You are on page 1of 4

บทบรรณำธิกำรเนติบัณฑิตสมัยที่ 1/70

เล่ม ที่ 2
คำถำม พาผูเ้ ยาว์ไปโดยมีเจตนามุ่งหมายที่จะกระทาชาเราผูเ้ ยาว์เพียงอย่างเดียว จะเป็ นความผิดฐาน
พรากผูเ้ ยาว์อายุกว่า 15 แต่ยงั ไม่เกิ น 18 ปี ไปเสี ยจากบิ ดามารดาโดยผูเ้ ยาว์น้ นั ไม่เต็มใจไปด้วยตาม ป.อ.
มาตรา 318 อีกหรื อไม่
คำตอบ คำพิพำกษำฎีกำที่ 4263/2559 ความผิดฐานพรากผูเ้ ยาว์อายุกว่า 15 ปี แต่ยงั ไม่เกิ น 18 ปี
ไปเสี ย จากบิ ด ามารดาโดยผูเ้ ยาว์น้ ัน ไม่ เ ต็ ม ใจไปด้ว ยตาม ป.อ. มาตรา 318 นั้น เห็ นว่า ค าว่า “พราก”
หมายความว่า พาไปหรื อแยกผูเ้ ยาว์ออกไปจากอานาจปกครองดูแลโดยไม่จากัดว่าจะกระทาด้วยวิธีใด ทาให้
อานาจปกครองดู แลของบิ ดามารดาถู กรบกวนหรื อถู กกระทบโดยบิ ดามารดาผูเ้ ยาว์ไม่รู้เห็ นยินยอมด้วย
อันเป็ นการล่วงละเมิดอานาจปกครองของบิดามารดาผูเ้ ยาว์ ทั้งนี้ไม่ ว่ำผู้เยำว์ จะไปอยู่ที่ใด หำกบิดำมำรดำ
ยังเอำใจใส่ ผู้เยำว์ ย่อมอยู่ในอำนำจปกครองของบิดำมำรดำตลอดเวลำ กำรพรำกผู้เยำว์ ไม่ ว่ำผู้พรำกผู้เยำว์
จะเป็ นฝ่ ำยชั กชวนโดยมีเจตนำมุ่งหมำยทีจ่ ะกระทำชำเรำผู้เยำว์ เพียงอย่ำงเดียว ก็ย่อมเป็ นควำมผิดทั้งสิ้น
ก่ อนเกิ ดเหตุ ผูเ้ สี ย หายที่ 2 ได้ข ออนุ ญ าตผูเ้ สี ย หายที่ 1 ซึ่ ง เป็ นมารดาไปเล่ นกี ฬ าวอลเลย์บ อล
ที่สนามวอลเลย์บอลของโรงเรี ยน ระหว่ ำงนั้นจำเลยได้ ชักชวนผู้เสี ยหำยที่ 2 ไปพูดคุยที่บริ เวณหน้ ำห้ องน้ำ
แล้วจาเลยพาผูเ้ สี ยที่ 2 เข้าไปในห้องน้ าชายและกระทาชาเราผูเ้ สี ยหายที่ 2 ดังนี้ อำนำจปกครองของผู้เสี ยที่ 2
จึงยังคงอยู่ทผี่ ้ เู สี ยหำยที่ 1 กำรทีจ่ ำเลยชั กชวนผู้เสี ยหำยที่ 2 ไปที่บริ เวณห้ องน้ำแล้ วกระทำชำเรำผู้เสี ยหำยที่
2 โดยไม่ ได้ รับอนุญำตหรือยินยอมจำกผู้เสี ยที่ 1 ย่ อมทำให้ อำนำจปกครองของผู้เสี ยหำยที่ 1 ที่มีต่อผู้เสี ยที่ 2
ถูกรบกวนหรือถูกกระทบกระเทือนโดยผู้เสี ยที่ 1 ไม่ ร้ ู เห็นยินยอมด้ วย การกระทาของจาเลย จึงเป็ นความผิด
ฐานพรากผูเ้ ยาว์อายุกว่า 15 ปี แต่ยงั ไม่เกิ น 18 ปี ไปเสี ยจากบิดามารดาโดยผูเ้ ยาว์ไม่เต็มใจไปด้วยเพื่อการ
อนาจารตาม ป.อ. มาตรา 318 วรรคสาม
ค ำถำม การแบ่ ง ทรั พ ย์สิ น ระหว่า งเจ้า ของรวม จะก าหนดให้ใ ช้เ สี ย งข้า งมากของเจ้า ของรวม
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์มาตรา 1358 มาใช้บงั คับ กับการแบ่งที่ดินได้หรื อไม่

โดย “สำนักงำนทนำยควำมตะวันใหม่ ”(ผ่ำคำบรรยำย) 1


คาตอบ ค าพิ พ ากษาฎี ก าที่ 1866/2559 โจทก์ ท้ งั สองเป็ นฝ่ ายกล่ า วอ้า งข้อเท็จจริ ง ว่า เจ้า ของ
กรรมสิ ทธิ์ รวมในที่ดินพิพาท ได้ตกลงจับสลากแบ่งแยกการครอบครองที่ดินพิพาทกันเป็ นสัดส่ วนแล้ว
แต่จาเลยที่ 1 ให้การปฏิเสธว่ายังมิได้มีการแบ่งแยกการครอบครองเป็ นสัดส่ วน โจทก์ท้ งั สองย่อมมีภาระการ
พิสูจน์ขอ้ เท็จจริ งตามที่กล่าวอ้าง
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา 1364 วรรคหนึ่ง บัญญัติวา่ “การแบ่งทรัพย์สินพึงกระทา
โดยแบ่งทรัพย์สินนั้นเองระหว่างเจ้าของรวม หรื อโดยขายทรัพย์สินแล้วเอาเงิ นที่ขายได้แบ่งกันและวรรค
สองบัญญัติวา่ ถ้าเจ้าของรวมไม่ตกลงกันว่าจะแบ่งทรัพย์สินอย่างไร เมื่อเจ้าของรวมคนหนึ่งคนใดขอศาล
อาจสั่งให้เอาทรัพย์สินนั้นออกแบ่ง ถ้าส่ วนที่แบ่งให้ไม่เท่ากัน จะสั่งให้ทดแทนการเป็ นเงินก็ได้ ถ้าการแบ่ง
เช่นว่านี้ ไม่อาจทาได้ หรื อจะเสี ยหายมากนัก ศาลจะสั่งให้ขายโดยประมูลราคากันระหว่างเจ้าของรวมหรื อ
ขายทอดตลาดก็ได้” ซึ่งบทบัญญัติมำตรำ 1364 เป็ นบทเฉพำะที่เกี่ยวกับกำรแบ่ งทรัพย์ สินระหว่ ำงเจ้ ำของ
รวม จึงไม่ อำจนำบทบัญญัติทั่วไป ที่เกี่ยวกับกำรจัดกำรทรั พย์ สินในกรณีอื่น ซึ่งกำหนดให้ ใช้ เสี ยงข้ ำงมำก
ของเจ้ ำของรวมตำมมำตรำ 1358 มำใช้ บังคับกับกำรแบ่ งที่ดินในคดีนี้ เมื่อเจ้ ำของกรรมสิ ทธิ์รวมทุกคน
ในทีด่ ินพิพำท ยังมิได้ มีกำรแบ่ งแยกกำรครอบครองที่ดินพิพำทเป็ นสั ดส่ วน กำรแบ่ งที่ดินจึงต้ องดำเนินกำร
ตำมมำตรำ 1364
ค ำถำม เจ้า ของรวมในทรั พ ย์สิ นคนหนึ่ ง จะตกลงให้ บุ ค คลอื่ น เช่ า บ้า นซึ่ งเป็ นกรรมสิ ท ธิ์ รวม
โดยลาพัง หรื อเป็ นการตกลงให้เช่าโดยมติเสี ยงข้างมากได้หรื อไม่
คำตอบ คำพิพำกษำฎีกำที่ 2938/2559 สัญญาเช่าบ้านพิพาทตามคาพิพากษาตามยอม มีระยะเวลาเช่า
ตั้งแต่วนั ที่ 6 ธันวาคม 2554 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2557 เมื่อครบระยะเวลาตามสัญญาแล้ว หากไม่มีการต่อ
สัญญาเช่ า จาเลยต้องขนย้ายบริ วารและทรัพย์สินออกไปจากบ้านพิพาท ปรากฏว่าเจ้ามรดกเจ้าของบ้าน
พิพาทถึงแก่ความตายตั้งแต่วนั ที่ 2 พฤษภาคม 2555 ก่อนสัญญาเช่าครบกาหนด ย่อมไม่มีทางที่จาเลยจะต่อ
สัญญาเช่าตามข้อตกลงในสัญญาประนีประนอมยอมความได้ ทั้งทรัพย์สินของเจ้ามรดกทั้งหมดรวมถึงบ้าน
พิพาทและเงิ นค่าเช่ าที่จาเลยโอนเข้าบัญชี เงิ นฝากของเจ้ามรดก ย่อมเป็ นทรั พย์มรดกตกทอดไปยังทายาท
แม้จะได้ความว่าเจ้ามรดกได้ทาบันทึ กก่ อนตาย แต่งตั้งผูจ้ ดั การมรดกไว้เป็ นคณะกรรมการโดยมี จ.เป็ น
ประธานกรรมการ ส.และ พ.เป็ นกรรมการ และโจทก์เป็ นกรรมการและเลขานุ การ แต่หลังจากเจ้ามรดกถึ ง
แก่ ความตาย คณะกรรมการจัดการมรดกดังกล่ าวหาได้ดาเนิ นการจัดการมรดกหรื อแบ่งปั นทรั พย์มรดก
ให้แก่ทายาทไม่ และศำลยังไม่ มีคำสั่ งแต่ งตั้งผู้จัดกำรมรดกของเจ้ ำมรดก ดังนั้นทำยำททุกคนจึงเป็ นเจ้ ำของ
รวมในกองทรั พย์ มรดก กำรจัดกำรทรั พย์ มรดกจึงต้ องบังคับ ตำม ป.พ. พ. มำตรำ 1361 ซึ่ งบัญญัติว่ำ

โดย “สำนักงำนทนำยควำมตะวันใหม่ ”(ผ่ำคำบรรยำย) 2


“เจ้ ำของรวมคนหนึ่งหนึ่ง จะจำหน่ ำยส่ วนของตนหรือจำนองหรือก่ อให้ เกิดภำระติดพันได้ ก็แต่ ด้วยควำม
ยินยอม แห่ งเจ้ ำของรวมทุกคน” กำรให้ เช่ ำบ้ ำนพิพำทถือได้ ว่ำเป็ นกำรก่ อให้ เกิดภำระติดพันในตัวทรัพย์ สิน
ซึ่งจะกระทำได้ ต่อเมื่อได้ รับควำมยินยอมของทำยำทซึ่งเป็ นเจ้ ำของกรรมสิ ทธิ์รวมทุกคน จ.ไม่อาจตกลงให้
จาเลยเช่าบ้านพิพาทได้ ไม่ ว่ำจะเป็ นกำรตกลงให้ เช่ ำโดยลำพัง หรือเป็ นกำรตกลงให้ เช่ ำโดยเป็ นมติเสี ยงข้ ำง
มำกของทำยำท เมื่อจาเลยอ้างว่า จ.และทายาทของเจ้ามรดกฝ่ ายเสี ยงข้างมากตกลงให้จาเลยเช่าบ้านส่ วนตัว
ทายาทอีกคนหนึ่งก็ยนื ยันว่าไม่ได้ให้ความยินยอมให้ จ.ตกลงทาสัญญาเช่าบ้านพิพาทกับจาเลย แสดงว่าการ
ทาสัญญาเช่าบ้านระหว่าง จ.กับจาเลยไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ รวมทุกคน สัญญาเช่าบ้าน
ดังกล่าวจึงไม่มีผลใช้บงั คับได้ จาเลยย่อมไม่มีสิทธิ อยูอ่ าศัยในบ้านตามสัญญาเช่าดังกล่าว ต้องขนย้ายบริ วาร
และทรัพย์สินออกไปจากบ้านพิพาทเมื่อครบกาหนดระยะเวลาเช่ าตามข้อตกลงตามสัญญาประนี ประนอม
ยอมความซึ่ งโจทก์มีสิทธิบงั คับคดีได้ทนั ที
คำถำม ลงลายมื อชื่ อสั่งจ่ายเช็ คให้แก่บุคคลอื่ นเพื่อเป็ นประกันและมีขอ้ ตกลงว่าห้ามมิให้นาเช็ ค
ไปเรี ยกเก็บเงินจากธนาคาร แต่ไม่มีการจดข้อกาหนดดังกล่าวลงไว้ชดั แจ้งในเช็ค จะมีผลอย่างหนึ่ งอย่างใด
แก่เช็คหรื อไม่
การออกเช็ คไม่ลงวันที่ ต่ อมาผูท้ รงลงวันที่ หลังจากออกเช็ ค เป็ นระยะเวลากว่า 10 ปี จะถื อเป็ น
การลงวันที่สั่งจ่ายในเช็คโดยไม่สุจริ ตหรื อไม่
คาตอบ คาพิพากษาฎีกาที่ 3484/2559 โจทก์ฟ้องให้จาเลยทั้งสองชาระหนี้ ตามเช็ค เมื่อจาเลยทั้งสอง
รับว่าได้สั่งจ่ายเช็คพิพาททั้ง 26 ฉบับจริ ง ในเบื้องต้นต้องถื อว่าโจทก์เป็ นผูท้ รงเช็คโดยชอบด้วยกฎหมาย
จาเลยทั้งสองจึงต้องรับผิดตามเนื้ อความในเช็คตามกมมาตรา 900 วรรคหนึ่ง เมื่อจาเลยทั้งสองปฏิเสธความ
รับผิดอ้างว่า จาเลยทั้งสองลงลายมือชื่ อสั่งจ่ายเช็คพิพาทในฐานะกรรมการบริ ษทั บ. มอบให้แก่โจทก์ไว้
เพื่อเป็ นหลักประกันและมีขอ้ ตกลงว่า ห้ามมิให้โจทก์นาเช็คพิพาทไปเรี ยกเก็บเงิ นจากธนาคาร ซึ่ งเป็ นการ
กล่าวอ้างข้อเท็จจริ งเพื่อจะไม่ตอ้ งรับผิดตามเช็ค ดังนั้นภาระการพิสูจน์จึงตกแก่จาเลยทั้งสอง
เช็ คเป็ นตราสารเปลี่ ย นมื อที่ ตอ้ งการความเชื่ อถื อในระหว่า งผูส้ ั่ง จ่า ยและผูท้ รงทั้ง หลาย ว่าเมื่ อ
นาเช็คไปเรี ยกเก็บเงิ นแล้ว จะมี การจ่ายเงิ นตามเช็ ค ข้ อกำหนดเงื่อนไขใดๆอันเป็ นกำรห้ ำมหรื อจำกัดกำร
จ่ ำยเงิน จะพึงมีได้ จึงต้ องเป็ นไปตำมบทบัญญัติของกฎหมำย ซึ่ งข้ อตกลงว่ ำห้ ำมมิให้ โจทก์ นำเช็ คพิพำท
ไปเรี ยกเก็บเงินจำกธนำคำรตำมที่จำเลยทั้งสองกล่ ำวอ้ ำงนั้น ไม่ มีกำรจดข้ อกำหนดนี้ลงไว้ ชัดแจ้ งในเช็ ค
พิพำท จึงหำเป็ นผลอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดแก่เช็คพิพำทตำม ป.พ. พ. มำตรำ 915 (1) ประกอบมำตรำ 989 วรรค
หนึ่งถือว่ำจำเลยทั้งสองออกเช็คโดยมิได้ มีข้อกำหนดดังกล่ำว

โดย “สำนักงำนทนำยควำมตะวันใหม่ ”(ผ่ำคำบรรยำย) 3


การที่ จาเลยทั้งสองสั่งจ่ายเช็คพิพาททั้ง 26 ฉบับ เพื่อแลกเงิ นสดไปจากโจทก์และจาเลยทั้งสอง
มอบเช็คพิพาททั้ง 26 ฉบับให้โจทก์ไป โดยจำเลยทั้งสองไม่ ลงวันที่ออกเช็ คนั้น ย่ อมเป็ นพฤติกำรณ์ ที่ถือได้
ว่ำจำเลยทั้งสองยินยอมให้ โจทก์ ลงวันที่ออกเช็ คได้ เอง เมื่อโจทก์ เป็ นผู้ทรงเช็ คโดยชอบด้ วยกฎหมำยกระทำ
กำรโดยสุ จริต จดวันสั่ งจ่ ำยทีถ่ ูกต้ องแท้ จริงลงในเช็ คตำม ป.พ.พ.มำตรำ 910 วรรคท้ ำย ประกอบด้ วยมำตรำ
989 วรรคหนึ่ง กรณีหำเป็ นกำรลงวันที่สั่ งจ่ ำยในเช็ คโดยไม่ สุจริ ตไม่ เมื่อโจทก์ลงวันที่ 20 เมษายน 2556
ในเช็คพิพาททั้ง 26 ฉบับ อายุความ 1 ปี ตาม ป.พ.พ.มาตรา 1002 จึงเริ่ มนับตั้งแต่วนั ดังกล่าว ซึ่ งจะครบอายุ
ความในวันที่ 20 เมษายน 2557 เมื่อโจทก์มาฟ้ องจาเลยทั้งสองในวันที่ 26 มิถุนายน 2556 คดีโจทก์จึงไม่ขาด
อายุความ
คำถำม การเอาทรั พย์ที่ ผูอ้ ื่ นเป็ นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไปโดยทุ จริ ต จะเป็ นความผิดฐานลัก ทรั พ ย์
หรื อไม่
คำตอบ คำพิพำกษำฎีกำที่ 3142/2557 กำรเอำทรั พย์ ที่ผ้ ูอื่นเป็ นเจ้ ำของรวมอยู่ด้วยไปโดยทุจริ ต
ก็เป็ นควำมผิดฐำนลักทรัพย์ ตำมประมวลกฎหมำยอำญำมำตรำ 334 , 335 ดังนั้น แม้ฟังได้ตามข้ออ้างของ
จาเลย ว่าจาเลยและผูเ้ สี ยหายเป็ นเจ้าของรวมในน้ ายางพารา แต่จาเลยก็จะเอาน้ ายางพาราที่นายสมปองกรี ด
จากต้นยางพาราไปเพียงผูเ้ ดียวโดยขณะนั้นผู้เสี ยหำยเป็ นผู้เดียวที่ครอบครองและได้ ประโยชน์ ซึ่ งเป็ นไป
ไม่ได้ที่ผเู ้ สี ยหายจะครอบครองสวนยางพาราที่เกิดเหตุแทนจาเลยด้วย เพราะมีเหตุพิพาทและหย่าขาดจากกัน
แล้ว การกระทาของจาเลยจึงเป็ นการแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสาหรับตนเอง
ย่อมเป็ นการทุจริ ตแล้ว จึงเป็ นความผิดฐานลักทรัพย์ เมื่อน้ำยำงพำรำที่กรีดยังอยู่ในถ้ วยรองน้ำยำงยังไม่ ได้
ถูกนำไป จึงเป็ นเพียงพยำยำมกระทำควำมผิดฐำนลักทรัพย์

นำย ประเสริฐ เสี ยงสุ ทธิวงศ์


บรรณำธิกำร

โดย “สำนักงำนทนำยควำมตะวันใหม่ ”(ผ่ำคำบรรยำย) 4

You might also like