแต่วนั เกิด
- กรณี ที่รู้เดือนและรู ้ปี แต่ไม่รู้วนั เกิด ให้นบั วันที่ 1แห่งเดือนนั้นเป็ นวันเกิด
- กรณี ที่รู้ปีเกิด แต่ไม่รู้วนั และเดือนเกิด ให้นบั อายุบุคคลนั้นตั้งแต่วนั ต้นปี ปฏิทิน
ซึ่งเป็ นปี ที่บุคคลนั้นเกิด
74. ทหารกองเกินอายุเท่ าใด
- อายุยา่ งเข้า 18 ปี (17ปี บริ บูรณ์)

75. ทหารกองประจาการอายุเท่ าใด


- อายุ 20 ปี ย่าง 21 ปี

76. ขับรถไม่ มีใบขับขี่ ระวางโทษเท่ าใด


จาคุกไม่เกิน 1เดือน หรื อปรับไม่เกิน 1,000 บาท

77. รถขับช้ า ต้ องเดินรถด้ านใด


- ด้านซ้าย
78. ข้ อใดไม่ ใช่ ความผิดเกีย่ วกับยาเสพติด
- 1. ผูจ้ าหน่ายหรื อมีไว้ครอบครองเพื่อจาหน่าย ซึ่งยาเสพติดประเภทที่1 ไม่เกิน
100 กรัม ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 5 ปี ถึงตลอดชีวิต
และปรับตั้งแต่ 50,000 - 500,000 บาทเกิน 100 กรัม จาคุกตลอดชีวิต หรื อ
ประหารชีวิต
2. ผูท้ ี่เสพยาเสพติดประเภทที่ 1 ต้องระวางโทษตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 10ปี ปรับ 5,000
- 100,000 บาท
3. ผูท้ ี่เสพยาเสพติดประเภทที่ 5 ต้องระวางโทษไม่เกิน 1 ปี และปรับไม่เกิน
10,000 บาท
4. ผูท้ ี่ใช้อุบายหลอกลวงให้ผอู ้ ื่นเสพยาเสพติดให้โทษก็จะต้องรับโทษเนื่องจาก
เป็ นการทาให้เกิดภัยจากยาเสพติดทางอ้อม
5. ผูเ้ สพยาเสพติดประเภทที่ 2 ต้องระวางโทษจาคุก 1-5 ปี และปรับตั้งแต่ 20,000
- 100,000 บาท
79. เอารหัสเฟซบุ๊กไปเข้ าใช้ งานเป็ นความผิดฐานใด
- เป็ นการเข้าใช้งานโดยมิชอบและถือเป็ นพื้นที่ขอ้ มูลส่ วนตัว จะเข้าข่ายเป็ น
ความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มาตรา 5 มีโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่
เกิน 10,000 บาท หรื อทั้งจาทั้งปรับ

80. ข้ อใดไม่ ใช่ สิทธิ์ของผู้บริโภค


1. สิ ทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคาพรรณาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับ
สิ นค้าหรื อบริ การ
2. สิ ทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสิ นค้าหรื อบริ การ
3. สิ ทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรื อบริ การ 4. สิ ทธิที่จะได้รับ
ความเป็ นธรรมในการทาสัญญา
5. สิ ทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเฉยความเสี ยหาย

You might also like