You are on page 1of 23

 การเมืองภายใต้คณะปฏิรปู การปกครอง(ร ัฐบาล

หอย) –ประชาธิปไตยครึง่ ใบ-ประชาธิปไตยเต็มใบ


ต้นทศวรรษ 2530
• ยึดอำนาจ ยกเลิกร ัฐธรรมนูญ ห้ามตงพรรค ั้
• ธานินทร์ กร ัยวิเชย ี ร เป็นนา
ยกฯ(๘ต.ค.๑๙-๒๐ต.ค.๒๐)
• ร ัฐบาลหอยทีม ่ ี “เปลือกหอย” คอยค้ำจุน
• คณะร ัฐบาลล้วนเป็นบุคคลทีม ่ แ
ี นวคิดอนุร ักษ์ฯ
สุดขวั้
• นโยบายร ัฐบาล ขวาจ ัด(ยิง่ กว่ายุคใด ๆ)
ปิ ดกนเสรี
ั้ ื พิมพ์
ภาพหน ังสอ
ออก น.ส.พ.เจ้าพระยาเอง เพือ่ โฆษณาชวนเชอ ื่ ให้
ร ัฐบาล ไม่ขายแต่แจกจ่าย แต่ใชง้ บประมาณ
ร ัฐบาลพิมพ์
ธานินทร์เขียนหน ังสอ ื ล ัทธิ
คอมมิวนิสต์ และ ประชาธิปไตย
พิมพ์แจกจ่ายทว่ ั ประเทศ
วางโครงการพ ัฒนาประชาธิปไตย
๑๒ ปี “บ ันได 3 ขนั้ ”
๒๖ มี.ค.๒๐ เกิดกบฏ โดย
พล.อ.ฉลาด หิร ัญศริ ิ ถูกปราบโดย
พล.อ.เกรียงศกดิั ฯ์ และถูก ม.๒๑
ประหารชวี ต ิ
พ.ค.ท.ขยายต ัวอย่างมาก มี นิสต ิ
 รัฐบาล พล.อ.เกรียงศก
ั ดิ์
(นายกแกงเขียวหวานใสบ ่ รั่นดี)
• ย ังเติรก ั ์ ปฏิว ัติ และให้เป็นนายก
์ หนุน เกรียงศกดิ
ร ัฐมนตรี
• ประชาชนให้การต้อนร ับร ัฐบาลพล.อ.เกรียงศกดิ ั ์
เพราะทนแรงกดด ันทางการเมืองจากยุคหอยครอง
เมืองไม่ไหว

• ร่าง ร.ธ.น. ประกาศใช ้ 22 ธ.ค.2521 เป็น ร.ธ.น.ทีก่ ำหนด


ระบบการเมืองให้เป็น ป.ช.ต.ครึง่ ใบ(ในระยะเวลา ๔ ปี )
“ฉบ ับหมาเมิน”
น.ร.ม.ไม่ตอ ้ งมาจาก ส.ส. ให้ขา้ ราชการเป็นร ัฐมนตรีได้
ผูส ้ ม ัครส.ส.ย ังไม่ตอ ั ัดพรรคการเมือง
้ งสงก
วุฒส ิ ภาเป็นสภาค้ำจุนอำนาจการเมืองร ัฐบาลมีอำนาจ
เท่าก ับส.ส. “พรรคราชการ”
• 22 เม.ย.2522 เลือกตงั้ ตาม ร.ธ.น.ฉบ ับ 2521 แต่
ไม่มพ ี รรคการเมือง เลือกในนามกลุม ่ การเมือง
เนือ
่ งจากย ังไม่มก ี ฎหมายตงพรรคการเมื
ั้ อง
• พล.อ.เกรียงศกดิ ั ์ ตงวุ
ั้ ฒส ิ ภา 3 ใน 4 ของ ส.ส.
(อำนาจเท่าก ันตามบทเฉพาะกาล)
• ประธานวุฒส ิ ภา เป็นประธานร ัฐสภา
• หล ังเลือกตงั้ เกรียงศกดิ ั ์ เป็นนายกฯ ด้วยการ
สน ับสนุนจากย ังเติรก ์ ทีไ่ ด้ร ับแต่งตงเป
ั้ ็ น ส.ว.
• เป็นนายกทีไ่ ม่ได้มาจากการเลือกตงั้ ไม่มก ี ลุม

การเมืองสน ับสนุน
• เกิดวิกฤตการณ์ขน ึ้ ราคาน้ำม ัน
ประชาชน นิสต ิ น ักศก ึ ษา กรรมกร
เตรียมประท้วงใหญ่
• ย ังเติรก์ ไม่พอใจร ัฐบาลเกรียงศกดิ ั ์
ทีไ่ ม่ฟง
ั ข้อเสนอ ตบเท้าเข้าพบกดด ัน
ให้ลาออก
• พลเอกเกรียงศกดิ ั ล ์ าออกกลางสภา
• สภาฯ และ ย ังเติรก ์ หนุน
พล.อ.เปรมฯเป็นนายกร ัฐมนตรี
• เกรียงศกดิ ั ฯ์ ลงเลือกตงร้ ั้ อยเอ็ด เพือ

 รัฐบาลกึง่ ประชาธิปไตย(๒๓-๓๑) :
“ยุคเทคโนแครต”
• ล ักษณะกึง่ ประชาธิปไตย :
บทเฉพาะกาลร ัฐธรรมนูญ
• วุฒสิ ภาค้ำจุนร ัฐบาล
• เทคโนแครต มีบทบาทกำหนด
นโยบายร ัฐบาล
• น.ร.ม. ยืนบนหอคอยการเมือง ไม่ยง
ุ่
พรรคการเมือง
• ส.ส. พรรคการเมือง ไม่มอี ำนาจ
• การเพิม
่ บทบาทภาคเอกชนใน
กระบวนการกำหนดนโยบาย และ
การแก้ไขปัญหาของประเทศ (กรอ.)

• วิกฤตการณ์ร ัฐธรรมนูญ ม.ค.-


มี.ค.2526 (บทเฉพาะกาล)
กองท ัพ(พล.อ.อาทิตย์ฯ) ผล ักด ันให้
แก้ไขร ัฐธรรมนูญ
พรรคการเมือง ส.ส. เคลือ ่ นไหวต่อ
รองทางการเมืองก ับกลุม
่ หนุนเปรมฯ
เพือ
่ แก้ รธน.
ิ้ สุด 22 เม.ย.
บทเฉพาะกาล รธน. 2521 (สน
2526)
• วิธเี ลือก ส.ส. ต ้องใช ้ “รวมเขต-รวมเบอร์” แทน “แบ่งเขต-
เรียงเบอร์(ในชว่ งต ้นของการใชรั้ ฐธรรมนูญ 2521)
• ผู ้สมัคร ส.ส.ต ้องสงั กัดพรรคการเมือง
• พรรคการเมืองต ้องสง่ ผู ้สมัคร ไม่น ้อยกว่ากึง่ หนึง่ ของ ส.ส.
• ขรก.ประจำดำรงตำแหน่ง นรม. รมต. ตำแหน่งการเมือง
ไม่ได ้
• อำนาจวุฒส ิ ภาลดน ้อยลง ไม่มส ิ ธิพจ
ี ท ิ ารณาเรือ
่ งร่วมกับ
ส.ส.
( พิจารณางบประมาณ,อภิปรายทัว่ ไป,ร่าง พ.ร.บ.ที่
ครม.แจ ้งว่าเป็ นกฎหมายความมั่นคง - ศ.ก. - ราชบัลลังก์ ,
พ.ร.ก.)
 รัฐบาลธุรกิจประชาธิปไตย :
ยุคเริม
่ ต ้นธุรกิจการเมือง
• พล.อ.เปรมฯยุบสภา เลือกตงั้ 24 ก.ค. 2531
• น ักวิชาการ 99 คนลงชอ ื่ ถวายฎีกา ค ัดค้าน
พล.อ.เปรม เป็น นรม. พล.อ.เปรมฯประกาศไม่
เป็น นรม.
• พล.อ.ชาติชายฯ เป็น นรม. ประชาธิปไตยเต็มใบ
• ร ัฐบาลปฏิเสธ “เทคโนแครต”
• ใชท ้ ม
ี ทีป
่ รึกษา “บ้านพิษณุ โลก” เป็นเครือ ่ งมือ
ด้านนโยบาย
• ร ัฐบาลทีต ่ สูเ้ กมสอ
่ อ ์ ำนาจก ับสถาบ ันทหาร
• นโยบาย “แปลงสนามรบให้เป็นตลาดการค้า”
• การเติบโตทางเศรษฐกิจในอ ัตราทีส ่ ง

• เศรษฐกิจฟองสบู่ คูก่ ับการขยายต ัวของชนชน ั้
กลาง
ิ ปัญหาท้าทายการสร้างเสถียรภาพ
• เผชญ
ทางการเมือง
ความข ัดแย้งก ับผูน
้ ำกองท ัพ (พล.อ.สุนทรฯ
พล.อ.สุจน
ิ ดา)
การท้าทายผูน ้ ำกองท ัพ กรณี ร.ต.อ.เฉลิมฯ และ
กรณีการจะแต่งตงั้ พล.อ.อาทิตย์ฯ เป็น
รมช.กลาโหม
บทบาท”ทีป ่ รึกษาบ้านพิษณุ โลก” ความไม่พอใจ
ของผูน
้ ำกองท ัพ
การคอร์ร ัปชน่ ั ของร ัฐมนตรี : นายกฯ ให้หาใบเสร็จ
มาแสดง
• คณะ รสช. จีต
้ ัวนายกบนเครือ ่ งบิน ร ัฐประหารยึด
อำนาจ
• เหตุผลการยึดอำนาจ 23 ก.พ. 2534

แทรกแซง และสร้างความแตกแยกต่อกองท ัพ

การคอร์ร ัปชน่ ั ในกลุม


่ น ักการเมือง
• ประชาชน น ักการเมือง ไม่มป ี ฏิกริ ย
ิ าต่อต้านการ
ปฏิว ัติ
• ประกาศใชธ ้ รรมนูญการปกครอง 2534 ตงร ั้ ัฐบาล
พลเรือน
รัฐบาล รสช. สู่ “พฤษภาทมิฬ”

• ยึดอำนาจโดยคณะร ักษาความสงบเรียน
ร้อยแห่งชาติ (รสช.) นำโดย พลเอกสุนทร
คงสมพงษ์ และพลเอกสุจน ิ ดา คราประยูร
• หล ังยึดอำนาจ “ร ัฐบาลนายอาน ันท์ ปันยาร
ชุน เป็นนายกร ัฐมนตรี”
• แต่งตงกระบวนการตรวจสอบความร่ำรวย
ั้
ผิดปกติน ักการเมือง
• เกิดโครงการเผยแพร่ประชาธิปไตย (ส ี่
ทหารเสอ ื )
• ฯลฯ
“รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ.2534”
• 9 ธ.ค. 2534 ประกาศใชรั้ ฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ.2534 และ
ให ้มี เลือกตัง้ 22 มี.ค.2535
• จำนวนส.ส. 360 คน สมาชก ิ วุฒส
ิ ภามาจากการแต่งตัง้
จำนวน 270 คน วุฒส ิ ภามาจากการแต่งตัง้ ของ รสช.
• โดยประธานวุฒส ิ ภาเป็ นประธานรัฐสภา และประธาน
สภาผู ้แทนราษฎรเป็ นรองประธานรัฐสภา
• รัฐมนตรีต ้องไม่เป็ นราชการประจำ การบริหารประเทศ
ของคณะรัฐมนตรีจะต ้องแถลงนโยบายต่อรัฐสภาโดย
ไม่ต ้องลงมติไว ้วางใจจากรัฐสภา
• หล ังเลือกตงพรรคสาม
ั้ ัคคีธรรมได้ร ับเลือก
สูงสุด (79 คน) เป็นแกนจ ัดตงร
ั้ ัฐบาล โดย
สน ับสนุน พล.อ.สุจนิ ดาฯเป็น นรม. เมือ่ 10
เม.ย. 2535

ั้
• 17-20 พ.ค. 2535 ชนชนกลางชุ มนุมประท้วง
การสบ ื ต่ออำนาจของ รสช.(อ่าน : อเนก เหล่า
ั้
ธรรมท ัศน์ , “ม็อบมือถือ”ชนชนกลางและน ักธุรกิจก ับ
พ ัฒนาการประชาธิปไตย”

• เกิดเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พล.อ.สุจนิ ดา ลา
่ ค
ออก เข้าสูย ุ การปฏิรป
ู การเมือง
หลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬและ
การแก ้ไขรัฐธรรมนูญ 2534 (วันที่ 10 มิถน
ุ ายน 2535)

• เป็ นการผลักดันมาตัง้ แต่กอ่ นการเลือกตัง้ ทัว่ ไป


22 มี.ค.2535 และก่อนเกิดเหตุการณ์พฤษภา
ทมิฬ ใน 4 ประเด็นสำคัญคือ
• 1. ให ้ประธานสภาผู ้แทนราษฎรเป็ นประธาน
รัฐสภา และประธานวุฒส ิ ภาเป็ นรองประธาน
รัฐสภา
• 2. ให ้มีสมัยประชุมสามัญของรัฐสภาสองสมัย
• 3. ลดอำนาจวุฒส ิ ภาลงเหลือเพียงอำนาจใน
การกลัน ่ กรองร่างกฎหมายของสภาผู ้แทน
ราษฎรเท่านัน ้
การแก ้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ.2534 จำนวน 25
ประเด็น
• 8 ธ.ค. 2537 รัฐสภาพิจารณาร่าง รธน. แก ้ไขเพิม ่ เติม (ฉบับที่ 5) ซงึ่
ประกาศใช ้ 10 ก.พ. 2538 เป็ นการแก ้ไขครัง้ ใหญ่ ม. 24 – ม. 211

• แก ้ไขเพิม่ เติมหมวด 3 ถึง หมวด 11 มาตรา 24 ถึงมาตรา 211 ของ


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศก ั ราช 2534 ซงึ่ เป็ นเรือ
่ งทีว่ า่
ด ้วย
• - สทิ ธิและเสรีภาพของชนชาวไทย (หมวด 3) - หน ้าทีข ่ องชนชาวไทย
(หมวด 4)
• - แนวนโยบายแห่งรัฐ (หมวด 5) - รัฐสภา (หมวด 6)
• - คณะรัฐมนตรี (หมวด 7) - ศาล (หมวด 8) - การปกครองท ้องถิน ่ (หมวด 9)
• - ตุลาการรัฐธรรมนูญ (หมวด 10) และ - การแก ้ไขเพิม่ เติมรัฐธรรมนูญ
(หมวด 11)
กระแสการปฏิรป
ู การเมืองและความต่อเนือ
่ ง

• คณะกรรมการพ ัฒนาประชาธิปไตย(คพป.) จ ัดทำข้อ


เสนอกรอบความคิดในการปฏิรป ู การเมืองไทยเมือ่ 28
เม.ย. 2538 มีขอ้ เสนอ 2 ประการ
-ควรมีองค์กรทีท ่ ำหน้าทีพ
่ ัฒนาการเมืองอย่างต่อเนือ
่ ง
-ควรมีการปฏิรป ู การเมือง

ื เพิม
(อ่านหน ังสอ ่ เติม : (1) คณะกรรมการพ ัฒนา
ประชาธิปไตย(คพป.), ข้อเสนอกรอบความคิดในการ
ปฏิรป
ู การเมืองไทย และ
(2) ศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะส ี , การพ ัฒนา
ประชาธิปไตยและ การปฏิรป ู การเมือง )
• ความต่อเนือ
่ งของการปฏิรป
ู การเมือง

• ร ัฐบาลชวนเจอปัญหา ส.ป.ก. 4-01 (Conflict of


Interest) จนต้องยุบสภา 19 พ.ค. 2538 เลือกตง ั้
ใหม่ 2 ก.ค. 2538

ี งเลือกตงท
• การหาเสย ั้ ว่ ั ไป พรรคชาติไทย ชู
นโยบายการปฏิรป ู การเมือง และ การปฏิรป ู
ระบบราชการ

• พรรคชาติไทย ได้ ส.ส. 92 คน เป็นแกนนำตงั้


ร ัฐบาล นำโดยนายบรรหาร ศล ิ ปอาชา
ิ ปอาชา(๑๓
 รัฐบาล นายบรรหาร ศล
ก.ค.๓๘ – ๒๕ พ.ย. ๓๙)
• ร ัฐบาลจำต้องดำเนินนโยบายปฏิรป ู การเมือง เพราะ
แถลงเป็นนโยบายระหว่างหาเสย ี ง แต่ไม่ได้นำข้อเสนอ
ของ คพป. มาดำเนินการต่อ แต่แต่งตงคณะกรรมการ
ั้
ขึน ิ ปะอาชา เป็นประธาน
้ ใหม่ ให้ นายชุมพล ศล

• 31 ก.ค.2539 แก้ รธน. ม.211 ให้มก


ี ารแต่งตงสภาร่
ั้ าง
ร ัฐธรรมนูญ(สสร.)

ิ การเมืองในสภาฯ ที่ ป.ช.ป.ถล่มอย่าง


• ร ัฐบาลต้องเผชญ
หน ัก กรณีอภิปรายไม่ไว้วางใจ นรม. 18 ก.ย. 2539

• เกิดแรงกดด ันระหว่างพรรคความหว ังใหม่ ก ับ ชาติไทย


ิ ใจยุบสภา 27 ก.ย. 2539 เลือกตงใหม่
นรม.ต ัดสน ั้ 17 พ.ย. 2539
 รัฐบาล พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ (๒๕
พ.ย. ๓๙ – ๙ พ.ย.๔๐)

• กระแสทางการเมือง ด้านการปฏิรป

การเมือง และ การกระจายอำนาจ
เพิม
่ สูงมาก

o 26 ธ.ค.2539 ร ัฐสภาพิจารณาเลือกตงั้
สภาร่างร ัฐธรรมนูญ(สสร.) จำนวน 99
คน

o การตรากฎหมายทีเ่ กีย
่ วก ับการกระจา
ยอำนาจ ( อบต. และ อบจ.)
• เกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจฟองสบู่
แตก การปล่อยค่าเงินบาทลอยต ัว
สง่ ผลกระทบต่อเสถียรภาพ
ทางการเมืองของร ัฐบาลอย่าง
รุนแรง
• สสร. ร่าง รธน. ฉบ ับปฏิรป
ู การเมือง
เสร็จ เตรียมนำเสนอร ัฐสภา
พิจารณา
• เกิดกระแสต่อต้านจาก
พรรคการเมือง น ักการ
• ร ัฐสภาให้ความเห็นชอบ
รัฐธรรมนูญฉบ ับ พ.ศ. 2540 ทีร่ า่ ง
แก้ไขใหม่ทงฉบ
ั้ ับ เมือ
่ 10 ต.ค.
2540
• ร ัฐบาล พล.อ.ชวลิต ฯ เข้าโครงการ
IMF.
• ร ัฐบาล พล.อ.ชวลิตฯ ลาออก
เพราะขาดความชอบธรรมในการ
บริหารประเทศ เนือ ่ งจากวิกฤติ
เศรษฐกิจทีไ่ ม่สามารถแก้ไขได้

You might also like