You are on page 1of 5

วารสารนนทรี/ ส.มก.

การขอเป็นผู้จัดการมรดกอย่างง่ายๆ
เตือนใจ เจริญพงษ์

เรื่อง “การขอเป็นผู้จัดการมรดก” มักเป็ตนรค�์ ำถาม ลูกหนี้เจ้ามรดกปฎิเสธบ้าง หรือแม้จะไปเบิกเงินธนาคาร


ศ าสาครอบครัว
ทีไ่ ด้ยนิ ได้ฟงั กันบ่อยครัง้ ทีม่ กี ารเสียชีวติ ของหัวรหน้ ธนาคารก็ปฎิเสธบ้างว่า ต้องน�ำเอาค�ำสั่งศาลตั้งผู้นั้นเป็น
ษต
จริงๆ แล้วเรือ่ งนีไ้ ม่ยงุ่ ยาก และต้องเสียเงิเนกทองมากมาย เพียง ผู้จัดการมรดกมาให้ดูมาแสดงเสียก่อนว่าผู้มาติดต่อนั้นศาล


แต่ต้องรู้ขั้นตอนว่า จะต้องท�ำอะไรยทีา่ไลหน อย่างไร วันนี้ขอน�ำ ได้ตั้งเป็นผู้จัดการมรดกแล้ว มิฉะนั้นไม่ด�ำเนินการให้
ความรู้เรื่องนี้มาฝากกัน ดังนี้ หาว
ิท จึงมีความจ�ำเป็นที่ทายาทจะต้องไปด�ำเนินการขอให้
เมื่อเจ้ามรดกตาย ท
ิ ัล มทรัพย์สมบัติของเจ้ามรดกซึ่งเรา ศาลแต่งตั้งตนเองหรือบุคคลอื่นเป็นผู้จัดการมรดก ซึ่งก็จะ
มักเรียกกันว่ากองมรดก ม ร ู้ดิจ เช่น ที่ดิน เงินฝากธนาคาร เงินที่เขา เสียเวลาพอสมควรกว่าจะยื่นค�ำร้องขอและกว่าจะไต่สวน
ควา ้ย เงินปันผล บ้านช่อง ย่อมตกเป็นของ
ยืมไป ค่าเช่ลาังดอกเบี ค�ำร้องและศาลมีคำ� สัง่ ประเหมาะเคราะห์รา้ ยมีคนอืน่ คัดค้าน
ทายาททันคที และก็ยังรวมถึงหนี้สินด้วย คือ เจ้ามรดกไปยืม เข้ามาอีกก็ยิ่งเสียเวลาไปอีก ความจริงกฎหมายก็มิได้บังคับไว้
เงินใครเขาไว้หรือเป็นหนี้เขา ค้างค่าเช่าบ้าน พวกนี้เป็นพวก ว่าหากเจ้ามรดกตายแล้วต้องตั้งผู้จัดการมรดก แต่ถ้ามีเหตุ
ความรับผิดก็ตกทอดมาถึงทายาทเหมือนกัน แต่ก็รับผิดใน ขัดข้องจึงตั้งจึงเป็นข้อคิดส�ำหรับผู้เกี่ยวข้อง เช่น ธนาคาร
ฐานะเป็นทายาทเท่านั้นไม่ใช่ฐานะส่วนตัว หากเป็นเงินจ�ำนวนเพียงเล็กน้อย ก็ควรจะจ่ายให้ทายาท
แม้วา่ กองมรดกจะตกทอดแก่ทายาทแล้วก็ตาม ก็อาจ เขาไปเลย เพียงแต่ให้มคี วามละเอียดรอบคอบหน่อยว่าเขาเป็น
มี ป ั ญ หาขั ด ข้ อ งในการจั ด สรรแบ่ ง ปั น มรดก หรื อ ติ ด ตาม ทายาทหรือไม่ เช่นจัดให้มคี นทีเ่ ชือ่ ถือได้รบั รองหรือค�ำ้ ประกัน
ทวงถามหนี้สินที่บุคคลอื่นเป็นหนี้เจ้ามรดกอยู่ หรือจะไปโอน ว่าเขาเป็นทายาทจริง เช่นนี้ก็จะเป็นการอ�ำนวยความสะดวก
ที่ดินเป็นของตน เจ้าหน้าที่ส�ำนักงานที่ดินก็จะปฎิเสธบ้าง ให้แก่ประชาชน

68
www.ku-alumni.org

ส่วนศาลเองก็ควรผ่อนสั้นผ่อนเบาให้ โดยจัดให้มี 3. ใครเป็นผู้จัดการมรดกได้


แบบค�ำร้องขอเป็นผู้จัดการมรดกแบบง่ายๆ ไว้ให้ หากเป็น ผู้จัดการมรดกไม่จ�ำเป็นต้องเป็นทายาทของเจ้า
มรดกจ�ำนวนเล็กน้อย โดยมีประชาสัมพันธ์ศาลช่วยแนะน�ำ มรดกจะเป็นใครก็ได้ แต่ผู้มีสิทธิร้องขอต่อศาล ต้องเป็น
ซึ่ ง ทราบว่ า ทางปฏิบัติก็มีอยู่ นับว่าเป็นการอ� ำนวยความ ทายาทหรือผูม้ สี ว่ นได้เสียดังทีก่ ล่าวแล้ว ทายาทอาจขอให้ศาล
สะดวกให้แก่ประชาชนโดยแท้จริง ถือได้ว่าเป็นที่พึ่งของ ตั้งนาย ก. นาย ข. หรือนาย ค. ก็ได้ ประการส�ำคัญผู้ที่จะเป็น
ประชาชนจริงๆ อย่างไรก็ดี หากเป็นมรดกรายใหญ่มีมากมาย ผู้จัดการมรดกต้องบรรลุนิติภาวะแล้ว ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต
มีเรื่องซับซ้อนยุ่งยากหรือมีผู้ยื่นคัดค้านเข้ามา เช่นนี้ก็จ�ำเป็น หรือบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นผู้เสมือนไร้ความสามารถ ไม่เป็น
ที่ จ ะตั้ ง ผู ้ มี ค วามเชี่ ย วชาญเข้ า มาช่ ว ยโดยตรงคื อ ควรมี บุคคลที่ศาลสั่งให้เป็นคนล้มละลาย คนประเภทนี้เห็นแล้วว่า
ทนายความเข้ามาด�ำเนินการแทนจะปลอดภัยกว่า เพราะ ไม่สามารถรู้ผิดชอบ หย่อนความคิดอ่าน มีหนี้สินล้นพ้นตัว
ทนายเป็นผู้ใช้กฎหมายอยู่โดยตรง ขืนไปจัดการทรัพย์สนิ คนอืน่ ก็มแี ต่จะเสียหายยิง่ ขึน้ ไปเท่านัน้
การขอเป็นผู้จัดการมรดกนั้นมีข้อที่ควรรู้ไว้ ดังนี้ 4. การยื่นค�ำร้องขอยื่นที่ไหน
1. จะขอเป็นผู้จัดการมรดกเมื่อใด ยืน่ ทีศ่ าล โดยทัว่ ไปเจ้ามรดกมีภมู ลิ ำ� เนาทีไ่ หน เช่น
เมื่อเจ้ามรดกตาย เจ้ามรดกมีทรัพย์มรดก และ ที่ขอนแก่น เชียงใหม่ ตรัง ตราด ก็ยื่นศาลที่เป็นภูมิล�ำเนาของ
มีเหตุขัดข้องที่จะต้องจัดการมรดก ผู้ตายนั่นเอง ถ้ายื่นที่ศาลจังหวัดในกรุงเทพฯ ก็ยื่นที่ศาลแพ่ง
2. ใครเป็นผูม้ สี ทิ ธิรอ้ งขอให้ศาลมีคำ� สัง่ ตัง้ ผูจ้ ดั การ แพ่งกรุงเทพใต้ แพ่งธนบุรี หรือศาลจังหวัดมีนบุรี แล้วแต่กรณี
มรดก 5. ค�ำร้องต้องท�ำอย่างไร
ผู้มีสิทธิร้องขอให้ศาลมีค�ำสั่งตั้งผู้จัดการมรดก ดังได้กล่าวมาแล้วว่าการท�ำค�ำร้องเป็นเรื่องที่ผู้มี
ได้แก่ ทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดกที่มีสิทธิรับมรดก เช่น ความรู้ในทางกฎหมายและทางปฏิบัติเท่านั้นจะเข้าใจและ
บุตร บิดามารดา คู่สมรสของเจ้ามรดกผู้รับพินัยรกรรมของ
ต ์ ท�ำได้ถกู ต้อง เราประชาชนหรือมีอาชีพอืน่ ย่อมไม่เข้าใจ ก็ตอ้ ง
เจ้ามรดก ซึ่งอาจเป็นบุคคลภายนอกก็ได้ ผู้มศีสา่วสนได้เสีย เช่น ปรึกษานักกฎหมายหรือทนายความ ส�ำหรับค�ำร้องจะมีแบบ
เจ้าของร่วมในทรัพย์สินของเจ้ามรดก กรณี ษตรเช่นนี้ที่มีมาก คือ ค�ำร้องแล้วน�ำมาบรรยายในค�ำร้องระบุรายละเอียดต่างๆ
กรณีที่สามีภริยาไม่จดทะเบียนสมรสและมี ล ย
ั เก ทรัพย์สินร่วมกัน เช่น ชื่อ ต�ำบล ที่อยู่ผู้ร้อง เป็นทายาทผู้ตายๆ ผู้ตายเมื่อไหร่
ว ท
ิ ยา
นัน่ เอง ส�ำหรับเจ้าหนี้ ไม่ถอื ว่าาเป็นผูม้ สี ว่ นได้เสีย จึงไม่อาจขอ มีหลักฐานการตาย ผู้ตายมีทายาทกี่คนใครบ้าง มีทรัพย์สิน

ิท ัล ม
ให้ศาลมีค�ำสั่งตั้งผู้จัดการมรดกได้ อะไรบ้าง มีเหตุขดั ข้องอย่างไร และท้ายสุดก็ขอให้ศาลมีคำ� สัง่
ู ด
้ จ

ว ามร ตั้งผู้จัดการมรดก โปรดดูตัวอย่างต่อไปนี้
ลัง ค

69
วารสารนนทรี/ ส.มก.

ค�ำร้องขอ

คดีหมายเลขด�ำที่...................................................
คดีหมายเลขแดงที่..................................................
ศาลจังหวัด..........ขอนแก่น...............................................
วันที่...25...เดือน......มกราคม.......พุทธศักราช...2534......
ความ........แพ่ง...................................................................

....นายเด่น..ดอกประดู่...ร้องขอเป็นผู้จัดการมรดก..โจทย์
ระหว่าง โดยไม่พินัยกรรมของนายแดน ดอกประดู่ ผู้ตาย
.................................................................................จ�ำเลย

ข้าพเจ้า.........................................................................นายเด่น..ดอกประดู่............................................................................................................................
เชือ้ ชาติ..................................ไทย............................สัญชาติ.....................................ไทย....................................อาชีพ.......................รับจ้าง....................................
เกิดวันที.่ .............1.................เดือน..........................มิถนุ ายน........................พ.ศ...............2480...............อายุ............48.............ปี อยูบ่ า้ นเลขที.่ .........1...............
ถนน............................กลางบ้าน........................ตรอกหรือซอย.....................................................................ใกล้เคียง............................วัดโพธิท์ อง..........................
ต�ำบล..............................หนองโน.............................อ�ำเภอ..............................ชนบท...............................จังหวัด.............................ขอนแก่น.................................
ขอยื่นค�ำร้องมีข้อความตามที่จะกล่าวต่อไปนี้
ผูร้ อ้ งเกีย่ วข้องเป็น.............................บุตร................................ของนาย.......................................แดน.......ดอกประดู.่ .........................................................
ผู้ตายปรากฏตามบัญชีเครือญาติ เอกสารท้ายค�ำร้องหมายเลข.........................1...................................
เมื่อวันที่..............1...................เดือน.................................ธันวาคม........................................พ.ศ.......................2533......................................................
นาย, นาง ...................................แดน.........ดอกประดู่................................................ถึงแก่กรรมด้วย.................................โรคหัวใจล้มเหลว.................................
ณ บ้านเลขที.่ .......................1..............................ถนน......................................กลางบ้าน................................ต�ำบล...............................หนองโน............................
อ�ำเภอ.................................ชนบท..2.............................จังหวัด........................................ขอนแก่น.......................................ปรากฏตามส�ำเนามรณบัตร
ร ์
เอกสารท้ายค�ำร้องหมายเลข................................................................................................................

นาย,นาง................................................แดน.........ดอกประดู
ร ศ าส ่.................................................ผู้ตาย............................... มีมรดก.......................................

คือ...................................เงินสดฝากอยู่ในธนาคาร..............................................สาขา.................................เป็ นเงิน.....................2,000..บาท................................
เัย กษ ่งราคา..........................5,000.............................บาท
มีที่ดิน..........................น.ส...3.....................................แปลงหนึ
ย าล
รายละเอียดปรากฏตามบัญชีเอกสารท้ ท

าว ายค�ำร้องหมายเลข.............................................3.................................................
ม ห

ิ ล

มรดกดังกล่าวนี้ ............................................…..นายแดน…ดอกประดู .่ ................................................................................…ผู้ตายไม่ได้ทำ� พินยั กรรมไว้แต่อย่างใด
ผู้ร้องมีเหตุขัดข้องไม่
ร ด
้ ู ิจส ามารถจั ด การมรดกของผู ต
้ ายได้ เนื อ
่ งจาก ธนาคารที่รับฝากเงินคือ…และเจ้าพนักงานที่ดิน…..ปฏิเสธไม่ด�ำเนินการจ่ายเงินและ….
โอนที่ดินให้ผู้ร้องโดยอ้าามงว่าให้นำ� ค�ำสั่งศาลตั้งผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกมาแสดงก่อน..............จึงจะ...............จัดการให้.............

ผูร้ อ้ งเป็ังนคผูบ้ รรลุนติ ภิ าวะและไม่เป็นบุคคลวิกลจริต บุคคลซึง่ ศาลสัง่ ให้เป็นผูเ้ สมือนไร้ความสามารถ หรือบุคคลซึง่ ศาลสัง่ ให้เป็นบุคคลล้มละลาย มีความ
คล
สามารถที่จะจัดการมรดกรายนี้ได้
ฉะนั้น ขอศาลได้โปรดไต่สวนค�ำร้องและมีคำ� สั่งตั้งผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกของ นาย,นาง….............…แดน.......ดอกประดู่......…….ผู้ตาย ต่อไป
อนึง่ เนือ่ งจากผูร้ อ้ งเป็นคนยากจน ทัง้ มรดกรายนีก้ ม็ จี ำ� นวนเล็กน้อย จึงขอศาลให้โปรดพิจารณาอนุญาตให้ประกาศนัดไต่สวนค�ำร้องทีห่ น้าศาลแทนการ
ประกาศทางหนังสือพิมพ์ด้วย

ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด

ลงชื่อ........เด่น.....ดอกประดู่...... ผู้ร้อง
ค�ำร้องฉบับนี้ ข้าพเจ้า......เด่น.....ดอกประดู่.......เป็นผู้เรียบเรียงและเขียน
ลงชื่อ........เด่น.....ดอกประดู่.......ผู้เรียงและขียน

70
www.ku-alumni.org

เป็นค�ำร้องแบบง่ายๆ และปรากฏว่าผู้ร้องคดีนี้ 7. การขอรั บ ค� ำ สั่ ง ศาลกรณี ศ าลสั่ ง ตั้ ง ผู ้ จั ด การ


เป็นคนยากจนและมรดกคิดเป็นเงินเพียง 7,000 บาท เท่านั้น มรดกแล้ว
จึ ง ขออนุ ญ าตเป็ น พิ เ ศษในตอนท้ า ย เพราะหากประกาศ ก็ต้องท�ำค�ำร้องขอเข้ามา ศาลจะด�ำเนินการให้
หนังสือพิมพ์แล้วอาจเสียค่าประกาศหนังสือพิมพ์เป็นร้อยเป็น โดยไม่ชักช้า เมื่อได้ค�ำสั่งศาลก็น�ำไปแสดงต่อธนาคาร หรือ
พันบาท ซึ่งไม่มีเสีย แต่หากเป็นกรณีทรัพย์สินมากมายก็ควร เจ้าพนักงานทีด่ นิ หรือบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับมรดกของผูต้ ายได้
ประกาศทางหนังสือพิมพ์โดยไม่ต้องขออนุญาตดังตอนท้าย 8. ผู้จัดการมรดกจะถูกถอนจากการเป็นผู้จัดการ
ของค�ำร้องนี้ ได้หรือไม่
6. การยื่นค�ำร้องและนัดไต่สวนท�ำอย่างไร หากผูจ้ ดั การมรดกปล่อยปละละเลย ไม่ดำ� เนินการ
เมื่อยื่นค�ำร้องแล้วเจ้าหน้าที่จะเสนอศาล ศาล จัดการมรดก หรือจัดการมรดกเสียหาย ประมาทเลินเล่อใน
จะสั่งนัดว่าไต่สวนหรือมีค�ำสั่งอย่างอื่นต่อไป ทางปฏิบัติก็ขอ การจัดการมรดก หรือทุจริตในการจัดการมรดก เช่น เบียดบัง
ให้ ป ระกาศหน้าศาลหรือทางหนังสือพิมพ์ โดยให้ เวลาพอ เอาเป็นของตนเองบ้าง เช่นนี้นอกจากจะผิดฐานยักยอกทาง
สมควร โดยทั่วไปศาลจะไต่สวนหลังจากรับค�ำร้องประมาณ อาญามีโทษถึงจ�ำคุกแล้ว ก็อาจถูกถอนจากการเป็นผู้จัดการ
1 เดือน การไต่สวน ผู้ร้องจะต้องมาศาลและน�ำพยานอื่น เช่น มรดกได้ โดยผู้มีส่วนได้เสียร้องขอให้ศาลสั่งถอนจากการเป็น
ทายาทคนอื่นๆ มาด้วย หรือขอให้ตั้งบุคคลอื่นเป็นผู้จัดการ ผูจ้ ดั การมรดกได้ แต่กต็ อ้ งขอเสียก่อนการแบ่งปันมรดกเสร็จ
มรดกมาด้วย เพื่อไต่สวนว่าเป็นผู้ยินยอมเป็นผู้จัดการมรดก สิ้นลง
การไต่สวนโดยทั่วไปใช้เวลาไม่นานก็เสร็จ คดีเช่นนี้ศาลมักจะ 9. ค�ำพิพากษาฎีกาเกี่ยวกับผู้จัดการมรดก
นัดตอนบ่าย 1.ค�ำฎีกาที่ 331/2525 ผู้ตายท�ำพินัยกรรมไว้
เมื่อไต่สวนเสร็จก็คือการน�ำพยานแต่ตรล์ ะฝ่ายไป แม้ผคู้ ดั ค้านเป็นบุตรของผูต้ าย แต่ตามพินยั กรรมผูค้ ดั ค้านไม่มี

ให้การต่อศาลเรียกว่าเบิกความนั่นเอง เสร็ตรจศแล้า ว ศาลจะจด ส่วนได้รับทรัพย์สินของผู้ตายเลย จึงไม่สามารถตั้งผู้คัดค้าน
รายงานการไต่สวน หากเป็นเรื่องไม่ซัยับเซ้กษอนศาลก็นัดฟังค�ำสั่ง เป็นผู้จัดการมรดกร่วมด้วย

วันนั้นเลย คือ สั่งให้เป็นหรือไม่ิทเยป็านผู้จัดการมรดกนั่นเองแต่ ข้อสังเกต ศาลจะพิจารณาตั้งใครเป็นผู้จัดการ
หากเป็นเรื่องซับซ้อนมรดกมาก ห าว เช่นนี้ศาลอาจนัดฟังค�ำสั่งวัน มรดกต้องค�ำนึงถึงประโยชน์ของกองมรดกเป็นส�ำคัญ
อื่ น ก็ ไ ด้ เพื่ อ ศาลจะได้ ท
ิ ัล มต รวจส� ำ นวนโดยละเอี ย ดต่ อ ไป 2. ฎีกาที่ 1481/2510 ศาลไม่จ�ำต้องตั้งผู้จัดการ
ทางปฏิบัติส่วนใหญ่ ม ร ู้ดิจมักไม่มีปัญหาศาลสั่งได้เลย แต่การจะ มรดกตามพินยั กรรมอาจตัง้ ทายาทหรือผูม้ สี ว่ นได้เสียคนอืน่ ที่
ค ว า
ลัง อาจเป็นวันรุ่งขึ้น เพราะจะต้องพิมพ์ให้เรียบร้อย
รับค�ำสั่งคไปก็ เหมาะสมก็ได้
ถูกต้อง มีคำ� รับรองว่าเป็นส�ำคัญค�ำสัง่ ทีถ่ กู ต้อง ไม่ใช่วา่ พอศาล
สั่งอนุญาตจะรับค�ำสั่งไปได้เลย

71
วารสารนนทรี/ ส.มก.

3. ฎีกาที่ 1491/2523 ทายาททีจ่ ะร้องขอต่อศาล


ให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้ หมายถึงทายาทผู้มีสิทธิได้รับมรดก
เท่านั้น
ข้อสังเกต ผู้ถูกตัดมิให้รับมรดก ผู้ถูกก�ำจัดมิให้รับ
มรดก ไม่มีสิทธิร้องขอตั้งผู้จัดการมรดก
4. ฎีกาที่ 2095/2523 ภริยาไม่จดทะเบียนสมรส
และไม่มที รัพย์รว่ มกันไม่ใช่ผมู้ สี ว่ นได้เสียในทรัพย์สนิ มรดกของ
สามี ไม่มีสิทธิร้องขอเป็นผู้จัดการมรดก
5. ฎีกาที่ 2021/2524 ศาลจะตัง้ ผูใ้ ดเป็นผูจ้ ดั การ
มรดกต้องค�ำนึงถึงความสมควรเพือ่ ประโยชน์แก่กองมรดกตาม
พฤติการณ์ ไม่จ�ำต้องได้รับความยินยอมจากทายาททุกคน
6. ฎีกาที่ 1695/2531 (ประชุมใหญ่) กองมรดก
ที่ไม่มีทายาทนั้น แม้มรดกจะตกทอดแก่แผ่นดิน แผ่นดินก็
มิใช่ทายาท เจ้าหนี้ไม่อาจบังคับช�ำระหนี้ได้จนกว่าจะได้ตั้ง
ผู้จัดการมรดกขึ้น และหากไม่มีผู้จัดการมรดกอยู่ตราบใด
เจ้าหนี้ก็ไม่มีทางได้รับช�ำระหนี้ได้เลย การที่เจ้าหนี้จะได้รับ
ช�ำระหนี้จากกองมรดกขึ้นอยู่กับการที่กองมรดกมีผู้จัดการ
มรดก ในกรณีเช่นนีจ้ งึ ต้องถือว่าเจ้าหนีเ้ ป็นผูม้ สี ว่ นได้ตรเสี์ ยและ
มีสิทธิร้องต่อศาลขอให้ตั้งผู้จัดการมรดกได้ ตส่รวศนปั าส ญหาที่ว่า
สมควรตั้งผู้ร้องเป็นผู้จัดการมรดกหรือัยเไม่กษนั้น แม้ผู้ร้องเป็น
าล
เจ้าหนี้กองมรดกซึ่งตามปกติย่อมมี ิาวทย ส่วนได้เสียเป็นปฏิปักษ์
ต่อกองมรดก แต่เมื่อไม่ปรากฏว่

ั มห ามีผู้มีส่วนได้เสียอื่นอีก และ
พนักงานอัยการมิได้คัดิจิทค้าน จึงสมควรตั้งผู้ร้องเป็นผู้จัดการ
มรดกได้ า ม รู้ด

ข้คอลสัังงคเกต ศาลฎีกาได้ให้เหตุผลไว้แล้วว่า ท�ำไมเจ้า
หนี้กองมรดกคดีนี้จึงร้องขอตั้งผู้จัดการมรดกได้ และเป็นผู้
จัดการมรดกได้

72

You might also like