You are on page 1of 30

ข้ อสอบตำรวจ วิชำสั งคม วัฒนธรรมและจริยธรรม และควำมรู้ เกีย่ วกับประชำคมอำเซียน

1.กฎหมายอาเซียน คือข้อใด
1.ปฏิญญาอาเซียน
2.เขตการค้าเสรี อาเซียน
3.กฎบัตรอาเซียน
4. ถูกทุกข้อ
2.ศาสนาอเทวนิยม หมายถึงศาสนาใด
1.ศาสนาเชน
2.ศาสนาคริ สต์
3.ศาสนาอิสลาม
4.ศาสนายูดาย
3.ข้อใด คือ ความหมายของ “สงครามเย็น”
1.สงครามในไซบีเรี ย รัสเซีย
2.สงครามเวียดนาม
3.สงครามอ่าวเปอร์เซีย
4.อาหรับสปริ ง
4.ข้อใด หมายถึง การซื้อขายระหว่างธุรกิจกับธุ รกิจ
1.C2C
2.B2C
3.B2G
4.B2B
5.ทศพิธราชธรรม ในข้อใดเกี่ยวกับการพูด
1.อาชวะ
2.มัททวะ
3.ตบะ
4 จาคะ
6.หลักธรรมาภิบาล ใช้ที่ไหนเป็ นที่แรกในโลก
1.ธนาคารโลก
2.องค์การอนามัยโลก
3.องค์การสหประชาชาติ
4.กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
7.หลักธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสรู ้ คือ หลักธรรมข้อใด
1.นิพพาน
2.อิทธิบาท 4
3.มรรค 8
4.อริ ยสัจ 4
8. “เกิดเป็ นคนควรจะพยายามจนกว่าจะประสบความสาเร็จ” ตรงกับหลักธรรมข้อใดมากที่สุด
1.อริ ยสัจ 4
2 อิทธิบาท 4
3.พรหมวิหาร 4
4 ฆราวาสธรรม 4
9.ประเทศใดเป็ นประเทศปิ ด ที่คือประเทศที่ไม่มีทางออกทะเล )
1. ลาว
2. เวียดนาม
3. กัมพูชา
4. มาเลเซีย
10.สถาบันใด เป็ นสถาบันที่มีความสาคัญมากที่สุด
1. ครอบครัว
2. ศาสนา
3. สถาบันการศึกษา
4. สถาบันทางสังคม
11.ศาสนาใด เป็ นศาสนาที่นบั ถือทุก ๆ อย่างรอบตัวมากที่สุด
1.พุทธ
2.คริ สต์
3.อิสลาม
4.พราหมณ์-ฮินดู
12.ศาสนาใด เน้นหลักคาสอนให้รักเพื่อนมนุษย์
1.เชน
2.คริ สต์
3.อิสลาม
4.พราหมณ์-ฮินดู
13.ผูเ้ สนอเขตการค้าเสรี อาเซียน คือผูใ้ ด
1.พันเอกถนัด คอมันตร์
2.จอมพลถนอม กิตติขจร
3.พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ
4.นายอานันท์ ปันยารชุน
14.ข้อใด คือ วัฒนธรรมประเพณี ของสังคมไทย
1.สงกรานต์ เข้าพรรษา ลอยกระทง
2.สงกรานต์ วาเลนไทน์ ตรุ ษจีน
3.ลอยกระทง คริ สมาสต์ ออกพรรษา
4.ไม่มีขอ้ ใดถูก
15.ปัจจุบนั อาเซี ยนใช้กฏบัตรข้อใด
1.กฎบัตรอาเซียน พ.ศ. 2510
2.กฎบัตรอาเซียน พ.ศ.2551
3.กฎบัตรอาเซียน พ.ศ. 2556
4.กฎบัตรอาเซียน พ.ศ.2561
16.สถาบันใด ใช้ขดั เกลาทางสังคม
1.สถาบันชาติ
2.สถาบันสังคม
3.สถาบันศาสนา
4.สถาบันครอบครัว
17.ข้อใด ตรงกับหลักความไม่ประมาท
1.สติ
2.อัปปมาทะ
3.มัททวะ
4.สัมปชัญญะ
18.ข้อใด ไม่ใช่หลักธรรมาภิบาล
1.หลักนิติธรรม
2.หลักนิติรัฐ
3.หลักคุณธรรม
4.หลักความคุม้ ค่า
19.เมื่อท่านเป็ นเจ้าหน้าที่ตารวจแล้วปฏิบตั ิหน้าที่โดยเคร่ งครัด จนทาให้ประชาชนไม่พอใจใจ
การ ทางานของท่าน ข้อใดคือหลักธรรมที่ท่านควรยึดมัน่
1.สัจจะ
2.ทมะ
3.ขันติ
4.จาคะ
20.ข้อใดไม่ใช่ 3 เสาหลักของอาเซียน
1.ประชาคมการเมืองและความมัน่ คง
2.ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
3.ประชาคมเศรษฐกิจ
4.ประชาคมสังคมและความมัน่ คง

เฉลยข้อสอบตารวจ วิชาสังคม วัฒนธรรมและจริ ยธรรม และความรู ้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน


ข้อ 1.เฉลย กฎบัตรอาเซี ยน
กฎบัตรอาเซี ยน เปรี ยบเสมือนรัฐธรรมนูญของอาเซียนที่จะทาให้อาเซี ยนมีสถานะเป็ นนิติ
บุคคล เป็ นการวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กรให้กบั อาเซียน โดยนอกจากจะ
ประมวลสิ่ งที่ถือเป็ นค่านิยม หลักการ และแนวปฏิบตั ิในอดีตของอาเซียนมาประกอบกันเป็ นข้อ
ปฏิบตั ิอย่างเป็ นทางการของประเทศสมาชิกแล้ว ยังมีการปรับปรุ งแก้ไขและสร้างกลไกใหม่ข้ ึน
พร้อมกาหนดขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบขององค์กรที่สาคัญในอาเซียนตลอดจน
ความสัมพันธ์ ในการดาเนินงานขององค์กรเหล่านี้ ให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงในโลก
ปัจจุบนั เพื่อเพิ่ม ประสิ ทธิภาพของอาเซียนให้สามารถดาเนินการบรรลุตามวัตถุประสงค์และ
เป้ าหมายโดยเฉพาะ อย่างยิง่ การขับเคลื่อนการรวมตัวของประชาคมอาเซียน ให้ได้ภายในปี
พ.ศ.2558 ตามที่ผนู ้ า อาเซียนได้ตกลงกันไว้
ทั้งนี้ผนู ้ าอาเซียนได้ลงนามรับรองกฎบัตรอาเซียน ในการประชุมสุ ดยอดยอดเซียน ครั้งที่ 13
เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2550 ณ ประเทศสิ งคโปร์ ในโอกาสครบรอบ 40 ของการก่อตั้งอาเซี ยน
แสดงให้เห็นว่าอาเซียนกาลังแสดงให้ประชาคมโลกได้เห็นถึงความก้าวหน้า ของอาเซียนที่กาลัง
จะก้าวเดินไปด้วยกันอย่างมัน่ ใจระหว่างประเทศสมาชิกต่าง ๆ ทั้ง 10 ประเทศ และถือเป็ น
เอกสารประวัติศาสตร์ชิ้นสาคัญที่จะปรับเปลี่ยนอาเซียนให้เป็ นองค์กรที่มีสถานะ เป็ นนิติบุคคล
ในฐานะที่เป็ นองค์กรระหว่างรัฐบาล ประเทศสมาชิกได้ให้สัตยาบันกฎบัตรอาเซียน ครบทั้ง 10
ประเทศแล้วเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน2551 กฎบัตรอาเซียนจึงมีผลใช้บงั คับตั้งแต่ วันที่ 15 ธ.ค.
2551 เป็ นต้นไป

ข้อ 2 เฉลย ศาสนาเชน ศาสนาในโลกถึงแม้จะมีมากแต่ถา้ จัดเป็ นประเภทได้เป็ น 2 ประเภท คือ


1. ศาสนาประเภทเทวนิยม (Theism) คือศาสนาที่เชื่อว่ามีเทพเจ้าผูย้ งิ่ ใหญ่เหนือกว่าเทพ เจ้า
ทั้งหลาย หรื อที่เรี ยกกันว่า พระเจ้า พระองค์เป็ นผูส้ ร้างโลกและสรรพสิ่ งและเชื่อกันว่าพระเจ้า
อาจจะติดต่อกับมนุษย์ โดยผ่านทางศาสดาพยากรณ์ของพระองค์ เช่น พระอัลลอฮ์ทรงติดต่อกับ
ท่านนบีมูฮมั หมัด พระยะโฮวาทรงติดต่อกับท่านโมเสส เป็ นต้น ศาสนาประเภทนี้อาจแบ่งแยก
ออกไปได้อีก ตามจานวนพระเจ้าที่นบั ถือ คือ
1.1 เอกเทวนิยม (Monotheism) เชื่อว่าพระเจ้าสู งสุ ดมีองค์เดียว เช่น ศาสนาคริ สต์ ศาสนาอิสลาม
เป็ นต้น
1.2 ทวินิยม (Dusttheism) เชื่อว่าพระเจ้าสู งสุ ดมีสองพระองค์ เช่น ศาสนาโซโรอัสเตอร์
1.3 พหุเทวนิยม (Polytheism) เชื่อว่าพระเจ้าสู งสุ ดมีหลายพระองค์ เช่น ศาสนา พราหมณ์ – ฮินดู
2. ศาสนาประเภทอเทวนิยม (Atheism) ศาสนาประเภทนี้ไม่เชื่อว่าพระเจ้าเป็ นผูส้ ร้างโลกและ
สรรพสิ่ ง ไม่เชื่อว่ามีเทพเจ้าหรื อพระเจ้าคอยบันดาลให้บุคคลเจริ ญหรื อเสื่ อม แต่เชื่อว่าทุกอย่าง
เกิดขึ้นตามเหตุปัจจัยและเชื่อว่าการกระทาเป็ นพลังแห่งการเปลี่ยนแปลง ศาสนาประเภทนี้เช่น
ศาสนาพุทธ ศาสนาเชน เป็ นต้น

ข้อ 3 เฉลย สงครามเวียดนาม


สงครามเย็น เป็ นการต่อสู ้กนั ระหว่างกลุ่มประเทศ 2 กลุ่ม ที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองและ
ระบอบการเมืองต่างกันระหว่างกลุ่มประเทศโลกเสรี นาโดยสหรัฐอเมริ กา และกลุ่มประเทศ
คอมมิวนิสต์ นาโดยสหภาพโซเวียต ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงประมาณ
ค.ศ.1945-1991 (พ.ศ. 2488-2534) โดยประเทศมหาอานาจทั้ง 2 ฝ่ ายจะไม่ทาสงครามกัน
โดยตรง แต่จะพยายามสร้างแสนยานุภาพทางการทหารของตนไว้ข่มขู่ฝ่ายตรงข้าม และ
สนับสนุน ให้ประเทศพันธมิตรของตนเข้าทาสงครามแทน หรื อที่เรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่าสงคราม
ตัวแทน (Proxy War)
เหตุที่เรี ยก สงครามเย็น เนื่องจากเป็ นการต่อสู ้กนั ระหว่างมหาอานาจ โดยใช้จิตวิทยา ไม่ได้
นาพาไปสู่ การต่อสู ้ดว้ ยกาลังทหารโดยตรง แต่ใช้วธิ ีการโฆษณาชวนเชื่อการแทรกซึมบ่อน
ทาลาย การประณาม การแข่งขันกันสร้างกาลังอาวุธ และแสวงหาอิทธิพลในประเทศเล็ก เช่น
สงครามเกาหลี สงครามเวียดนาม

ข้อ 4 เฉลย B2B มาจากคาว่า Business to business รู ปแบบการทาธุรกิจ


1. ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business: B2B) หมายถึง ธุรกิจที่มุ่งเน้นการให้บริ การแก่
ผูป้ ระกอบการด้วยกัน ตัวอย่างเช่น ผูป้ ระกอบการในระดับเดียวกัน หรื อต่างระดับกันก็ได้ หรื อ
ผูผ้ ลิตกับผูผ้ ลิต ผูผ้ ลิตกับผูส้ ่ งออก ผูผ้ ลิตกับผูน้ าเข้า ผูผ้ ลิตกับผูค้ า้ ส่ งและค้าปลีก เป็ นต้น ซึ่งใน
ปัจจุบนั พาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ประเภทนี้มีความสาคัญมากที่สุด
2. ธุรกิจกับผูบ้ ริ โภค (Business to Consumer: B2C) หมายถึง ธุรกิจที่มุ่งเน้นการบริ การ กับลูกค้า
หรื อผูบ้ ริ โภค ตัวอย่างเช่น การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic retailing) เราสามารถ แบ่ง
ระดับของกิจกรรมของ คือ การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ออกเป็ น 5 ระดับดังต่อไปนี้คือ การ
โฆษณาและแสดงสิ นค้าอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic showcase) เพียงอย่างเดียว, การสั่งซื้อสิ นค้า
ทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic ordering) สามารถสัง่ ซื้อได้, การชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic payment) สามารถชาระเงินได้, การจัดส่ งและบริ การหลังการขายด้วยอินเทอร์เน็ต
(Electronic delivery and service) สามารถจัดส่ งและบริ การหลังการขายได้ และ การทา ธุรกรรม
และการแลกเปลี่ยนทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic transaction) สามารถทาการ แลกเปลี่ยนได้
ตัวอย่าง Website เช่น บริ การผูข้ ายปลีกสิ นค้าผ่านเว็บไซต์โดยทาการขายหนังสื อ ไปทัว่ โลก
(WWW.amazon.com) บริ การการจองตัว๋ เครื่ องบินของบริ ษทั การบินไทยผ่านเว็บไซต์
(www.thaiair.com) ขายเครื่ องประดับ (www.abcjewelry.com) และ ขายอาหาร
(www.pizza.co.th) ขายหนังสื อ (www.se-ed.com) เป็ นต้น
3. ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government: B2G) หมายถึง ธุรกิจการบริ หารการค้า ของ
ประเทศเพื่อเน้นการบริ หารการจัดการที่ดีของรัฐบาล ตัวอย่างเช่น การเผยแพร่ ขอ้ มูลเพื่อการ
เปิ ดประมูลผ่านทางเครื อข่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างของรัฐ (Government procurement), การ
จดทะเบียนการค้า, การรายงานผลการประกอบการประจาปี , การสื บค้นเครื่ องหมายการค้า หรื อ
สิ ทธิบตั รผ่านทางเครื อข่าย เป็ นต้น ตัวอย่าง Website เช่น การประกาศจัดจ้างของภาครัฐใน
เว็บไซต์ (www.mahadthai.com) และ ระบบอีดีไอใน พิธีการกรมศุลกากร (www.customs.go.th)
4. ผูบ้ ริ โภคกับผูบ้ ริ โภค (Consumer to Consumer: C2C) หมายถึง ธุรกิจระหว่าง ผูบ้ ริ โภคกับ
ผูบ้ ริ โภค ซึ่งเป็ นการค้ารายย่อย อาทิ การขายของเก่าให้กบั บุคคลอื่น ๆ ผ่านทาง อินเตอร์เน็ต
ตัวอย่าง Website เช่น เป็ นแหล่งที่ผขู ้ ายมาเสนอขายและผูซ้ ้ือประมูลซื้อแข่งกันผูซ้ ้ือ และผูข้ าย
ติดต่อกันผ่านอีเมล์ (www.ebay.com) ประกาศขายสิ นค้าเกี่ยวกับอุปกรณ์ทางด้าน คอมพิวเตอร์
มีการลงทะเบียนเป็ นสมาชิก สามารถจัดส่ งสิ นค้าได้ (www.pantipmarket.com) และขายของมือ
สอง(www.thaisecondhand.com) เป็ นต้น

ข้อ 5 เฉลย มัทวะ


ทศพิธราชธรรม แต่โบราณมาได้มีขอ้ กาหนดต่าง ๆ ที่พระมหากษัตริ ยพ์ ึงปฏิบตั ิ ในพระ ราช
จริ ยาวัตรจัดเป็ นพระคุณสมบัติที่สาคัญยิง่ ด้วย เรี ยกว่า ทศราชธรรม หรื อคุณธรรม 10 ประการ
ธรรมะข้อ 1.ทาน หมายถึง พระราชทานพัสดุสิ่งของ หรื อปัจจัยที่จาเป็ นในการดารงค์ชีวติ แก่ผู ้
สมควรได้รับ ได้แก่ พระภิกษุสงฆ์ และราษฎรผูย้ ากไร้ เป็ นต้น นอกจากนี้ยงั รวมถึงการ
พระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์ แก่พระราชวงศานุวงศ์ และข้าทูลละอองธุลีพระบาท ตาม
สมควร แก่ฐานะ
ธรรมะข้อ 2.ศีล หมายถึง การทรงศีล หรื อการที่ทรงตั้งสังวรรักษาพระอาการ กาย วาจา ให้
สะอาดปราศจากโทษอันควรครหา พระองค์ทรงมีพระราชศรัทธาในบวรพุทธศาสนาเป็ นอย่าง
ยิง่ ได้เสด็จออกทรงผนวช เพื่อทรงศึกษาและปฏิบตั ิพระธรรมวินยั อุทิศพระราชกุศล
พระราชทาน แก่ปวงชนชาวไทย
ธรรมะข้อ 3.บริ จาค หมายถึง การพระองค์พระราชบริ จาคไทยธรรม หรื อสิ่ งของที่ พระราชทาน
ให้เป็ นประโยชน์ท้ งั แก่พระราชวงศานุวงศ์ และทูลข้าละอองธุลีพระบาท ตามฐานะที่ ราชการ
ฉลองพระเดชพระคุณ รวมทั้งพระราชทานแก่ประชาชนผูย้ ากไร้ได้อาศัยเลี้ยงชีวติ
ธรรมะข้อ 4.อาชวะ หมายถึง ความซื่อตรง ทรงมีพระราชอัชฌาสัย อันประกอบด้วยความ
ซื่อตรง ดารงในสัตย์สุจริ ต ซื่อตรงต่อพระราชสัมพันธมิตรและพระราชวงศ์ ข้าทูลละอองธุลี
พระ บาททั้งปวง ไม่ทรงคิดลวง ประทุษร้ายโดยอุบายผิดยุติธรรม
ธรรมะข้อ 5.มัททวะ หมายถึง ความอ่อนโยน ทรงมีพระราชอัชฌาสัยอ่อนโยน ไม่ด้ือดึงถือ
พระองค์แม้มีผตู ้ กั เตือนในบางอย่าง ด้วยความมีเหตุผลก็จะทรงพิจารณาโดยถี่ถว้ น ถ้าถูกต้องดี
ชอบก็ทรงอนุโมทนา และปฏิบตั ิตาม ทรงสัมมาคารวะอ่อนน้อมแก่ท่านผูเ้ จริ ญโดยวัยและโดย
คุณ ไม่ทรงดูหมิน
ธรรมะข้อ 6.ตบะ หมายถึง ความเพียร ทรงสมาทานกุศลวัตร ด้วยการเอาพระราชหฤทัย ใส่ ใน
การปกครองพระราชอาณาเขต และประชาชนให้มีความสุ ขปราศจากภยันตราย ตลอดถึง การที่
ทรงมีพระอุตสาหะอันแรงกล้าในกุศลสมาทาน ระวังบาปที่ยงั ไม่เกิดให้เกิดขึ้น และเพื่อจะ กาจัด
บาปกุศลที่เกิดขึ้นแล้วให้เสื่ อมสู ญ
ธรรมะข้อ 7.อักโกธะ หมายถึง ความไม่โกรธ ทรงมีพระกริ ยาที่ไม่โกรธโดยวิสัย มิใช่เหตุที่ ควร
โกรธ แม้มีเหตุที่ให้ทรงพระพิโรธ แต่ทรงข่มเสี ยให้อนั ตรธานสงบระงับไป ด้วยทรงมีพระ
เมตตาอยูเ่ สมอ ไม่ทรงปรารถนาจะก่อภัย ก่อเวรแก่ผใู ้ ด
ธรรมะข้อ 8.อวิหิงสา หมายถึง ความไม่เบียดเบียน ด้วยทรงมีพระราชอัชฌาสัย กอปรด้วย พระ
ราชกรุ ณา ไม่ทรงปรารถนาจะก่อทุกข์แก่ผใู ้ ดแม้กระทั้งสัตว์ ไม่ทรงเบียดเบียนพระราชวงศ์ ข้า
ทูลละอองธุลีพระบาท และอาณาประชาราษฎร์ ให้ลาบากด้วยเหตุอนั ไม่ควรกระทา
ธรรมะข้อ 9.ขันติ หมายถึง ความอดทน ทรงมีพระราชหฤทัยดารงมัน่ ในขันติ มีความ อดทนต่อ
สิ่ งที่ควรอดทน เช่น อดทนต่อทุกข์ อดทนต่อเวทนาอันเกิดขึ้นในพระกาย และทรงมีพระ ขันติ
เมตตากรุ ณาธิคุณ งดโทษผูม้ ีความประมาท กระทาผิดล่วงพระอาญา และควรจะลงราชทัณฑ์ แต่
ก็ทรงระงับด้วยความอดทนไว้ได้
- ธรรมะข้อ 10.อวิโรธนะ หมายถึง ความเที่ยงธรรม ทรงรักษาความยุติธรรมไม่ให้แปรผัน จาก
สิ่ งที่ตรง และดารงพระอาการไม่ยนิ ดี ยินร้าย ต่ออานาจคติท้ งั ปวง หรื ออีกนัยหนึ่ง คือความไม่
ประพฤติผดิ ในขัตติยราชประเพณี ทรงดารงอยูใ่ นพระราชจริ ยาวัตรของพระมหากษัตริ ยอ์ ย่าง
แท้จริ ง
ข้อ 6 เฉลย ธนาคารโลก
ธรรมาภิบาล หมายถึง การบริ หารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี เป็ นแนวทาง สาคัญใน การจัด
ระเบียบให้สังคมรัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาชน ซึ่งครอบคลุมถึง ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ าย
ปฏิบตั ิการ ฝ่ ายราชการ และฝ่ ายธุรกิจ สามารถอยูร่ ่ วมกันอย่างสงบสุ ข มีความรู ้รักสามัคคี และ
ร่ วมกันเป็ นพลัง ก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน และเป็ นส่ วนเสริ ม ความเข้มแข็งหรื อสร้าง
ภูมิคุม้ กันแก่ประเทศ เพื่อบรรเทาป้ องกันหรื อแก้ไขเยียวยาภาวะ วิกฤติ ภยันตรายที่หากจะมีมา
ใน อนาคต เพราะสังคมจะรู ้สึกถึงความยุติธรรม ความโปร่ งใส และความมีส่วนร่ วม อันเป็ น
คุณลักษณะสาคัญของศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ และการปกครอง แบบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นพระประมุข สอดคล้องกับความเป็ นไทย รัฐธรรมนูญ และกระแสโลก
ยุค ปัจจุบนั
แนวความคิดเรื่ องหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) ถูกนาเสนอเป็ นครั้งแรกโดย องค์กร
ระหว่างประเทศ คือ ธนาคารโลก และองค์การพัฒนาแห่งสหประชาชาติซ่ ึงมีความหมาย สากล
คือ ระบบ โครงสร้างและกระบวนการต่าง ๆ ที่วางกฎเกณฑ์ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจ
การเมือง และสังคมของ ประเทศโดยเฉพาะภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน เพื่อพัฒนาการ
อยูร่ ่ วมกันอย่างสงบสุ ข

ข้อ 7 เฉลย อริ ยสัจ 4


อริ ยสัจที่พระพุทธเจ้าตรัสรู ้มี 4 ประการ เราจึงเรี ยกรวมกันว่า “อริ ยสัจ 4” ได้แก่ 1.ทุกข์ ได้แก่
ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ 2.สมุทยั ได้แก่ สาเหตุของทุกข์คือตัณหาหรื อความอยาก 3.นิโรธ
ได้แก่ ภาวะที่ปราศจากทุกข์หรื อนิพพาน 4.มรรค วิธีดบั ทุกข์หรื อวิธีแก้ปัญหา ได้แก่ อริ ยมรรคมี
องค์ 8 หรื อเรี ยกสั้น ๆ ว่า มรรคมีองค์ 8 คือ (1) สัมมาทิฐิ เห็นชอบ (2) สัมมาสังกัปปะ คิดชอบ
(3) สัมมาวาจา พูดชอบ : (4) สัมมากัมมันตะ กระทาชอบ (5) สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีวติ ชอบ (6)
สัมมาวายามะ เพียรชอบ (7) สัมมาสติ ระลึกชอบ (8) สัมมาสมาธิ ตั้งจิตมัน่ ชอบ

ข้อ 8 เฉลย อิทธิ บาท 4


อิทธิบาท 4 คือ หนทางสู่ความสาเร็จ หรื อ คุณเครื่ องให้ถึงความสาเร็จ คุณเครื่ องสาเร็จสม
ประสงค์ ทางแห่งความสาเร็จ คุณธรรมที่นาไปสู่ ความสาเร็จแห่งผลที่มุ่งหมาย มี 4 ประการ คือ
1.ฉันทะ คือ ความพอใจ 2.วิริยะ คือ ความเพียร 3.จิตตะ คือ ความคิด 4. วิมงั สา คือ ความ
ไตร่ ตรอง

ข้อ 9 เฉลย ลาว


ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ ทะเล มักจะถูกนิยามว่าเป็ นประเทศที่ถูกปิ ดล้อมหรื อเกือบถูกปิ ด ล้อม
ด้วยแผ่นดิน การเป็ นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ ทะเลนับเป็ นข้อด้อยทางภูมิศาสตร์ เพราะ
นอกจากจะถูกปิ ดกั้นจากทรัพยากรทางทะเลแล้ว ยังทาให้ไม่สามารถค้าขายทางทะเลได้อีกด้วย

ข้อ 10 เฉลย ครอบครัว


สถาบันครอบครัว เป็ นสถาบันพื้นฐานแรกที่สุดและมีความสาคัญยิง่ ของสังคม เพราะ สถาบัน
ขั้นมูลฐานที่เป็ นจุดเริ่ มต้นของสถาบันทั้งหลาย
ข้อ 11 เฉลย ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
นับถือพระเจ้าสู งสุ ด 3 องค์ คือ พระพรหม พระนารายณ์ พระศิวะ หรื อ ตรี มูรติ และยัง นับถือ
เทพต่าง ๆ ตามความเชื่ออีกหลายองค์ เช่น พระธรณี หรื อ แม่พระธรณี หรื อ พระศรี วสุ นธรา
เป็ นเทพแห่งพื้นแผ่นดิน พระแม่คงคา เทพผูร้ ักษาสายน้ า พระอินทร์ ผูเ้ ป็ นใหญ่ในสวรรค์ พระ
ขันทกุมาร มหาเทพแห่งนักรบแห่งสวรรค์ พระแม่อุมาเทวี (ปาวรตี) เทวีแห่งอานาจวาสนา และ
บารมี พระแม่สรัสวดี เทพีแห่งความรู ้

ข้อ 12 เฉลย ศาสนาคริ สต์


หลักความรัก คาสอนเรื่ องความรักในศาสนาคริ สต์ คือ การปรารถนาให้ผอู ้ ื่นมีความสุ ข มีความ
เมตตากรุ ณา ให้อภัยซึ่งกันและกัน และยินดีเมื่อเห็นผูอ้ ื่นได้ดี หลักการแห่งความรัก พระ เยซู
ทรงเน้นไว้ในปั จฉิมโอวาทก่อนสิ้ นพระชนม์วา่ หลักใหญ่และสาคัญที่สุดในคาสอนของ
พระองค์ คือ ความรัก ทรงกล่าวว่า ความรักเป็ นสิ่ งมีค่ายิง่ กว่าเงินทองและทรัพย์สมบัติใด ๆ ใน
โลก และทรงสอนต่อว่า จงรักพระเจ้า รักครอบครัว รักเพื่อนบ้าน และรักเพื่อนมนุษย์ แล้วจะ
ได้รับ ความรักจากโลกเป็ นสิ่ งตอบแทน

ข้อ 13 เฉลย นายอานันท์ ปันยารชุน


เขตการค้าเสรี อาเซียน เกิดจากการประชุมสุ ดยอดอาเซียน ครั้งที่ 4 เมื่อเดือน มกราคม ค.ศ. 1992
ณ สิ งคโปร์ ผูน้ าอาเซียนได้มีมติเห็นสมควรจัดตั้งเขตการค้าเสรี อาเซียน (AFTA) ขึ้น ตาม
ข้อเสนอของ นายอานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรี ของไทยและได้รับการลงนามในกรอบ
ความตกลงขยายความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ ตกลงอัตราภาษีพิเศษที่เท่ากัน สาหรับอาเซียนและ
การเสริ มสร้างความสามารถในการแข่งขันให้สินค้าอาเซียนในตลาดโลก รวมทั้งจัดตั้งเขต
การค้า เสรี อาเซียน

ข้อ 14 เฉลย สงกรานต์ เข้าพรรษา ลอยกระทง


เป็ นวัฒนธรรมประเพณี ของสังคมไทย

ข้อ 15 เฉลย กฎบัตรอาเซี ยน พ.ศ. 2551


กฎบัตรอาเซี ยนมีผลใช้บงั คับตั้งแต่วนั ที่ 15 ธ.ค 2551

ข้อ 16 เฉลย สถาบันครอบครัว


การขัดเกลาทางสังคม (Socialization) คือ การปลูกฝังทางวัฒนธรรม มีความหมายว่า
กระบวนการทางสังคมกับทางจิตวิทยา ซึ่งมีผลทาให้บุคคลมีบุคลิกภาพตามแนวทางที่สังคม
ต้องการ การขัดเกลาทางสังคมทาให้มนุษย์เปลี่ยนแปลงจากสภาพสัตว์ตามธรรมชาติ ให้เป็ น
มนุษย์ที่มีวฒั นธรรม การขัดเกลาทางสังคมเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นกับมนุษย์ต้ งั แต่เกิดจนถึง
ตาย
โดยมีองค์กรที่ทาหน้าที่ขดั เกลาทางสังคม ที่สาคัญ ๆ ได้แก่ ครอบครัว สถานศึกษา กลุ่มเพื่อน
สานักงานหรื อองค์กรที่บุคคลสังกัดอยู่ สถาบันทางศาสนา และสื่ อมวลชน โดยสถาบัน
ครอบครัว เป็ นสถาบันมีการการขัดเกลาทางสังคมแก่สมาชิกมากที่สุด

ข้อ 17 เฉลย อัปปมาทะ


อัปปมาทะ ความไม่ประมาท, ความเป็ นอยูอ่ ย่างไม่ขาดสติ, ความไม่เผลอ, ความไม่เลินเล่อ เผลอ
สติ, ความไม่ปล่อยปละละเลย, ความระมัดระวังที่จะไม่ทาเหตุแห่งความผิดพลาดเสี ยหาย และ
ไม่ละเลยโอกาสที่จะทาเหตุแห่งความดีงามและความเจริ ญ, ความมีสติรอบคอบ
ข้อ 18 เฉลย หลักนิติรัฐ องค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาล 6 ประการ คือ
1. หลักนิติธรรม (Rule of Law) หมายถึง การตรากฎหมายที่ถูกต้องเป็ นธรรม การบังคับ การ
เป็ นไป ตามกฎหมาย ปฏิบตั ิตามกฎกติกาอย่างเคร่ งครัด โดยคานึงถึงสิ ทธิเสรี ภาพและความ
ยุติธรรมของประชาชน
2. หลักคุณธรรม (Ethics) หมายถึง การยึดมัน่ ในความถูกต้องดีงาม สนับสนุนให้ประชาชน ขยัน
ซื่อสัตย์ประหยัด อดทน มีระเบียบวินยั ประกอบอาชีพที่สุจริ ตจนกลายเป็ นนิสัยประจาชาติ
3. หลักความโปร่ งใส (Transparency) หมายถึง ความโปร่ งใส สามารถตรวจสอบได้ซ่ ึง ตรงกัน
ข้าม กับการทุจริ ตคอร์รัปชัน และการฉ้อราษฎร์บงั หลวง
4. หลักการมีส่วนร่ วม (Participation) หมายถึง การเปิ ดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่ วม ทาง
การเมือง การบริ หาร และการจัดสรรทรัพยากรของชุมชนเกี่ยวกับวิถีชีวติ ของชุมชน
5. หลักความรับผิดชอบ (Accountability) หมายถึง การมีจิตสานึกในหน้าที่ร่วม รับผิดชอบต่อ
สังคม สิ ทธิและหน้าที่และปัญหาสาธารณะของบ้านเมือง และเคารพความคิดเห็น ที่ แตกต่าง
ตามหลักประชาธิปไตย
6. หลักความคุม้ ค่า (Value for Money) หมายถึง การบริ หารจัดการและใช้ทรัพยากรที่มี อยูอ่ ย่าง
จากัด ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด ผลิตสิ นค้าอย่างมีคุณภาพสามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก พัฒนา
ประเทศอย่างยัง่ ยืน และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
หลักธรรมาภิบาล ได้มีการพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่องในสังคมไทย มีการบัญญัติไว้ใน กฎหมาย
รัฐธรรมนูญ และกฎหมายลาดับรอง เช่น พระราชบัญญัติต่าง ๆ รวมทั้งการนามาปรับ ใช้ใน
สังคมทั้งภาครัฐและภาคเอกชนเป็ นระยะเวลานานพอสมควร รัฐบาลที่เข้ามาบริ หารประเทศ
และองค์กรภาคเอกชนได้ให้ความสาคัญมาก เพราะหลักธรรมาภิบาล ได้รับการยอมรับว่าเป็ น
หลักการสากลที่สนับสนุนสังคมที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตย เมื่อประเทศไทยใช้หลัก
ปกครองในระบอบประชาธิปไตยมีกฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคม แห่งชาติและแผนยุทธศาสตร์ชาติตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่งเป็ นเครื่ องยืนยันว่าหลัก
ธรรมาภิบาลเป็ น หลักการสาคัญในการขับเคลื่อนหน่วยงานในภาครัฐ และภาคเอกชนควบคู่ กับ
การพัฒนาระบอบประชาธิปไตย
ข้อ 19 เฉลย ขันติ
ขันติ คือ ความอดทน ในฆราวาสธรรม 4 หมายถึง ความอดทน อดกลั้นต่อปั ญหาอุปสรรค
รวมถึงอดทน อดกลั้นต่อสิ่ งที่ไม่พึงปรารถนาทางใจ อาทิ ความยากลาบากในการงาน คาด่าทอ
จากผูอ้ ื่น
ข้อ 20เฉลย ประชาคมสังคมและความมัน่ คง 3 เสาหลักของอาเซียน คือ
1.ประชาคมการเมืองและความมัน่ คง 2.ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม 3.ประชาคมเศรษฐกิจ

แนวข้อสอบสังคมและวัฒนธรรมจริ ยธรรม
1. วัฒนธรรมย่อยในสถาบันเศรษฐกิจของสังคมไทยเกิดจากอะไร
ก. สถานที่ประกอบอาชีพ ค. ค่านิยมในแต่ละอาชีพ
ข. ระบบค่าตอบแทน ง. เครื่ องหมายการค้า
ตอบ ค. ค่านิยมในแต่ละอาชีพ
- วัฒนธรรมย่อยในแต่ละสถาบันเศรษฐกิจเกิดจากค่านิยมในแต่ละอาชีพ เช่น หมอ,
ครู ตอ้ งมีจรรยาบรรณ, เกษตรกรต้องช่วยเหลือกัน (เก็บเกี่ยวผลผลิต)
2. ข้อใดเป็ นโครงสร้างที่สมบูรณ์ของสถาบัน
ก.สัญลักษณ์ รู ปแบบ วิธีปฏิบตั ิ ค่านิยม
ข.จุดมุ่งหมาย รู ปแบบ ความเชื่อ ค่านิยม
ค.จุดมุ่งหมาย วิธีปฏิบตั ิ ความเชื่อ ค่านิยม
ง.รู ปแบบ สัญลักษณ์ ความเชื่อ วิธีปฏิบตั ิ
ตอบ ข. จุดมุ่งหมาย รู ปแบบ ความเชื่อ ค่านิยม
3. ข้อใด ไม่ใช่ ลักษณะสังคมไทย
ก. เป็ นสังคมเกษตรกรรม ค. เป็ นสังคมเมือง
ข. เป็ นสังคมเจ้าขุนมูลนาย ง. เป็ นสังคมพุทธศาสนา
ตอบ ค. เป็ นสังคมเมือง
- สังคมไทยเป็ นสังคมเกษตรกรรม คนส่ วนมากเป็ นเกษตรกร
- สังคมไทยเป็ นสังคมศาสนาพุทธ คนส่ วนมากนับถือศาสนาพุทธ
- สังคมไทยเป็ นสังคมเจ้าขุนมูลนาย คนส่ วนมากยังคงได้รับอิทธิพลจากระบบอุปถัมภ์ (ระบบ
เจ้านาย – ลูกน้อง , ลูกพี่ – ลูกน้อง)
- สังคมไทยไม่ใช่สังคมเมืองเพราะมีคนเพียงร้อยละ20 ที่อาศัยในเขตเมือง
4. วัฒนธรรมใด ไม่ถูกต้อง
ก. วัฒนธรรมเป็ นสมบัติเฉพาะของคนชัว่ รุ่ นหนึ่ง
ข. วัฒนธรรมที่มนุษย์สร้างขึ้นมีท้ งั คุณและโทษ
ค. วัฒนธรรมเป็ นเครื่ องมือช่วยในการปรับตัวของมนุษย์
ง. วัฒนธรรมที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการจะหมดไป
ตอบ ก. วัฒนธรรมเป็ นสมบัติเฉพาะของคนชัว่ รุ่ นหนึ่ง
- วัฒนธรรมเป็ นมรดกของสังคม ไม่ใช่เป็ นเพียงสมบัติเฉพาะของคนชัว่ รุ่ นหนึ่งเท่านั้น
ข้อ ก จึงไม่ถูกต้อง
5. ข้อใด ไม่ใช่ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
ก. สตรี ไทยมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น
ข. เทคโนโลยีการสื่ อสารผ่านดาวเทียมทาให้ขยาย การศึกษาไปยังท้องถิ่นห่างไกลได้
ค. สิ่ งประดิษฐ์จากภูมิปัญญาพื้นบ้านในทุกชุมชนได้รับการส่ งเสริ มมากขึ้น
ง. ความเชื่อทางไสยศาสตร์ในชุมชนเมืองมีนอ้ ยลง
ตอบ ก. สตรี ไทยมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น
- ข้อ ข, ค, ง นับเป็ นการ เปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมหรื อวิถีชีวติ ของสังคม
- ข้อ ก. เป็ นการเปลี่ยนแปลงทางสังคม คือ การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างสังคม
(สถานภาพ, บทบาท) ไม่ใช่ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม)
6. ข้อความใดถูกต้อง
ก. มนุษย์มีสัญชาตญาณในการสร้างบ้านเรื อนเป็ นที่อยูอ่ าศัย
ข. คาว่า วัฒนธรรมและสังคม มีความหมายเกือบไม่แตกต่างกัน
ค. การตอบสนองความต้องการของมนุษย์แตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มสังคม
ง. มนุษย์ติดต่อสัมพันธ์กนั ด้วยพฤติกรรมที่เป็ นลักษณะเฉพาะของแต่ละคน
ตอบ ค. การตอบสนองความต้องการของมนุษย์แตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มสังคม
ข้อสอบตารวจ วิชาจริ ยธรรม
1. ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะปริ นิพพาน พระองค์ได้สรุ ปคาสอนในหลักธรรมข้อใด
ก. การทาจิตใจให้บริ สุทธิ
ข. การบรรลุนิพาน
ค. การไม่ทาความชัว่ ทั้งปวง
ง. ความไม่ประมาท
ตอบ ง.
2 . หลักธรรมที่จาเป็ นสาหรับผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่รักษากฎหมาย และรักษาความยุติธรรมคือข้อใด
ก.อัปมาทธรรม
ข. ทศพิธราชธรรม
ค. ปราศจากอคติ 4
ง.คารวธรรม
ตอบ ค.
3. ความามีวนิ ยั ต่อตนเอง คือพฤติกรรมใดในข้อนี้
ก.ปฏิบตั ิงานตามความคิดเห็นของตนเอง
ข. ควบคุมตนเองให้อยูใ่ นหลัการและเหตุผล
ค. เชื่อฟังคาสั่งของผูบ้ งั คับบัญชา
ง. ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบที่กาหนดให้
ตอบ ง.
4. ตามหลักธรรมของทิศ6 ที่วา่ ด้วยการปฏิบตั ิหน้าที่ตามฐานะของบุคคลต่อไปนี้ ข้อใดคือแนว
ทางการปฏิบตั ิของผูใ้ ต้บงั คับบัญชาที่พึงปฏิบตั ิต่อผูบ้ งั คับบัญชา
ก. จัดสวัสดิการให้เมื่อยามเจ็บไข้
ข. ปรนนิบตั ิช่วยเหลือการตามความเหมาะสม
ค. ทาการงานในหน้าที่ให้เรี ยบร้อยและดียงิ่ ขึ้น
ง. ไม่ละทิ้งยามวิบตั ิ ยามทุกข์ยาก
ตอบ ค.
5. การอาราธนาพระสงฆ์เจริ ญพระพุทธมนต์ จะใช้ในงานใด
ก. แต่งงาน
ข. ทาบุญครบรอบวันตาย 100 วัน
ค. สวดหน้าศพ
ง. ทาบุญสะเดาะเคราะห์
ตอบ ก.

6. กฐินต้นหมายถึง กฐินประเภทใด
ก. กฐินที่พระมหากษิตร์ยห์ รื อพระบรมวงศานุวงศ์ โปรดเกล้าฯ นาไปทอดที่พระอาราม
หลวง
ข. กฐินที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั โปรดเกล้าฯ ให้หน่วยราชการนาไปทอดที่พระ
อารามหลวง
ค. กฐินที่องค์พระมหากษัตริ ย ์ นาไปทอดเป็ นการส่ วนพระองค์ที่วดั ราษฎร์
ง. กฐินที่หน่วยงาน องค์กร หรื อบุคคล นาไปทอดที่วดั ราษฎร์
ตอบ ค.
7. พระสงฆ์ คือผูส้ ื บพระพุทธศาสนา และเป็ นศาสนาทายาทที่สาคัญ ดังนั้นหน้าที่ของพระสงฆ์
ที่จะต้องปฏิบตั ิ คือข้อใด
ก. ศึกษาเล่าเรี ยน ปฏิบตั ิดี ปฎิบตั ิชอบ เผยแผ่พระพุทธธรรม
ข. ช่วยเหลือสังคม อบรมสั่งสอน ให้การศึกษากับประชาชน
ค. ศึกษาเล่าเรี ยน ช่วยพัฒนาสังคม ช่วยเหลือทางราชการ
ง. เป็ นศาสนาทายาทที่ดี บารุ งพระพุทธศาสนา ช่วยเหลือประเทศชาติ
ตอบ ก.
8. กิจกรรมใด ที่พุทธศาสนิกชนจะกระทาได้ ในระยะเวลาตั้งแต่วนั แรม1ค่าเดือน 11 ถึง วันขึ้น
15ค่าเดือน12
ก. การทอดผ้าป่ า
ข. การทอดกฐิน
ค. การถวายสังฆทาน
ง. การถวายสลากภัต
ตอบ ข.

9. "สันโดษ ไม่สกัดกั้นความเพียน ความอุตสาหะ ไม่ขวางกั้นความใฝ่ รู ้" จากข้อความดังกล่าว


สันโดษช่วยแก้ไขปัญหาสังคมด้านใดมากที่สุด
ก. ปัญหาการทุจจริ ต
ข. ปัญหาอาชญากรรม
ค. ปัญหาความประพฤติผดิ ทางเพศ
ง. ปัญหาสิ่ งแวดล้อม
ตอบ ก.
10. ในการกราบพระแบบเบญจางคประดิษฐ์ อวัยวะส่ วนใด ที่ไม่จาเป็ นต้องจรดพื้น
ก. เข่า2
ข. ฐมือ2
ค. ศอก2
ง. หน้าผาก1
ตอบ ค.
11. บทบาทหลักของพระสงฆ์วดั พระบาทน้ าพุจงั หวัดลพบุรีคือด้านใด
ก. ด้านการศึกษา
ข. ด้านการช่วยเหลือคนยากจน
ค. ด้านบริ การสังคมสงเคราะห์
ง. ด้านสาธารณสุ ข
ตอบ ค.
12. จุดมุ่งหมายของการศึกษาตามหลักพระพุทธศาสนาอะไร
ก. เป็ นพื้นฐานในการศึกษาระดับสู ง
ข. ปรับตัวให้ทนั ต่อเหตุการณ์
ค. มีความรู ้ในการประกอบอาชีพและการงาน
ง. ดารงชีวติ อยูอ่ ย่างมีความสุ ข
ตอบ ง.
13. "ทุกสิ่ งที่ใช้จดั พ้อง ปรารถนา เราเฮย
มีขดั มีขอ้ งมา แยกไว้
ทุกข์จิตทุกข์กายา บางโอกาส
ใครหากอดทนได้ ผ่านแล้วจิตเกษม"

โครงบทนี้มุ่งอธิบายหลักธรรมข้อใด
ก.อธิษฐานธรรม
ข. ฆราวาสธรรม
ค.ไตรสิ กขา
ง. ขันติธรรม
ตอบ ง.
14. ข้อใดเป็ นการแสดงความเคารพพระสงฆ์ที่ดีที่สุด
ก.กราบด้วยเบญจางคประดิษฐ์
ข. หลีกทางให้เมื่อเดินผ่านพระสงฆ์
ค. นาธรรมะที่ท่านสอนไปปฏิบตั ิให้เกิดผลจริ ง
ง. ถวายปัจจัย4 แก่ท่าน
ตอบ ค.
15. กรณี ที่พระสงฆ์บางรู ปเผยแผ่หลักธรรมคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าบิดเบือน หรื อไม่ถูกต้อง
ตามความเป็ นจริ ง
ท่านจะตรวจสอบความถูกต้องนั้นด้วยวิธีการใด
ก. ถามพระภิกษุสงฆ์
ข. ถามท่านผูร้ ู ้ท้ งั หลาย
ค. ค้นคว้าพระไตรปิ ฎก
ง. ลงมือปฏิบตั ิแล้วค่อยค้นคว้า
ตอบ ค.
16. การทางานร่ วมกับผูอ้ ื่นนั้น เราควรมีหลักการในการปฏิบตั ิตนอย่างไร
ก. พยายามแสดงความคิดเห็นของตนให้มากที่สุด
ข. ตั้งใจฟัง เมื่อผูอ้ ื่นแสดงความคิดเห็นแล้วค่อยปฏิบตั ิตาม
ค. รับฟังและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
ง. ทางานเฉพาะในส่ วนที่ได้รับมอบหมาย
ตอบ ค.
17. ข้อใดเป็ นสาเหตุสาคัญที่สุดที่ทาให้ชาวบ้านร่ วมมือกับพระสงฆ์ในการทากิจกรรมต่างๆ
ภายในชุมชน
ก. ทาตามประเพณี
ข. ตามพุทธบัญญัติ
ค. เกรงกลัวต่อบาป
ง. มีความศรัทธาเลื่อมใส
ตอบ ง.
18. การเผือ่ แผ่แบ่งปัน วาจาไพเราะ บาเพ็ญประโยชน์ต่อบุคคลทัว่ ไป และปฏิบตั ิตนอย่างเสมอ
ต้นเสมอปลาย ตรงกับหลักธรรมข้อใด
ก. พรหมวิหาร4
ข. สังคหวัตถุ4
ค. อิทธิบาท4
ง. อคติ4
ตอบ ข.
19.การเข้าใจปัญหา สาเหตุของปัญหาการกาหนดจุดมุ่งหมาย และวิธีการแก้ปัญหา คือ
กระบวนการทางาน ตามหลักธรรมข้อใด
ก. อิทธิบาท4
ข. อริ ยสัจ 4
ค. อธิษฐานธรรม 4
ง. โลกธรรม 8
ตอบ ก.
20. ข้อใดจาเป็ นน้อยที่สุด ในการปฏิบตั ิตามประเพณี และพีธีกรรมทางพระพุทธศาสนา ที่จดั ขึ้น
ในโอกาสต่างๆ ของสังคมไทย
ก. ปฏิบตั ิทุกขั้นตอนอย่างเคร่ งครัด
ข. ประหยัดและเรี ยบง่าย
ค. ไม่สร้างความเดือดร้อนให้แก่ผอู ้ ื่นและสิ่ งแวดล้อม
ง. เข้าใจหลักการและจุดมุ่งหมายในการจัด
ตอบ ข.

แนวข้ อสอบ
1.ปัญญาที่เกิดขึ้นจากการพิจารณา คือปัญญาประเภทใด
ก. ปัญญาแท้ ข. สตุมยปัญญา
ค. จินตามยปัญญา ง.ภาวนามยปัญญา
ตอบ ค. จินตามยปัญญา คือ ปัญญาที่เกิดขึ้นจากการคิด พิจารณา ไตร่ ตรอง หาเหตุผล
2. ข้อใดเป็ น “ ปัญญาสิ กขา ” ตามหลักพระพุทธศาสนา
ก. ลูกคิดหาวิธีประหยัดค่าใช้จ่ายของตน
ข. พ่อแม่ นัง่ สมาธิทุกวันก่อนนอน
ค. ฆราวาส กาลังท่องศีล 5
ง. นักกีฬาคิดหาวิธีที่จะเอาชนะคู่ต่อสู ้
ตอบ ก. ปัญญาสิ กขา คือ การศึกษาในเรื่ องปั ญญา คนที่มีปัญญาจะมีความรู ้ ความเข้าใจในสิ่ ง
ต่างๆ ตามสภาพที่เป็ นจริ ง ทาให้สามารถดาเนินชีวติ ได้อย่างมีความสุ ข ดังนั้น ตามปัญญา ลูกคิด
หาวิธีประหยัดค่าใช้จ่ายของตน จึงเป็ นปัญญาสิ กขาตามหลักพระพุทธศาสนา
3. ปัญญาที่ได้จากการฟังคาบรรยายและอ่านตารา เรี ยกว่า
ก. ปัญญาแท้ ข. สตุมยปัญญา
ค. จินตามยปัญญา ง.ภาวนามยปัญญา
ตอบ ข. สตุมยปัญญา คือ ปัญญาหรื อความรู ้ที่เกิดจากการฟังและการอ่าน
4. ปัญญาที่เกิดจากการลงมือปฏิบตั ิ คือ
ก. ปัญญาแท้ ข. สตุมยปัญญา
ค. จินตามยปัญญา ง.ภาวนามยปัญญา
ตอบ ง.ภาวนามยปัญญา คือ ปัญญาหรื อความรู ้ที่ได้จากการปฏิบตั ิ
5. ในขณะที่ประเทศปากีสถาน ได้ประสบปัญหาแผ่นดินไหว จนเป็ นเหตุตึกถล่มทับผูค้ น
จานวนมาก และได้มีประเทศต่างๆให้ความช่วยเหลือ ประเทศที่ให้ความช่วยเหลือ ถือว่ายึดถือ
หลักธรรมตามข้อใด
ก. อิทธิบาท 4 ข. สังคหวัตถุ 4
ค. ธรรม 4 ง. อคติ 4
ตอบ ข. สังคหวัตถุ 4 คือ เป็ นหลักธรรมเพื่อการสงเคราะห์ ช่วยเหลือผูอ้ ื่นเป็ นหลักธรรมที่ยดึ
เหนี่ยวจิตใจคน ประกอบด้วย 1. ทาน 2. ปิ ยวาจา 3. อัตถจริ ยา 4. สมานัตตา
6. หลักธรรมตามข้อใดที่ช่วยปลูกฝังให้พลตารวจเป็ นคนมีระเบียบวินยั
ก. อิทธิบาท 4 ข. สติ ทมะ ขันติ
ค. ศีล ศรัทธา จาคะ ง. อริ ยสัจ 4
ตอบ ข. หลักธรรมที่ช่วยปลูกฝังให้พลตารวจเป็ นคนมีระเบียบวินยั คือ สติ หมายถึงความระลึก
ได้ ทมะ คือ การฝึ กฝนการข่มใจ ฝึ กวินยั ปรับตัว รู ้จกั ควบคุมจิตใจ ขันติ คือ ความอดทน
7. นายแสวงได้รับการบรรจุแต่งตั้งเป็ นพลตารวจใหม่และให้ไปปฏิบตั ิหน้าที่สถานีตารวจภูธร
แห่งหนึ่ง นายแสวงต้องการที่จะมีเพื่อนที่จริ งใจ นายแสวงต้องใช้หลักธรรมใด
ก. อิทธิบาท 4 ข. สังคหวัตถุ 4
ค. อริ ยสัจ 4 ง. กาลามสู ตร
ตอบ ข. สังคหวัตถุ 4 คือ เป็ นหลักธรรมที่ยดึ เหนี่ยวจิตใจคน ประกอบด้วย คือการให้เป็ นคน
เอื้อเฟื้ อ 2. ปิ ยวาจา คือ การกล่าวคาสุ ภาพ 3. อัตถจริ ยา คือ การประพฤติสมาบัต คือการทาตน
เสมอต้นเสมอปลาย
8. ผูท้ ี่พยายามเลิกสู บบุหรี่ เลิกกินเหล้า และทาให้สาเร็จ ถือว่ามีอริ ยมรรคข้อใด
ก. สัมมาอาชีวะ ( การเลี้ยงชีพชอบ ) ข. สัมมากัมมันตะ ( การกระทา)
ค. สัมมาวายามะ ( ความเพียรพยายาม) ง. สัมมาทิฐิ ( ความเห็นชอบ )
ตอบ ค. สัมมาวายามะ ( ความเพียรพยายาม) คือ มีความเพียรพยายามที่จะทาสิ่ งที่ถูกต้องดีงาม
และชอบธรรม
9. บุคคลใดได้ชื่อว่า “ สัมมาทิฐิ ” หรื อความเห็นชอบในการดาเนินชีวติ ประจาวัน
ก. เชื่อว่าการศึกษาเป็ นบันไดนาไปสู่ ความสาเร็จ
ข. คิดจะเลิกเที่ยวกลางคืนและไม่เล่นการพนัน
ค. เปิ ดร้านขายอาหารกลางคืนด้วยความขยันอดทน
ง. งดเหล้าในช่วงเข้าพรรษา
ตอบ ก. สัมมาทิฐิ ( ความเห็นชอบ ) มีความเห็นที่ถูกต้อง ตามทานองคลองธรรม เช่น ในเรื่ อง
บาป บุญว่ามีจริ ง เชื่อว่าการศึกษาเป็ นบันไดนาไปสู่ ความสาเร็จ
10. สิ่ งที่พระพุทธเจ้าตรัสรู ้ เรี ยกว่าอย่างไร
ก. อริ ยะสัจ 4
ข. การดับกิเลสกองทุกข์โดยสิ้ นเชิง
ค. โอวาทปาฏิโมกข์
ง. มรรคมีองค์แปด
ตอบ ก. สิ่ งที่พระพุทธเจ้าตรัสรู ้ ต่อมาได้เรี ยบเรี ยงเป็ นขั้นตอน เรี ยกว่าอริ ยสัจ 4 ได้แก่ ทุกข์
สมุทยั นิโรธ และมรรค แสดงถึงกระบวนการเกิดทุกข์ และวิธีการดับทุกข์ของมนุษย์ เมื่อตรัสรู ้
แล้วทรงเรี ยกพระองค์วา่ สัมมาสัมพุทธะ แปลว่า ผูต้ รัสรู ้ชอบด้วยพระองค์เอง
11. เมื่อตรัสรู ้แล้ว ทรงเรี ยกพระองค์วา่ “ สัมมาสัมพุทธ ” หมายความว่าอย่างไร
ก. ผูร้ ู ้ ผูต้ ื่น ผูเ้ บิกบาน
ข. ผูป้ ฏิบตั ิทางสายกลาง
ค. ผูต้ รัสรู ้ดว้ ยพระองค์เองโดยชอบ
ง. ผูน้ าเวไนยสัตว์ ให้พน้ จากกองทุกข์
ตอบ ค. สัมมาสัมพุทธ แปลว่า ผูต้ รัสรู ้ดว้ ยพระองค์เอง
12. ผูข้ บั ขี่รถยนต์ตามท้องถนนหลวง ต้องมีสติรู้ตวั ตื่นอยูเ่ สมอว่ากาลังทาอะไรอยู่ ไม่ใจลอย
เพื่อป้ องกันมิให้เกิดอุบตั ิเหตุ ถือว่ามี “ อริ ยมรรค ” ข้อใด
ก. สัมมากัมมันตะ ( การกระทาชอบ )
ข. สัมมาสังกัปปะ ( ความดาริ ชอบ)
ค. สัมมาสมาธิ ( ความตั้งใจมัน่ ชอบ)
ง. สัมมาสติ ( ความระลึกชอบ)
ตอบ ง. สัมมาสติ ( ความระลึกชอบ) หมายถึง สติรู้ตวั ตื่นอยูเ่ สมอ เช่นรู ้วา่ ขณะนี้กาลังทาอะไร
อยู่ กาลังพูดอะไร กาลังคิดอะไร ทาให้สามารถควบคุมตนเองได้
13. ก่อนจะเสด็จออกผนวช มีเทวทูตทั้ง 4 มาปรากฏภายให้พระสิ ทธัตถะได้เห็นความจริ งของ
ชีวติ คือข้อใด
ก. คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ
ข. เด็กทารก หนุ่มสาว วัยกลางคน และคนชรา
ค. คนเกิด คนแก่ คนเจ็บ คนตาย
ง. พราหมณ์ กษัตริ ย ์ แพทศย์ และศูทร
ตอบ ก. เทวทูตทั้ง 4 ซึ่งได้แก่ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ เป็ นสาเหตุที่ทาให้พระพุทธเจ้า
ทรงเสด็จออกผนวช เนื่องจากทรงได้เห็นว่าเป็ นความจริ งแห่งชีวติ ของมนุษย์และต้องการที่จะ
หลุดพ้นจากสิ่ งเหล่านี้
14. ชาวพุทธที่รู้ดีวา่ การดื่มน้ าเมา เที่ยวกลางคืน และเล่นการพนัน เป็ นสาเหตุแห่งความหายนะ
ถือว่าเป็ นผูม้ ีปัญญาประเภทใด
ก. ปัญญารู ้จกั เหตุและโทษของความเสื่ อม ( อปายโกศล )
ข. ปัญญารู ้จกั เหตุและประโยชน์ของความเจริ ญ ( อายโกศล)
ค. ปัญญารู ้จกั เหตุและอายความเสื่ อมและรู ้วธิ ีสร้างความเจริ ญ ( อุปายโกศล)
ง. ปัญญาที่เกิดจากการฝึ กอบรมสมาธิภาวนา ( ภาวนามยปัญญา)
ตอบ ก. ปัญญารู ้จกั เหตุแห่งความเสื่ อม ( อปายโกศล ) คือรู ้วา่ สิ่ งใดเป็ นความเสื่ อม มีสาเหตุเกิด
จากอะไร
15. หลักคาสอนในพระพุทธศาสนาเน้นให้ยดึ “ ทางสายกลาง ” หมายถึงข้อใด
ก. ใช้ชีวติ อย่างเรี ยบง่ายสันโดษ
ข. ใช้ปัญญาและความเพียรแก้ไขปัญหาชีวติ
ค. ปฏิบตั ิตามหลักอริ ยมรรค หรื อมรรคมีองค์ 8
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ค. หลักคาสอนในพระพุทธศาสนามีขอ้ ปฏิบตั ิให้ยดึ หลักความพอดี ไม่มาก ไม่นอ้ ย ไม่ตึง
หรื อไม่หย่อนจนเกินไปที่เรี ยกว่า “ ทางสายกลาง ” ( มัชฌิมาปฏิปทา ) ได้แก่ การปฏิบตั ิตาม
หลักอริ ยมรรค หรื อมรรคมีองค์ 8
16. พระพุทธศาสนาเปรี ยบ “ ปัญญา ” ประดุจเป็ นแสงสว่างเพราะเหตุใด
ก. สร้างความบริ บูรณ์ในทรัพย์สิน
ข. นาทางชีวติ ให้สุขสงบและเจริ ญรุ่ งเรื่ อง
ค. รักษาตัวให้รอดพ้นจากปากเหยีย่ วปากกา
ง. ส่ งเสริ มความก้าวหน้าทางการศึกษา
ตอบ ข. การที่พระพุทธศาสนาเปรี ยบปัญญาประดุจเป็ นแสงสว่างเพราะว่า ปัญญานั้นนาทางชีวติ
ให้สุขสงบและเจริ ญรุ่ งเรื่ อง
17. ข้อใดจัดเป็ น “ โลกุตตรปัญญา ” ตามแนวทางพระพุทธศาสนา
ก. เชี่ยวชาญในวิชาชีพของตนอย่างถึงแก่น
ข. ฉลาดในศิลปวิทยาการทางโลก
ค. รอบรู ้ในหลักธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า
ง. รู ้เหตุแห่งความเสื่ อมและหลีกเลี่ยงให้พน้
ตอบ ค. ปัญญาธรรม (โลกุตตรปั ญญา) คือ ปัญญารอบรู ้ในหลักธรรมคาสอนของพระสัมมาสัม
พุทธเจ้า ตั้งแต่หลักธรรมเบื้องต้นไปจนถึงขั้นสู งสุ ด
18. ในกรณี ที่ตารวจเข้าเป็ นผูไ้ กล่เกลี่ยระหว่างผูเ้ สี ยหายกับผูก้ ระทาผิด ตารวจดังกล่าวจะมี
หลักธรรมใด เพื่อให้คู่กรณี ได้รับความเป็ นธรรมมากที่สุด
ก. เมตตา
ข. กรุ ณา
ค. มุทิตา
ง. อุเบกขา
ตอบ ง. พรหมวิหาร 4 คือ ธรรมเครื่ องอยูอ่ ย่างประเสริ ฐ เป็ นหลักธรรมประจาใจเพื่อความ
ประพฤติที่บริ สุทธิ์ ดาเนินชีวติ ตนเอง และปฏิบตั ิต่อผูอ้ ื่นโดยธรรมประกอบด้วย 1. เมตตา คือ
ความรักใคร่ ปรารถนาดี 2. กรุ ณา คือ สงสาร 3. มุทิตา คือ ความยินดีในเมื่อผูอ้ ื่นอยูด่ ีมีความสุ ข
4. อุเบกขา คือ วางใจเป็ นกลาง ดังนั้นตารวจควรมีอุเบกขาประจาใจ
19. สาหรับวิธีถวายผ้าอาบน้ าฝน ของพุทธศาสนิกชนนั้น ระยะเวลาที่ถวายผ้าอาบน้ าฝน คือข้อ
ใด
ก. 1 วันก่อนถึงวันออกพรรษา
ข. ช่วงเวลา 1 เดือน ก่อนวันเข้าพรรษา
ค. ช่วงเวลา 1 เดือน หลังวันเข้าพรรษา
ง. ช่วงเวลาวันเข้าพรรษาถึงวันออกพรรษา
ตอบ ข. ระยะเวลาที่ถวายผ้าอาบน้ าฝนอยูใ่ นช่วงเวลา 1 เดือน ก่อนวันเข้าพรรษาแต่นิยมถวาย
กันในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 8 ( ตรงกับวันอาสาฬหบูชา ก่อนวันเข้าพรรษา 1 วัน )
20. สาหรับพิธีทอกกฐิน ของพุทธศาสนิกชนนั้น ระยะเวลาที่ถวายผ้ากฐิน คือข้อใด
ก. เริ่ มตั้งแต่วนั อาสาฬหบูชา เป็ นต้นไป เป็ นเวลา 1 เดือน
ข. เริ่ มตั้งแต่วนั เข้าพรรษา เป็ นต้นไป เป็ นเวลา 1 เดือน
ค. เริ่ มตั้งแต่วนั ออกพรรษา เป็ นต้นไป เป็ นเวลา 1 เดือน
ง.เริ่ มตั้งแต่วนั วิสาขบูชา เป็ นต้นไป เป็ นเวลา 1 เดือน
ตอบ ค. ระยะเวลาที่ถวายผ้ากฐิน กาหนดเวลาของพิธีถวายผ้ากฐิน เริ่ มตั้งแต่วนั ออกพรรษา เป็ น
ต้นไป เป็ นเวลา 1 เดือน ( วันแรม 1 ค่า เดือน 11 จนถึงวันขึ้น 15 ค่า เดือน 12 )

แนวข้ อสอบ
1.สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้มีชื่อเรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร
ก อาเซียน
ข สหประชาชาติ
ค ปฏิญญาอาเซียน
ง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ตอบ ก อาเซียน
2.ประเทศใดไม่ เกี่ยวข้องกับการกาเนิดอาเซียน
ก สาธารณรัฐสิ งคโปร์
ข สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์
ค สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
ง สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
ตอบ ง สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
3.ประเทศใดเข้าเป็ นสมาชิกอาเซียนเป็ นลาดับ ที่10
ก สหภาพพม่า
ข ราชอาณาจักรกัมพูชา
ค สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
ง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ตอบ ข ราชอาณาจักรกัมพูชา
4.ปัจจุบนั อาเซียนมีประเทศสมาชิกทั้งหมดกี่ประเทศ
ก 5 ประเทศ
ข. 7 ประเทศ
ค 9 ประเทศ
ง. 10 ประเทศ
ตอบ ง 10 ประเทศ
5.การที่ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ท้ งั 10 ประเทศ รวมกันเพื่อมิตรภาพและความ
เป็ นน้ าหนึ่งใจเดียวกันคือความหมายของสัญลักษณ์ใด
ก รวงข้าว
ข ตัวอักษรคาว่า asean สี น้ าเงิน
ค รวงข้าวสี เหลือง 10 รวงมัดรวมกัน
ง พื้นที่วงกลมสี แดง สี ขาว และสี น้ าเงิน
ตอบ ค รวงข้าวสี เหลือง 10 รวงมัดรวมกัน
6.สี แดงในสัญลักษณ์อาเซียนหมายถึงข้อใด
ก ความบริ สุทธิ์
ข ความเจริ ญรุ่ งเรื อง
ค สันติภาพและความมัน่ คง
ง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า
ตอบ ง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า
7.One Vision, One Identity, One Community?
หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม
ข้อความนี้มีชื่อเรี ยกอย่างไร
ก กฎบัตรอาเซียน
ข ปฏิญญาอาเซียน
ค วิสัยทัศน์อาเซี ยน
ง คาขวัญของอาเซียน
ตอบ ค วิสัยทัศน์อาเซี ยน
8.ประเทศใดได้รับความไว้วางใจจากประเทศสมาชิกอาเซียนให้เป็ นเจ้าภาพจัดการแข่งขันแบบ
เปิ ดโอกาสให้ประชาชนในประเทศสมาชิกอาเซียนที่สนใจส่ งเพลงของตนเองเข้าประกวดเพื่อ
คัดเลือกเป็ นเพลงประจาอาเซียน
ก ราชอาณาจักรไทย
ข สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์
ค สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
ง สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
ตอบ ก ราชอาณาจักรไทย
9.กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนได้กาหนดให้ภาษาใดเป็ นภาษาราชการของอาเซียน
ก ภาษาไทย
ข ภาษามาเลย์
ค ภาษาอังกฤษ
ง ภาษาฝรั่งเศส
ตอบ ค ภาษาอังกฤษ
10.สิ่ งใดเปรี ยบเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กร
เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพของอาเซียนหรื อทาให้อาเซี ยนมีสถานะเป็ นนิติบุคคล
ก กฎบัตรอาเซียน
ข ปฏิญญาอาเซียน
ค วิสัยทัศน์อาเซี ยน
ง สัญลักษณ์อาเซี ยน
ตอบ ก กฎบัตรอาเซียน
11.ดอกVanda เป็ นดอกไม้ประจาประเทศใด
ก.ไทย
ข.มาเลเซีย
ค.สิ งคโปร์
ง.ลาว
ตอบ ค.สิ งคโปร์
12.ประเทศใดที่เข้าร่ วมสมาชิกอาเซียนเป็ นประเทศล่าสุ ด
ก.กัมพูชา
ข.มาเลเซีย
ค.สิ งคโปร์
ง.ลาว
ตอบ ก.กัมพูชา
13.ประเทศใดในอาเซี ยนที่มีประชากรมากที่สุด
ก.กัมพูชา
ข.มาเลเซีย
ค.สิ งคโปร์
ง.อินโดนีเซีย
ตอบ ง.อินโดนีเซีย
14.อาเซียนเริ่ มก่อตั้งครั้งแรกประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมดกี่ประเทศ
ก.1
ข.5
ค.9
ง.2
ตอบ ข.5
15.อาเซียน+3 ประกอบด้วยประเทศใดบ้าง
ก.ประเทศ จีน เกาหลีใต้ และ ญี่ปุ่น
ข.เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ฮ่องกง
ค.ลาว ญี่ปุ่น รัสเซีย
ง.ฝรั่งเศษ อังกฤษ สหรัฐอเมริ กา
ตอบ ง.ฝรั่งเศษ อังกฤษ สหรัฐอเมริ กา
16.อาเซียน+6 ประกอบด้วยประเทศใดบ้าง
ก.ประเทศ จีน เกาหลีใต้ และ ญี่ปุ่น
ข.เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ฮ่องกง
ค.ลาว ญี่ปุ่น รัสเซีย
ง.ประเทศออสเตรเลีย อินเดีย และนิวซีแลนด์
ตอบ ง.ประเทศออสเตรเลีย อินเดีย และนิวซีแลนด์
17.สานักเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat) ตั้งอยูท่ ี่ใด
ก.ไทย
ข.อินโดนีเซีย
ค.สิ งคโปร์
ง.ลาว
ตอบ ข.อินโดนีเซีย
18.อาเซียนตั้งเป้ าหมายที่บรรลุประชาคมอาเซียนโดยสมบูรณ์ในปี ใด
ก.2556
ข.2557
ค.2559
ง.2558
ตอบ ง.2558
19.ปัจจุบนั อาเซี ยน ประกอบด้วยประเทศใดบ้าง
ก.กัมพูชา ฟิ ลิปปิ นส์ บรู ไนดารุ สซาลาม มาเลเซีย สิ งคโปร์ ไทย อินโดนีเซีย เวียดนาม
พม่า ลาว
ข.ฝรั่งเศษ อังกฤษ สหรัฐอเมริ กา
ค.ประเทศ จีน เกาหลีใต้ และ ญี่ปุ่น
ง.ประเทศ จีน เกาหลีใต้ และ ญี่ปุ่น ฝรั่งเศษ อังกฤษ สหรัฐอเมริ กา
ตอบ ก.กัมพูชา ฟิ ลิปปิ นส์ บรู ไนดารุ สซาลาม มาเลเซีย สิ งคโปร์ ไทย อินโดนีเซีย เวียดนาม
พม่า ลาว
20.ประเทศอะไรที่เข้าร่ วมอาเซียนประเทศสุ ดท้าย
ก.ไทย
ข.อินโด
ค.มาเลเซีย
ง.บรู ไน
ตอบ ง.บรู ไน

You might also like