You are on page 1of 90

ชมรมกัลยาณธรรม

หนังสือดีล�ำดับที่ ๒๙๓

ดร.สนอง วรอุไร

พิมพ์ครั้งที่ ๑  กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗  จ�ำนวนพิมพ์ ๔,๐๐๐ เล่ม
จัดพิมพ์โดย ชมรมกัลยาณธรรม ๑๐๐ ถนนประโคนชัย ต�ำบลปากน�ำ้  
อ�ำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศัพท์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ 
และ ๐-๒๗๐๒-๙๖๒๔

ออกแบบรูปเล่ม คนข้างหลัง  พิสจู น์อกั ษร ทีมงานกัลยาณธรรม  


เพลท แคนนา กราฟฟิก โทร. ๐๘-๖๓๑๔-๓๖๕๑
พิมพ์ บริษัทขุมทองอุตสาหกรรมและการพิมพ์  จ�ำกัด 
โทรศัพท์  ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๑-๓

สัพพทานัง ธัมมทานัง ชินาติ
การให้ธรรมะเป็นทาน ย่อมชนะการให้ทั้งปวง
www.kanlayanatam.com
Dhammaintrend ร่วมเผยแพร่และแบ่งปันเป็ นธรรมทาน
ทูรงฺคมํ เอกจรํ
อสรีรํ คุหาสยํ
เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ
โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา ฯ ๓๗ ฯ

จิตท่องเที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว
ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในร่างกายนี้
ใครควบคุมจิตนี้ได้
ย่อมพ้นจากบ่วงมาร
พุทธพจน์
คํานํา
ของชมรมกัลยาณธรรม

ค�ำบรรยายเรื่อง “กระจกส่องกรรมฐาน”
ของท่านอาจารย์ ดร. สนอง วรอุไร ซึง่ แสดง
แก่ผเู้ ข้าฝึกวิปสั สนากรรมฐาน ณ คณะมนุษย
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อปี พ.ศ.
๒๕๔๔ นี ้ เมือ่ ได้ฟงั คราวใด ก็นอ้ มน�ำใจให้เกิด
ศรัทธาและแรงบันดาลใจที่จะพาตนให้พ้นไป
จากกองทุกข์ทงั้ ปวง ความหลุดพ้นนัน้  จะเกิด
ได้ ด ้ ว ยการลงมื อ ปฏิ บั ติ ต ามอย่ า งมี ส ติ  มี
ปัญญา และพากเพียร สมดังพุทธพจน์ที่ว่า
อาตาปี สัมปชาโน สติมา
4 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
ค� ำ บรรยายอมตะเรื่ อ งนี้  แม้ อ าจยั ง
ไม่ชว่ ยให้ใครถึงทีส่ ดุ แห่งทุกข์ แต่เชือ่ ว่าจะเป็น
แนวทาง เป็นพลังใจให้ทกุ ท่านทีม่ ใี จใฝ่ธรรม
ได้ลงมือปฏิบตั  ิ เจริญสติ เจริญปัญญากันอย่าง
จริงจัง ไม่มวั แต่เพียงพร�ำ่ เพ้อถึงคุณวิเศษแห่ง
พระธรรมเท่านัน้  เพราะพระพุทธองค์ตรัสไว้วา่
“ธรรมทั้งหลาย เธอต้องท�ำเอง ตถาคตเป็น
เพียงผู้ชี้ทางเท่านั้น”

ชมรมกัลยาณธรรมขอกราบขอบพระคุณ
ท่านอาจารย์ ดร. สนอง วรอุไร ที่เสียสละ
เวลาตรวจทานต้นฉบับให้ดว้ ยความเมตตา หวัง
อย่างยิ่งว่าทุกท่านจะได้รับสาระแห่งธรรม
และเป็นพลังใจให้ทุกท่านก้าวพ้นจากภพชาติ
และสิ้นอาสวกิเลสได้ในที่สุด

ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  5
คําอนุโมทนา

เรื่อง “กระจกส่องกรรมฐาน” นี้ เป็นการ
ชี้แนะจากกัลยาณมิตรผู้มีประสบการณ์ ให้
ผู้ปฏิบัติธรรมย้อนกลับมาดูสิ่งผิดพลาดของ
ตัวเอง หากปรับแก้ไขให้เหมาะสม โอกาสที่
จิตจะเข้าสูค่ วามตัง้ มัน่  เกิดปัญญาเห็นแจ้ง ได้
ดวงตาเห็นธรรม ย่อมมีได้ เป็นได้
6 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
หนังสือเล่มนี้จึงเหมาะกับผู้มีทักษะใน
การอ่าน และรักที่จะพัฒนาจิตวิญญาณของ
ตัวเองด้วยการปฏิบตั ธิ รรมเพือ่ น�ำชีวติ สูค่ วาม
สงบ เป็นอิสระ และพ้นไปจากทุกข์ทั้งปวง

ข้าพเจ้าขอขอบคุณและอนุโมทนากับ
ทุกท่าน ผูม้ สี ว่ นร่วมในการจัดพิมพ์หนังสือนี้
ขออานิสงส์แห่งการกระท�ำนี ้ จงเป็นเหตุปจั จัย
สนับสนุนให้ทกุ ท่านได้ดวงตาเห็นธรรม เข้าสู่
ความหลุดพ้นจากอาสวะทั้งปวง ในอนาคต
กาลอันใกล้นี้เทอญ

ดร.สนอง วรอุไร

ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  7
สารบัญ

เก็บของดีไว้กับตัว ๑๑
ครูนั้นส�ำคัญไฉน? ๑๗
รู้จักกรรมฐาน ๒ แบบ ๒๓
สมาธิและอภิญญา ๒๙
กระจกส่องใจตน ๓๕
อันเนื่องด้วยพระนางปชาบดีโคตมี ๖๗
ตรวจสอบตนด้วยหลัก ๘ ๗๓
อานิสงส์ของการเจริญเมตตา
๑๑ ประการ ๘๒
ผลของการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน ๘๕
ประวัติของ ดร. สนอง วรอุไร ๘๖

8 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
พุ ท ธ ว จ น ะ

จิตเต สังกิลิฏเฐ ทุคติ ปาฏิกังขา
จิตเศร้าหมอง ทุคติเป็นที่หมาย
จิตเต อสังกิลิฏเฐ สุคติ ปาฏิกังขา
จิตไม่เศร้าหมอง สุคติเป็นที่หมาย
เก็บของดีไว้กับตัว

นมัสการพระคุณเจ้า สวัสดีครับ เพื่อนสห-
ธรรมิกผูร้ ว่ มปฏิบตั ธิ รรม วันนีเ้ ข้าสูว่ นั ที ่ ๖ แล้ว
ท่านคงผ่านช่วงที่จิตตกต�ำ  ่ ซึ่งมักเกิดในวันที่
๓-๔ มาแล้ว ผ่านมาได้นบั ว่าโชคดี ผูบ้ รรยาย
ต้องการมาท�ำหน้าที่เป็นกระจกให้ท่านส่อง
มองตัวเองว่า การปฏิบัติกรรมฐานของท่าน
ถูกต้องหรือไม่
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  11
จริงๆ แล้วการปฏิบัติกรรมฐานไม่ใช่
เรื่องยากหากเราด�ำเนินได้ถูกทาง ที่รู้สึกว่า
ยากเป็นเพราะด�ำเนินไม่ถกู ทาง ทุกคนสามารถ
ท�ำได้ ไม่ว่าจะอายุเท่าไรก็ท�ำได้ เพราะเรา
ต่างมีร่างกายเป็นเครื่องมือให้จิตได้ใช้ ถ้า
ด�ำเนินได้ถูกทางแล้ว มรรคผลจะเกิดขึ้นเร็ว
มาก เพราะจิตมีความว่องไว ตัวผูบ้ รรยายใน
ฐานะเป็นนักวิทยาศาสตร์ ไม่เชื่อเรื่องนี้มา
ก่อน จึงไปบวชแล้วฝึกกรรมฐาน เริม่ ต้นด้วย
ความไม่เชือ่  แต่ดว้ ยบุญทีด่ ำ� เนินได้ถกู ต้องตาม
แนวทาง มรรคผลจึงเกิดขึน้ เร็วจริงๆ ผูบ้ รรยาย
ปฏิบตั  ิ ๑ เดือนเต็ม เพียงแค่วนั ที ่ ๓-๔ เป็นต้น
ไป เริม่ เกิดสิง่ แปลกๆ ซึง่ ไม่เคยคิด ไม่เคยคาด
หวังว่าจะเกิดขึ้นกับจิตของตัวเองได้ ภายใน
๙ วัน ทุกสิ่งทุกอย่างก็เข้ารูปเข้ารอย สิ่งที่
ไม่เคยเชือ่ ว่าจะเป็นไปได้กเ็ ป็นไปได้ สิง่ ทีเ่ คย
ไม่รู้ไม่เข้าใจก็ได้รู้และเข้าใจ
12 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
ผูบ้ รรยายบวชอยู ่ ๑ เดือนกับ ๑๓ วัน
แต่ปฏิบตั กิ รรมฐานเต็มที่ ๓๐ วัน วันสุดท้าย
ที่ไปลาสึกจากท่านเจ้าคุณโชดกฯ ท่านบอก
ผู้บรรยายว่า

สิ่งที่ได้ไปนั้น
เป็นของดี  ของวิเศษ
ให้เก็บไว้กับตัวตลอดชีวิต”

ตอนนั้นผู้บรรยายไม่ค่อยซาบซึ้งเท่าไร
นัก แต่มาปัจจุบันนี้ซาบซึ้งมาก เก็บไว้กับตัว
มาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ จนถึงปัจจุบันนี้ยัง
มีอยู่ครบ อันที่จริง...มีเพิ่มขึ้นมากกว่าเดิม
เพราะได้ปฏิบตั มิ าตลอด ๒๐ กว่าปี (บรรยาย
เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๔) หลังจากออกจากวัดมา
สิง่ ไม่ด.ี ..ทิง้  เพราะทราบว่าทางนีเ้ ป็นทางทีด่ ี
ที่สุด การที่ได้เกิดมาเป็นมนุษย์และได้พบข้อ
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  13
ปฏิบตั ทิ สี่ ามารถน�ำพาชีวติ ของเราไม่ให้ตกต�ำ่
ได้ นับเป็นสิง่ ประเสริฐ ในวันนี ้ ผูบ้ รรยายจะ
เป็นเพียงกระจกบานหนึ่ง ให้ท่านได้ส่องดู
ตัวเองว่า การประพฤติปฏิบตั ขิ องท่านด�ำเนิน
ไปถูกแนวทางของการปฏิบตั กิ รรมฐานหรือไม่
ถ้ามีขอ้ ใดทีท่ า่ นปฏิบตั ผิ ดิ  ให้แก้ไขเสีย ครูบา
อาจารย์ก็มีอยู่พร้อม สถานที่ฝึกปฏิบัติต่างๆ
ก็อ�ำนวยเกื้อกูลต่อการปฏิบัติเป็นอย่างมาก”

14 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
ในเรือ่ งของครูบาอาจารย์ ผูบ้ รรยายมัน่ ใจว่า
ท่านมาถูกทางแล้ว ข้อนีต้ า่ งกับสมัยพุทธกาล
เมือ่ เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบวชเพือ่ แสวงหา
หลักธรรมส�ำหรับก�ำกับคุ้มครองชีวิตมนุษย์
ในครั้งนั้น ในชมพูทวีปมีอาจารย์ต่างๆ ซึ่งมี
คนฝากตัวเป็นศิษย์กนั มากหลายส�ำนัก เรียก
กันว่า “ครูทงั้  ๖” ได้แก่ ปูรณกัสสป, มักขลิ-
โคสาล, อชิตเกสกัมพล, ปกุทธกัจจายนะ, สัญ-
ชัยเวลัฏฐบุตร และ นิครนถนาฏบุตร
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  17
เจ้าชายสิทธัตถะมิได้ฝากตัวเป็นศิษย์
กับครูทั้ง ๖ นั้น แต่ท่านฝากตัวเป็นศิษย์กับ
อาฬารดาบส กาลามโคตร ซึง่ เป็นฤาษีทมี่ ชี อื่
เสียงโด่งดัง เนือ่ งจากพระองค์ได้สงั่ สมอบรม
บารมีมาเกือบจะเต็มเปีย่ มอยูแ่ ล้ว พระองค์จงึ
ได้วชิ าจากครูอาฬารดาบส กาลามโคตรอย่าง
ง่ายดาย เพียงไม่นานก็ส�ำเร็จฌานสมาบัติ
ชั้นที่ ๗ การฝึกก็เหมือนที่เราฝึก คือ ฝึกจิต
ให้มีสติ เมื่อมีสติตั้งมั่นแล้ว จิตนิ่งเป็นสมาธิ
มากขึน้ ๆ จนเข้าถึงอัปปนาสมาธิ ซึง่ เป็นสมาธิ
สูงสุด หลังจากนัน้ ก็เกิดปรากฏการณ์ของจิต
ทีเ่ รียกว่า “ฌาน” มีอารมณ์แน่วแน่ ทรงบรรลุ
ฌาน ๑, ฌาน ๒, ฌาน ๓, ฌาน ๔ และ
อรูปฌานอีก ๓ ขัน้  แต่พระองค์ทรงพิจารณา
เห็นว่า นั่นไม่ใช่ทางแห่งการตรัสรู้ เพราะ
เมือ่ ใดออกจากฌานสมาบัต ิ ปัญหาต่างๆ ก็ยงั
คงมีอยู ่ ยังแก้ไม่ได้ พระองค์จงึ ร�ำ่ ลาอาจารย์
18 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
อาฬารดาบส ออกเดินทางแสวงหาอาจารย์
ใหม่ตอ่ ไป ทรงได้พบและฝากตัวเป็นศิษย์ของ
อุททกดาบส รามบุตร เรียนอีกไม่นานก็สำ� เร็จ
ฌานสมาบัต ิ ๘ แต่ครัน้ ออกจากฌานสมาบัติ
ปัญหาก็ยงั แก้ไม่ได้ ยังมีอยูด่ งั เดิม พระองค์จงึ
จากลาท่านอุททกดาบสไปแสวงหาความหลุด
พ้นด้วยพระองค์เอง

ผูบ้ รรยายยกเรือ่ งนีข้ นึ้ เป็นตัวอย่างเพือ่


จะบอกท่านว่า ครูบาอาจารย์ผู้ให้การอบรม
ฝึกสอนนั้นส�ำคัญมาก ถ้าครูฝึกเป็นผู้มีมิจฉา
ทิฏฐิเสียแล้ว แม้เราฝึกยาวนานอย่างไร เกิด
๑๐๐ ชาติ ๑,๐๐๐ ชาติ หรือนานกว่านัน้ อีก
เท่าไหร่ก็ตาม มรรคผลก็ไม่เกิด และเราไม่
สามารถหลุดพ้นเป็นอิสระจากสิ่งร้อยรัดได้
ไม่ ส ามารถหลุ ด พ้ น จากกิ เ ลสได้  แต่ ท ่ า น
ทั้งหลายที่มานั่งอยู่ในสถานที่แห่งนี้ ท่านมา
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  19
ถูกที่ ได้ครูดี เป็นครูที่มีสัมมาทิฏฐิ มีความ
เห็นถูกต้อง

ความเห็นถูกตรง ส�ำหรับการปฏิบัติ
วิปัสสนากรรมฐานนี ้ เป็นไปในแนวทางของ
สติปฏั ฐาน ๔ หากท่านใดฝึกแล้วไม่ได้ดำ� เนิน
ไปในแนวทางของสติปฏั ฐาน ๔ โอกาสพลาด
มีมาก อย่างเช่น อาฬารดาบส กาลามโคตร
และอุททกดาบส รามบุตร ทีผ่ บู้ รรยายกล่าว
เช่นนี้เป็นเพราะได้ประสบเข้ากับตัวเองสมัย
ที่ไปฝึกกรรมฐานที่วัดมหาธาตุฯ เมื่อปี พ.ศ.
๒๕๑๘ เรื่องหูทิพย์ ตาทิพย์ รู้ใจคน เหล่านี้
เป็นเรื่องธรรมดาที่เกิดได้ง่าย ถ้าจิตของเรา
เข้าฌานได้ พอถอนจิตออกจากฌาน อภิญญา 
จะเกิดขึน้  แต่เนือ่ งจากผูบ้ รรยายได้ครูฝกึ ทีด่ ี
เช่นท่านเจ้าคุณโชดกฯ ซึ่งเป็นอาจารย์ที่มี
สัมมาทิฏฐิ ท่านจึงชี้ให้ผู้บรรยายเลิกสนใจ
20 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
ให้ใช้ปัญญาพิจารณาสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏนั้น
ให้หายไป ถ้าเราไปหลงเล่นกับอภิญญา ก็ตดิ
โลกีย ์ ยังต้องเวียนว่ายตายเกิดในวัฏฏสงสาร
นั่ น ไม่ ใ ช่ แ นวทางของสติ ป ั ฏ ฐาน ๔ ไม่ ใ ช่
แนวทางของวิปัสสนากรรมฐาน”

ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  21
รู้จักกรรมฐาน ๒ แบบ

การฝึกกรรมฐานมี  ๒  อย่าง
๑. ฝึกให้จติ นิง่ เป็นสมาธิ เรียกว่า สมถ 
กรรมฐาน
๒. ฝึกให้จิตเกิดปัญญารู้เท่าทัน หรือ
ปัญญาเห็นแจ้ง เรียกว่า วิปัสสนา 
กรรมฐาน

ที่ท่านมานั่งฝึกกันอยู่นี้ เป็นการฝึกทั้ง
๒ อย่าง คือ ฝึกจิตให้นงิ่ เป็นสมาธิ และฝึกจิต
ให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง ถ้าจะเอาปัญญาเห็นแจ้ง
อย่างเดียว ไม่ฝึกจิตให้นิ่ง ไม่เอาสมถกรรม
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  23
ฐานได้ไหม? ตอบว่าไม่ได้ เพราะพืน้ ฐานของ 
การเกิดปัญญาเห็นแจ้ง มาจากจิตนิ่งเป็น 
สมาธิได้กอ่ น ด้วยเหตุน ี้ ผูบ้ รรยายจึงกล่าวว่า
ครูฝึกจ�ำเป็นต้องเป็นผู้มีสัมมาทิฏฐิ ถ้าได้ครู
ทีม่ มี จิ ฉาทิฏฐิ จะพาให้เราหลง เวียนว่ายตาย
เกิดในวัฏฏสงสาร ฝึกเท่าไรก็ไม่เกิดปัญญา
เห็นแจ้ง อย่างมากได้เพียงโลกียญาณ ซึง่ เป็น
ปัญญาหยั่งรู้ในโลก ยังต้องมีการเวียนว่าย
ตายเกิดในวัฏฏสงสาร ถ้าเราใช้ปญ ั ญาระดับ
โลกียะ ๒ ตัว (สุตมยปัญญา และ จินตามย- 
ปัญญา) ก็ยังต้องเวียนว่ายตายเกิด ตั้งแต่
นรกจนถึงพรหม ไม่สามารถหลุดพ้นออกจาก
วัฏฏสงสารได้

ท่านทั้งหลายที่อยู่ในที่นี้จึงเป็นผู้โชคดี
ได้ครูทมี่ สี มั มาทิฏฐิ บอกแนวทางฝึกจิตให้นงิ่
และฝึกจิตให้เกิดปัญญาเห็นแจ้ง ซึง่ ด�ำเนินไป
24 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
ตามแนวทางของสติปัฏฐาน ๔ เวลาท่านฝึก
ใช้ “พองหนอ-ยุบหนอ” ท่านก�ำหนดรูท้ หี่ น้า
ท้อง หายใจเข้า...ท้องพอง หายใจออก...ท้องยุบ
ท่านรูไ้ หมว่า นัน่ คือกายานุปสั สนาสติปฏั ฐาน
เป็น ๑ ในกรรมฐานทัง้  ๔ ในขณะทีพ่ จิ ารณา
กายพอง-ยุบ พอง-ยุบ ถ้าท่านมีอาการปวด
เมื่อย ชา นั่นคือเวทนา ท่านต้องพิจารณา
เวทนานุ ป ั ส สนาสติ ป ั ฏ ฐาน จิ ต ที่ เ ข้ า ไปรู ้
อารมณ์ ต ่ า งๆ นั่ น คื อ จิ ต ตานุ ป ั ส สนาสติ 
ปั ฏ ฐาน ส่ ว นธรรมะที่ เ กิ ด ในระหว่ า งฝึ ก
โดยเฉพาะที่ส�ำคัญมากคือ นิวรณธรรม เกิด
ความยินดีในกาม (กามฉันทะ), เกิดความรูส้ กึ
แค้นเคืองขึน้ ในดวงจิต (พยาบาท), เกิดอาการ
ฟุ้งซ่านร�ำคาญ (อุทธัจจกุกกุจจะ), เกิดความ
ลั ง เลสงสั ย  (วิ จิ กิ จ ฉา), หรื อ รู ้ สึ ก ง่ ว งเหงา
หาวนอน หดหู่ซึมเซา (ถีนมิทธะ) เหล่านี้
เป็ น นิ ว รณ์ ทั้ ง สิ้ น  เกิ ด ขึ้ น ในจิ ต ขณะที่ เ รา
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  25
ก�ำลังฝึกปฏิบัติ ก็คือ ธัมมานุปัสสนาสติ- 
ปัฏฐาน ดังนัน้  เมือ่ กาย เวทนา จิต ธรรม 
เกิดขึน้  ท่านต้องพิจารณาว่าเป็นไปตามกฎ 
ธรรมชาติ คือ เกิดขึน้ ในเบือ้ งต้น แปรเปลีย่ น 
ในท่ามกลาง แล้วดับสลายในทีส่ ดุ  เราเรียก 
ว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

ถ้าจิตมองตัวนี้ไม่ออก จะไม่เห็นการ
ดับไป (คือ อนัตตา) ของกาย เวทนา จิต และ
ธรรม แต่ถ้าจิตนิ่ง ท่านจะทราบ เมื่อเกิด
อาการพอง-ยุบที่ท้อง ท่านก็เอาจิตก�ำหนด
ให้ เ กิ ด สติ ร ะลึ ก ได้ ทั น ว่ า  ขณะนี้ ท ้ อ งพอง
ขณะนีท้ อ้ งยุบ ถ้าระลึกรูไ้ ด้วา่ ท้องพอง-ท้องยุบ
นัน่ คือสติ เมือ่ ใดท้องมีอาการพอง-ยุบอยู ่ แต่
ใจท่านไปคิดเรื่องอื่น แสดงว่าขาดสติ หรือ
มี เ รื่ อ งอื่ น เข้ า มารบกวนขณะที่ ท ่ า นก� ำ ลั ง
บริกรรม ปรากฏเป็นสัมผัสขึน้ ในดวงจิต นัน่
26 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
เป็นเพราะจิตขาดสติ ท่านต้องดึงจิตเข้ามา
ฝึกสติใหม่ ให้อยูก่ บั อารมณ์ปจั จุบนั  พองหนอ-
ยุบหนอ พองหนอ-ยุบหนอ ยิง่ มีสติมากเท่าไร
ความตั้ ง มั่ น ของจิ ต ก็ มี ม าก ที่ เ ราเรี ย กว่ า
สมาธิ เมื่อจิตตั้งมั่นเป็นสมาธิ จะเกิดอาการ
ปรากฏต่างๆ ครูฝกึ จะสอบถาม (สอบอารมณ์)
แล้วแนะน�ำแก้ไข ท่านมีหน้าทีอ่ ย่างเดียว คือ
ท�ำตาม ไม่ต้องสงสัย เพราะความสงสัยเป็น
นิวรณ์ ท�ำให้การปฏิบตั ิเนิ่นช้า เหมือนน�ำ้ ชา
ที่อยู ่ ใ นถ้ ว ย ต้ อ งเททิ้ ง ให้ ห มด รั บ สิ่ ง ใหม่
จากครูบาอาจารย์ แล้วท�ำตามให้ได้ จะได้
ผลก้าวหน้าเร็วที่สุด ถ้าเทน�้ำชาออกไม่หมด
ถ้วย ยังมีของเก่าเจือปน ของใหม่ที่ใส่ลงไป
ก็ไม่บริสุทธิ์ ท�ำให้เสียเวลาในการประพฤติ
ปฏิบัติ ท่านจึงมีหน้าที่รับฟังอย่างเดียวแล้ว
ท�ำตาม อย่าคิดสงสัย นั่นเป็นกิเลส ท�ำให้
มรรคผลล่าช้า”
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  27
สมาธิและอภิญญา

เมือ่ ใดสติมากขึน้  จิตจะนิง่ ไปจนถึงขัน้ อุปจาร 


สมาธิ ซึ่งเป็นสมาธิระดับกลาง เหมาะที่จะ
เอามาพั ฒ นาปั ญ ญาเห็ น แจ้ ง  เพราะจิ ต มี
ความนิง่  มีพลังสมาธิมากพอทีจ่ ะเห็นอนัตตา 
หรือไตรลักษณ์ ของผัสสะที่เกิดขึ้นในดวงจิต
ได้ ในสมาธิระดับกลางนีจ้ ะเกิดปีต ิ เช่น ขนลุก
ขนพอง ตัวโยกคลอน โยกไปโยกมา เป็นต้น
ขณะทีเ่ ราบริกรรม “พองหนอ ยุบหนอ” เมือ่
เกิดผัสสะขึ้น เราต้องพิจารณาผัสสะโดยใช้
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  29
จิตตามดูว่า ผัสสะเป็นไปตามกฎไตรลักษณ์
เกิดขึ้นในเบื้องต้น แปรเปลี่ยนในท่ามกลาง
และดับสลายในทีส่ ดุ  ตามดูรอบแล้วรอบเล่า...
รอบแล้วรอบเล่า จนกระทั่งมันดับไป นั่นคือ
อนัตตา เมื่อนั้น...ความเห็นแจ้งหรือปัญญา
เห็นแจ้งในผัสสะจะเกิดขึ้น ทุกผัสสะที่เกิดขึ้น
ในสมาธิระดับนี ้ เราต้องพิจารณาว่าเป็นไปตาม
กฎไตรลักษณ์จริงหรือไม่ เอาจิตตามดูให้รู้
เท่าทัน ท�ำไปๆ ต่อไปเมือ่ เราช�ำนาญแล้ว ไม่
จ�ำเป็นต้องใช้สมาธิลึกเช่นนี้ เพียงแค่ขณิก 
สมาธิ ก็สามารถเห็นการเกิดและดับของผัสสะ
ที่เข้าไปปรากฏในดวงจิตได้

ถ้าเราฝึกสติมากขึน้ ๆ ในทีส่ ดุ เข้าสูส่ มาธิ


ลึกสุด ที่เรียกว่า อัปปนาสมาธิ ลักษณะของ
อัปปนาสมาธิ คือ สติจะอยู่ที่จิต จิตตั้งมั่น
เต็มที่ ไม่ตกภวังค์ ระลึกรู้อยู ่ แต่ไม่รับผัสสะ
30 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
ภายนอก ความรูส้ กึ ปวดแข้งปวดขา ร้อน ได้
ยินเสียง สิง่ ต่างๆ จากภายนอกหายไป สัญญา
ดับ เวทนาดับ ไม่รบั รูอ้ ะไร จิตนิง่ อย่างเดียว
นี้ เ รี ย กว่ า  อั ป ปนาสมาธิ  สมาธิ ขั้ น นี้ ไ ม่ มี
ประโยชน์ในการพิจารณาไตรลักษณ์ให้เกิด
ปัญญาเห็นแจ้ง  แต่มีประโยชน์ส� ำหรับหนี
ปัญหาและโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ได้ชั่วคราว
เมื่อเข้าสมาธิลึกได้ ปัญหาทุกอย่างดับหมด
เมื่อเราถอนจิตออกจากอัปปนาสมาธิ จะเกิด
ปฐมฌาน คือฌานที่ ๑ แล้วไล่ขึ้นไปสู่ฌาน
ที่ ๒, ที่ ๓, ที่ ๔ และอรูปฌานที่ ๑, ที่ ๒,
ที ่ ๓, ที ่ ๔ เกิดตามมาเป็นล�ำดับ เมือ่ เกิดฌาน
ต่างๆ อารมณ์ของฌานจะปรากฏในดวงจิต
เราสามารถรู้ได้ด้วยตนเองว่า ขณะนี้สภาวะ
จิตของเราเสวยอารมณ์อยูใ่ นฌานไหน เพราะ
มีอารมณ์ของฌานก�ำกับ

ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  31
ในคนบางคนที่ฝึกจนถึงฌานแล้ว เมื่อ
ถอนจิตออกจากฌาน ก็เกิดอภิญญา หมาย
ถึง ความรู้สูงสุด มี ๒ ประเภท

ประเภทที่ ๑ คือ โลกียอภิญญา เป็น
อภิญญาที่ ท� ำ ให้ รู ้  เข้ า ใจ หรื อ รู ้ เ ท่ า ทั น สิ่ ง
ต่างๆ ในวัฏฏสงสาร (การเวียนว่ายตายเกิด)
หมายถึง อภิญญาตัวที่ ๑-๕ ในอภิญญา ๖
ได้แก่ แสดงฤทธิไ์ ด้ (ล่องหน, ด�ำดิน ฯลฯ), หู
ทิพย์, รู้ความรู้สึกนึกคิดของผู้อื่น, ระลึกชาติ
ได้, และตาทิพย์

ประเภทที ่ ๒ คือ โลกุตตรอภิญญา เป็น
อภิญญาทีท่ ำ� ให้พน้ ไปจากวัฏฏสงสาร หมายถึง
อภิญญาตัวสุดท้าย (ตัวที่ ๖) คือ อาสวักขย 
ญาณ ซึง่ เป็นปัญญาทีเ่ ป็นเหตุทำ� ให้อาสวกิเลส
สิ้นไป
32 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
ถามว่า อภิญญาประเภทที ่ ๑ มีประโยชน์
ไหม? ตอบว่า ยังไม่มปี ระโยชน์สงู สุด เพราะ
ไม่ได้ใช้องค์กรรมฐานทีจ่ ะปฏิบตั ใิ ห้เกิดปัญญา
เห็นแจ้ง เมื่อจิตเข้าสมาธิลึกได้และดิ่งอยู่กับ
สมาธิลึกเนิ่นนาน จะเกิดความสุขขึ้น ผู้ฝึก
บางคนไปติดตรงนั้น นั่งทีไรก็เข้าสู่สมาธิลึก
ทุกครัง้  เพราะติดความสุข แต่ครูบาอาจารย์
ผู้มีสัมมาทิฏฐิจะไม่ยอมให้จิตของศิษย์ผู้ฝึก
จมดิ่ ง อยู ่ ต รงนั้ น  จะให้ ถ อนออกมาอยู ่ ขั้ น
อุปจารสมาธิ แล้วให้นำ� ไปพิจารณาไตรลักษณ์
ทีเ่ กิดขึน้  ถ้าอย่างนีแ้ ล้ว การพิจารณาสติปฏั -
ฐาน ๔ จะมีผล จะเกิดปัญญาเห็นแจ้งเร็วมาก
ส�ำนักที่สอนแบบนี้มีอยู่ในเมืองไทย ครูบา
อาจารย์จะไม่ยอมให้เราติดสมาธินาน เมื่อ
เริ่มเอาสมาธิมาพิจารณาไตรลักษณ์ได้ จะ
ให้เอามาใช้ทันที มรรคผลจะเกิดขึ้นเร็ว ใช้
เวลาไม่นานถ้าเราท�ำถูกทาง”
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  33
กระจกส่องใจตน

ในขณะที่ท่านฝึกกรรมฐาน ท่านฝึก ๒ เรื่อง
คือ สมถกรรมฐาน กับ วิปัสสนากรรมฐาน
ท่านฝึกสมถกรรมฐานแล้ว จิตสงบตามที่ฝึก
จริงไหม? บางคนฝึกเท่าไรจิตก็ไม่สงบ ท่าน
ต้องตรวจสอบตนเอง และหาวิธชี ว่ ยท�ำให้จติ
สงบได้ สิ่งที่ท่านต้องตรวจสอบ ได้แก่
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  35
๑ ศีล
ในไตรสิ ก ขา มี เ รื่ อ งศี ล  สมาธิ  และ
ปัญญา ทั้ง ๓ อย่างนี้เกื้อกูลกัน ถ้าศีลยังไม่
บริสุทธิ์ ศีลยังเข้าไม่ถึงใจ จิตย่อมไม่ตั้งมั่น
สมาธิยอ่ มไม่เกิด ฉะนัน้  ศีลทีท่ า่ นสมาทานไว้
ต้องท�ำให้บริสทุ ธิเ์ สียก่อน ศีลเป็นเกราะก�ำบัง 
ภัย ถ้าศีลไม่ครบ จิตใจจะหวัน่ ไหว ไม่วา่ จะ 
พยายามเท่าไร จิตก็ยังไม่อยู่กับพองหนอ- 
ยุบหนอ เพราะจิตจะไม่นิ่งถ้าศีลไม่บริสุทธิ์
ฉะนัน้  ท่านต้องกลับไปแก้ไขด้วยการท�ำศีลให้
บริสุทธิ์เสียก่อน เมื่อใดศีลบริสุทธิ์แล้ว การ
ฝึกสติก็เกิดได้ง่าย โอกาสที่จิตนิ่งเป็นสมาธิ
ก็เกิดได้ง่าย ศีลที่สมาทานมา ไม่ใช่ว่าเมื่อ
เลิกฝึกแล้วคืนหมด กลับบ้านแล้วไม่รักษาไว้
นัน่ ผิดทาง เพราะธรรมอันดีงามทัง้ หลาย ถ้า
เรามีแล้ว แต่ไม่รักษาให้คงอยู่ ธรรมนั้นก็ไม่
36 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
คุ้มรักษาเรา ฉะนั้น เมื่อสมาทานศีลแล้ว ให้
รักษาไว้ตลอดชีวิต บางคนบอกว่าตอนฝึกใน
คอร์สกรรมฐาน จิตสงบดี แต่พอกลับบ้าน
ฝึกแล้วฝึกอีก จิตไม่สงบเลย นั่นเพราะศีล
ไม่ครบ ศีลไม่บริสุทธิ์

เช่นเดียวกัน ท่านฝึกอยูท่ นี่  ี่ ๗ วัน ลอง


ถามตัวเองดูว่า ศีลมีครบไหม บริสุทธิ์ไหม?
ศีลไม่ใช่อยูแ่ ค่กายและวาจา ส�ำหรับนักปฏิบตั ิ 
แล้ว ศีลต้องคุมถึงใจ แม้ว่ากายและวาจา
จะครบถ้วนตามศีล ๕ แต่ถ้าใจคิดพยาบาท
อาฆาตแค้น ก็ถือว่ายังไม่มีศีล ศีลของนัก 
ปฏิบัติต้องคุมถึงใจเพราะใจคุมทุกสิ่งทุก 
อย่าง กายจะเป็นอย่างไร วาจาจะเป็นอย่างไร
อยูท่ ใี่ จเป็นตัวสัง่  ใจเป็นตัวสัง่ สมอง โยงไปที่
อวัยวะ แสดงออกเป็นพฤติกรรม (การพูดและ
การกระท�ำ) ถ้าใจไม่บริสุทธิ์ ใจก็ไม่มีศีล แม้
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  37
ปากจะพูดตรงกันข้ามก็ตาม ปากกับใจไม่ตรง
กัน การประพฤติปฏิบตั ธิ รรมจะก้าวหน้ายาก
ฉะนัน้  ใจกับกายต้องเป็นเส้นตรง การปฏิบตั ิ
จึงจะนิ่ง ท่านที่ปฏิบัติแล้วจิตไม่นิ่ง  ขอให้
พิจารณาศีลของตัวเอง

๒ ความมักน้อย
นอกจากศีลแล้ว ลองดูว่าท่านเป็นคน
มักน้อยหรือไม่ “มักน้อย” คือ กินน้อย พูด
น้อย ดูนอ้ ย อ่านน้อย ในการประพฤติปฏิบตั ิ
ถ้าพูดมาก จิตจะฟุง้ เพราะสติรบั ไม่ทนั  ขาดสติ
คนส่วนใหญ่ ทัง้ คนทีม่ าฝึกกรรมฐาน และคน
ที่ใช้ชีวิตอยู่ข้างนอก เป็นผู้ที่ขาดสติ ในสมัย
ที่ผู้บรรยายบวช ท่านเจ้าคุณโชดกฯ บอกว่า
โดยทัว่ ไป คนส่วนใหญ่ดำ� เนินชีวติ โดยขาด 
สติ เมือ่ ขาดสติ การคิด-พูด-ท�ำจึงผิดพลาด 
38 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
กิเลสและบาปสัง่ สมในดวงจิต ผูบ้ รรยายเคย
สงสัยว่า เป็นไปได้อย่างไรที่ว่าคนส่วนใหญ่
ขาดสติ ถ้าขาดสติแล้วจะสื่อความหมายกัน
รู้เรื่องหรือ? เรียนกันรู้เรื่องหรือ? จะเรียน
ส�ำเร็จหรือ? ตอนนั้นไม่เชื่อ แต่จ�ำเป็นต้อง
ยอมเชื่อไปก่อน ท�ำตามค�ำสอนของท่านไป
จนกระทั่งตอนนี้แน่ใจแล้วว่า ที่ท่านพูดว่า
คนส่วนใหญ่ขาดสตินนั้  เป็นความจริง เพราะ
ตามหลั ก จิ ต วิ ท ยา คนเราด� ำ เนิ น ชี วิ ต และ
ท�ำงานการต่างๆ หรือมีปฏิสัมพันธ์กับคนอื่น
โดยมีสติกำ� กับเพียงแค่ประมาณ ๗ เปอร์เซ็นต์
อีก ๙๓ เปอร์เซ็นต์เป็นพฤติกรรมที่ท�ำโดย
ขาดสติทงั้ สิน้  ด้วยเหตุนบี้ าปจึงเกิดขึน้  กิเลส
จึงสัง่ สมในดวงจิตมาก เรามาฝึกจิตให้นงิ่  คือ
ฝึกให้มีสติมากกว่า ๗ เปอร์เซ็นต์ ถ้ามีสติ
การคิด-พูด-ท�ำก็เป็นบุญสั่งสมทั้งวัน เราไม่
เข้าใจแต่แรกว่า ที่เราคิด-พูด-ท�ำ ผิดหรือถูก
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  39
ก็สดุ แต่ใครจะมอง หรือมองด้วยกฎอะไร ใน
บางกรณีสังคมทั่วไปมอง อาจบอกว่าไม่ผิด
เช่น เปิดร้านขายเหล้า กฎหมายว่าไม่ผดิ  แต่
ในกฎแห่งศีลธรรม...มันผิด กรรมอะไรที่ได้ 
ท�ำไว้แล้ว จะถูกสัง่ สมอยูใ่ นดวงจิต และสักวัน 
จะส่ ง ผลกลั บ มาหาผู ้ ก ระท� ำ  ในทางโลก 
อาจมองว่าไม่ผิด แต่ในทางธรรมเป็นเรื่อง
ละเอียดอ่อน เราจึงต้องฝึกสติกันให้มาก

การมักน้อยเป็นประโยชน์ตอ่ การประพฤติ
ปฏิบตั  ิ กินให้นอ้ ยจะดี การกินน้อยท�ำให้ธาตุ ๔
ในร่างกายสมดุล จิตซึง่ อาศัยอยูใ่ นรูปนีก้ ายนี้
ก็เอามาฝึกได้งา่ ย แต่ถา้ กินจนอิม่  กว่าธาตุ ๔
จะปรับสมดุลได้ก็ช้านาน จิตถูกกระทบ การ
ปฏิบตั ใิ ห้จติ มีสติกท็ ำ� ได้ยาก สมัยทีผ่ บู้ รรยาย
ไปบวชแล้วฝึกกรรมฐาน ไม่ต้องมีใครคอย
บอกว่าควรกินเท่าไร ผู้บรรยายกินประมาณ
40 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
๑๐ ช้อนแล้วเลิก กินพอให้สงั ขารนีอ้ ยูไ่ ด้เท่า
นั้น ปรากฏว่ายิ่งกินน้อยเท่าไร การฝึกสติ
ยิ่งเร็วขึ้น จิตตั้งมั่นเป็นสมาธิเร็วขึ้น

การพูดก็เช่นเดียวกัน ตอนทีผ่ บู้ รรยาย


ไปปฏิบัติ แทบไม่ได้พูด ไม่จ�ำเป็นไม่พูด จะ
พูดเฉพาะช่วงสอบอารมณ์เท่านัน้  พูดเพือ่ ถาม
ครูบาอาจารย์ เวลานอกนัน้ ฝึกอย่างเดียว ถ้า
พูดมากจิตจะฟุ้ง พอจิตฟุ้ง การฝึกสติก็ยาก
ต้องถามตัวเองว่า ท่านพูดน้อยไหม? การอ่าน-
ดู-ฟังก็เช่นเดียวกัน  เหล่านี้ควรท�ำให้น้อย
ที่สุดแค่เท่าที่จ�ำเป็น ถ้าไม่จ�ำเป็นอย่าไปอ่าน
อย่าไปดู อย่าไปฟังวิทยุ ฯลฯ อะไรไม่จำ� เป็น
ต้องงดให้หมด สิ่งที่ต้องท�ำมีอย่างเดียว คือ
ครูบอกให้ท�ำอะไรก็ท�ำตาม แค่นั้น ถ้าท�ำได้
อย่างนี้ จิตจะตั้งมั่นเร็ว สติจะมาเร็ว ฉะนั้น
จงมักน้อย พูดน้อย กินน้อย แต่ฝึกปฏิบัติ 
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  41
ให้มาก ถามตัวเองว่า ๒๔ ชั่วโมงของท่าน
ท่ า นฝึ ก วั น ละกี่ ชั่ ว โมงและพั ก ผ่ อ นวั น ละ
กี่ชั่วโมง?

ในสมั ย ที่ ผู ้ บ รรยายไปบวช ไม่ มี ใ คร


มาบอก ผู้บรรยายนอนประมาณ ๔ ชั่วโมง
อีกประมาณ ๒๐ ชัว่ โมงเป็นงานของจิต เป็น
เรือ่ งของการฝึกจิตตลอดเวลา เร่งความเพียร
ต่อเนื่อง ในที่สุดจิตมีสมาธิเร็ว เพียง ๗ วัน
ก็เข้าอัปปนาสมาธิได้ ฌานต่างๆ ก็เกิดขึ้น
วันที ่ ๙ รูปกับนามแยกให้เห็นชัดเจนเป็นคน
ละส่วน เมือ่ เราท�ำถูกทาง มรรคผลจะเกิดขึน้
เร็ว ฝึกต่อไปอีกไม่นาน เกิดเจโตปริยญาณ
คือ รู้ใจคนอื่น เขาไปท�ำอะไรมา เรารู้เรื่อง
ของเขาโดยที่เขาไม่ได้บอก ฝึกไป...ฝึกไปอีก
ไปรู้ภพภูมิหนหลังที่เราเกิดมา ความรู้พิเศษ
เหล่านี้เรียกว่า อภิญญา แต่ไม่ใช่ว่าจะเกิด
42 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
กับทุกคน ถ้าใครฝึกแล้วจิตนิ่ง มีความเบา
ความสว่าง โดยไม่เห็นอะไรเลย ผู้บรรยาย
คิดว่าเป็นการดี ไม่ต้องเสียเวลาไปขจัดสิ่งที่
ปรากฏขึ้นในดวงจิต เพราะสิ่งที่ปรากฏใน
ดวงจิต ถ้าไม่มีครูบาอาจารย์ที่มีสัมมาทิฏฐิ
คอยชีแ้ นะ ดีไม่ดเี ราจะหลงได้ ยกตัวอย่างเช่น
ผูบ้ รรยายฝึกไปๆ แล้วไปเห็นเทวดา ตอนแรก
ไม่เชื่อว่าเป็นเทวดา แต่ท่านยิ้มให้ เมื่อสอบ
อารมณ์คืนนั้นได้บอกให้ครูบาอาจารย์ทราบ
ท่านก็สอนว่า “คุณอย่าไปเล่นกับเทวดา ก�ำหนด
ให้หายไปซะ” ผู้บรรยายได้ท�ำตามค�ำแนะน�ำ
โดยไม่สงสัย เพราะครูบาอาจารย์ทา่ นสัง่ สอน
ให้ เ ราท� ำ ถู ก ทาง ไม่ อ ยากให้ เ สี ย เวลากั บ
สิ่งเหล่านั้น ผู้บรรยายจึงก�ำหนดตามที่ท่าน
แนะน�ำ บางครัง้ เกิดความคิดบางอย่างปรากฏ
ในดวงจิ ต  ผู ้ บ รรยายไม่ เ คยบอกท่ า น แต่
ครูบาอาจารย์ท่านรู้หมดและแก้ได้หมด เรา
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  43
เพียงท�ำตามอย่างเดียว

สิง่ ต่างๆ ทีป่ รากฏขึน้ ในจิตขณะปฏิบตั ิ 


กรรมฐาน ไม่จ�ำเป็นว่าทุกคนต้องประสบ 
เหมือนกัน ส�ำหรับคนทีฝ่ กึ จิตนิง่ มายาวนาน
หลายภพหลายชาติในอดีต ก็อาจปรากฏสิ่ง
เหล่านีข้ นึ้ ในดวงจิตได้ แต่ถา้ ไม่มคี รูบาอาจารย์
ที่ถูกตรง (เช่น ท่านเจ้าคุณโชดกฯ) ผู้ปฏิบัติ
ก็อาจหลงได้ง่าย ท�ำให้เสียเวลานาน ครูบา
อาจารย์ที่ดีสามารถน�ำจิตของผู้ปฏิบัติเข้าสู่
วิปัสสนากรรมฐานได้ ไม่เช่นนั้นผู้ปฏิบัติอาจ
หลงเล่นสมถะ เล่นอภิญญา เสียเวลาไปไม่รู้
เท่าไร ดังนั้น คนที่ฝึกแล้วไม่เห็นอะไร...นั่น
ดีที่สุด แต่ถ้าเห็นอะไร ต้องเรียนถามครูบา
อาจารย์ว่า จะก�ำหนดสิ่งที่เห็นให้หายไปได้
อย่างไร ให้เป็นอนัตตาได้อย่างไร เพราะถ้า
หลงติดสิง่ เหล่านีอ้ ยู ่ วิปสั สนาญาณย่อมไม่เกิด
44 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
๓ ความสัปปายะ
ค�ำว่า “สัปปายะ” หมายถึง เกือ้ กูลต่อ 
การประพฤติปฏิบตั ธิ รรม สถานทีน่ คี้ อ่ นข้าง
สัปปายะ เหมาะสมแล้ว อากาศไม่รอ้ น ก�ำลัง
เย็นสบาย ปัญหาเรือ่ งนีไ้ ม่เข้ากระทบจิต เรา
ก็ฝกึ ได้งา่ ย อากาศสัปปายะ สถานทีส่ ปั ปายะ
นี้ส�ำคัญ เป็นข้อที่ ๑

การพูดคุยก็ตอ้ งสัปปายะเหมือนกัน ถ้า
ไม่จำ� เป็นอย่าไปเทีย่ วพูดคุย ส�ำนักกรรมฐาน
บางแห่ ง มี ก ฎไม่ ใ ห้ ผู ้ ป ฏิ บั ติ พู ด กั น  ๙ วั น
กระทั่งวันสุดท้ายจึงอนุญาตให้พูดได้ ต้อง
เข้มงวดเพื่อให้วาจาสัปปายะ จะได้เกื้อกูลต่อ
การปฏิบตั ธิ รรม ขณะทีอ่ ยูใ่ นส�ำนักกรรมฐาน
ครูสั่งให้ท�ำอะไรแล้วต้องท�ำตาม เมื่อจากครู
ไป ต่างคนต่างอยูโ่ ดยไม่พดู กัน ให้ฝกึ ไว้ตลอด
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  45
ถ้าพูดคุยกัน สติขาด จิตฟุ้ง มรรคผลไม่เกิด
ฉะนั้น เรื่องวาจาต้องสัปปายะด้วย นี้ส�ำคัญ
เป็นข้อที่ ๒

ข้ อ ที่  ๓ บุ ค คลต้ อ งสั ป ปายะเช่ น กั น


หมายถึงผูท้ เี่ ข้าร่วมฝึกด้วยกัน เมือ่ จะท�ำอะไร
ระวังไม่ให้ไปรบกวนสมาธิของคนอืน่  ในสมัย
ที่ผู้บรรยายฝึกตอนบวชเป็นพระ มีผู้ร่วมฝึก
(ทั้งพระและฆราวาส) ประมาณ ๓๐ รูป/คน
บางคนสูบบุหรี ่ กลิน่ บุหรีเ่ ข้ากระทบประสาท
ของเรา ท�ำให้จิตไม่ตั้งมั่น สิ่งเหล่านี้ต้อง
เหมาะสม ต้องท�ำให้สัปปายะ ให้เกื้อกูลแก่
การปฏิบัติ

ข้อที่ ๔ อิริยาบถทั้ง ๔ ของท่านสัป-
ปายะไหม? เวลาเดิน...มีสติก�ำหนดการเดิน
ไหม? หรือเดินไปเรื่อยๆ โดยไม่มีสติก�ำหนด
46 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
ถ้าเป็นอย่างนั้นจิตจะนิ่งยาก ไม่ว่าจะเดิน
จะดู จะพูด จะท�ำอะไร อิรยิ าบถของเราต้อง
สั ป ปายะด้ ว ย ท่ า นเจ้ า คุ ณ โชดกฯ สอนผู ้
บรรยายอย่างละเอียด แม้กระทั่งจะดื่มน�้ำก็
ต้องก�ำหนด “ยืน่ มือหนอ...ยืน่ มือหนอ...ยืน่ มือ
หนอ” พอจะแตะแก้วก็ก�ำหนด “แตะหนอ...
แตะหนอ...แตะหนอ, จับหนอ...จับหนอ, ยกขึน้
หนอ...ยกขึน้ หนอ, เอาเข้ามาหนอ...เอาเข้ามา
หนอ, แตะ (ริมฝีปาก) หนอ, ดื่มหนอ...ดื่ม
หนอฯ” ต้องก�ำหนดตลอด ฉะนั้น เราต้อง
ก�ำหนดอิรยิ าบถต่างๆ อย่างทีท่ า่ นสอน จะยืน
จะเดิน “ซ้าย-ย่าง-หนอ, ขวา-ย่าง-หนอ, หัน
หนอ...หันหนอ” จิตต้องตามระลึกรู้ทัน นี่คือ
อิริยาบถสัปปายะ ท่านก�ำหนดสติหรือไม่?
หรือว่าอยากจะหันก็หันเลย อยากจะลุกก็ลุก
ขึน้ เลย อยากจะพูดก็พดู เลย? ไม่กำ� หนดให้มี
สติกำ� กับ ถ้าเป็นอย่างนัน้ จิตจะนิง่ ยาก เพราะ
ฉะนั้น ทุกอิริยาบถต้องสัปปายะด้วย
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
    47
๔ การเร่งความเพียร
ท่านมีเวลา ๒๔ ชัว่ โมงเท่ากับผูบ้ รรยาย
ในฐานะทีท่ า่ นก�ำลังฝึกปฏิบตั ิ ถามว่าในรอบ
๒๔ ชัว่ โมง ท่านใช้เวลาไปกับการนอนเท่าไร?
ใช้เวลาปฏิบัติเท่าไร? ร่างกายของฆราวาส
ทั่วไป นอนเพียง ๔ ชั่วโมงก็พอแล้ว เพราะ
เมือ่ จิตเป็นสมาธิ พลังงานจะถูกชดเชยเข้ามา
เร็ว โดยปกติของคนทัว่ ไปในแต่ละวัน พลังงาน
จะพร่องไปจากการปรุงแต่งอารมณ์ จากการ
เคลือ่ นไหวของอวัยวะต่างๆ จากการไหลเวียน
ของเลือด ทุกกิจกรรมต้องมีการสูญเสียพลัง
งานทั้งนั้น ตาเห็นรูปก็สูญเสียพลังงาน หู
ได้ ยิ น เสี ย งก็ สู ญ เสี ย พลั ง งาน พู ด  คิ ด  ท� ำ
อะไรต่างๆ ต้องเสียพลังงานทั้งสิ้น

48 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
แต่เมือ่ เรามาปฏิบตั .ิ ..ก�ำหนด...ภาวนา 
สิ่ ง บางอย่ า งที่ ไ ม่ จ� ำ เป็ น ก็ ตั ด ออกไป ถ้ า 
ไม่เห็นได้ยงิ่ ดี ไม่ได้ยนิ ได้ยงิ่ ดี ไม่พดู ได้ยงิ่ ดี 
อารมณ์จะน้อยลง พลังงานจะถูกอนุรกั ษ์ไว้ 
ในร่างกาย ท�ำให้รา่ งกายมีพลังงานเหลืออยู่
มาก สามารถนอนน้อยชั่วโมงได้ นอนเดี๋ยว
เดียวพลังงานก็เต็มแล้ว ถ้าเป็นฆราวาสนอนแค่
๔ ชัว่ โมงก็พอ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ผูบ้ รรยาย
นอน ๔ ชั่วโมง เดี๋ยวนี้ยังนอน ๔ ชั่วโมง
เหมื อ นเดิ ม  ตื่ น นอนเมื่ อ ไรท� ำ งานเมื่ อ นั้ น
ตลอดทั้งวันเป็นเรื่องของงาน ท�ำงานโดยมี
สติกำ� กับ ตี ๑ ตี ๒ ตืน่ ขึน้ ท�ำงานตลอด...ไม่
ได้นอน เอาไว้เป็นยามเฝ้าบ้านดี คนอืน่ หลับ
แต่ผู้บรรยายตื่นขึ้นมาท�ำโน่นท�ำนี่ เพราะจิต
พักผ่อนเพียงพอ พลังงานเต็มแล้ว ไม่งว่ งเหงา
หาวนอน ท�ำงานได้ยาวนาน

ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  49
ดังนั้น ขอให้ท่านเร่งความเพียรตลอด
หยุดผัสสะทัง้ หลายทีไ่ ม่จ�ำเป็น การอ่าน การ
ฟัง การพูดทีไ่ ม่จำ� เป็น หยุดเสีย พลังงานจะถูก
อนุรักษ์ไว้...ไม่สูญเสีย ท�ำให้เรานอนน้อยได้
เมือ่ มีพลังงานมาก เอามาฝึกปฏิบตั  ิ เร่งความ
เพียร และท�ำต่อเนื่อง จิตก็จะสงบได้ง่าย

ขณะทีเ่ ร่งความเพียร ท่านมี อิทธิบาท ๔
ก�ำกับการปฏิบัติหรือไม่? ถามใจตัวเองดู

อิทธิบาท ๔ ในการปฏิบัติกรรมฐาน
ได้แก่ 
๑. รักในการปฏิบัติกรรมฐาน 
๒. ปฏิบตั กิ รรมฐานด้วยความพากเพียร
๓. ปฏิบัติกรรมฐานด้วยจิตจดจ่อ
๔. ใช้ปัญญาไต่สวน

50 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
ขณะทีฝ่ กึ ไป ท่านต้องพิจารณาว่า ท�ำไม
วันนีน้ งิ่ เร็ว ท�ำไมเมือ่ วานนิง่ ช้า เมือ่ วานไม่ปวด
ท�ำไมวันนีป้ วดเร็ว ฯลฯ ต้องใช้ปญ ั ญาไต่สวน
แล้วปรับปรุงแก้ไขทีต่ น้ เหตุ ถ้าท�ำได้อย่างนีแ้ ล้ว
มรรคผลจะเกิดได้เร็ว

จากประสบการณ์ของผูบ้ รรยาย ครูบา
อาจารย์ทา่ นรูก้ ำ� ลังใจของลูกศิษย์ทมี่ าปฏิบตั ิ
ธรรม มีอยูป่ ระโยคหนึง่ ทีท่ า่ นพูดคือ “ธรรมะ 
ของพระพุทธองค์ จะได้ไปต้องเอาชีวิตเข้า 
แลก” ผูบ้ รรยายนึกถึงพระทีอ่ อกธุดงค์อยูป่ า่
รูปเดียว ท่านเหล่านัน้ เด็ดเดีย่ วเอาชีวติ เข้าแลก
ทั้งนั้น จึงได้ธรรมะของพระพุทธเจ้ามาจริง
ส่วนตัวเราไม่เคยท�ำมาก่อน เวลานั่งจึงปวด
เมื่อย มีเหน็บมีชา เมื่อบริกรรม “พองหนอ
ยุบหนอ” ไม่นาน เวทนาก็ตามมา แก้เวทนา
ไม่ได้ก็เปลี่ยนอิริยาบถ จากนั่งมาเป็นเดิน
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  51
จงกรม สลับกันไป พอเดินไปๆ สักพัก ก็ไป
นั่งอีก พอนั่งแล้วปวดอีก ก็ต้องเดินอีก เป็น
อยูอ่ ย่างนี ้ วันนัน้ ผูบ้ รรยายพิจารณาแล้ว คิด
ได้ว่า “เอ๊ะ อย่างนี้แล้วเมื่อไหร่จะได้ล่ะ จิต
ไม่ตั้งมั่น ไม่นิ่งถึงที่สุดเสียที”

ในทีส่ ดุ ระลึกถึงค�ำของครูบาอาจารย์วา่
‘ธรรมะของพระพุทธองค์ ต้องเอาชีวติ เข้าแลก
จึงจะได้’ วันนั้น ผู้บรรยายจึงตั้งสัจจะอธิษ-
ฐานว่า “เช้านี้จะนั่งฝึกกรรมฐาน จะบริ- 
กรรม ‘พองหนอ...ยุบหนอ...พองหนอ...ยุบ 
หนอ’ เมือ่ มีความเจ็บปวดเกิดขึน้ กับแข้งขา 
จะไม่ยอมเปลี่ยนอิริยาบถ จะไม่ยอมขยับ 
เขยือ้ น แต่จะบริกรรม ‘พองหนอ...ยุบหนอ’ 
จะยอมตาย” เพราะคิดว่าคนที่ฝึกนั่งกรรม
ฐานแล้วตายยังไม่มี ผู้บรรยายจะยอมตาย
เพื่อรักษาสัจจะอธิษฐานที่ให้ไว้ ในที่สุดต้อง
52 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
ปวดแน่นอน แต่ดว้ ยพลังของสัจจะบารมีทอี่ ยู่
ในใจ ได้ต่อสู้กับความเจ็บปวดจนแทบจะเอา
ชีวิตเข้าแลกจริงๆ ความรู้สึกของจิตขณะนั้น
เหมือนร่างกายนีก้ ำ� ลังจะสลาย เหงือ่ เม็ดใหญ่ๆ
ออกมาเหมือนอาบน�ำ  ้ จีวรเปียกโชก บริกรรม
“พองหนอ...ยุบหนอ” กายไม่ขยับเขยื้อน จน
ในที่สุดจิตดิ่งเข้าอัปปนาสมาธิไป เมื่อจิตดิ่ง
เข้าสูอ่ ปั ปนาสมาธิ ความปวดแข้งปวดขาหาย
หมด เสียงอะไรข้างนอกไม่ได้ยนิ เลย ใครพูด
อะไรไม่ได้ยนิ  ร้อน-เย็นไม่ปรากฏ อาการเจ็บ
แข้งเจ็บขาไม่ปรากฏ มีแต่ความเบาความสบาย
อย่างเดียว ความรู้สึกในขณะนั้น เหมือนว่า
ได้เข้าอัปปนาสมาธิเพียงแว๊บเดียว ประมาณ
สักชัว่ ขณะจิตเท่านัน้  แต่เมือ่ ออกจากอัปปนา 
สมาธิ กลับมาสูส่ ภาวะปัจจุบนั  พบว่าเวลาผ่าน
ไปแล้วหลายชั่วโมง จึงได้เห็นความเหลื่อม
ของเวลาด้วยปัญญาเห็นแจ้ง สิง่ ต่างๆ เหล่านี้
มีอยู่จริง
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
    53
เช่นเดียวกัน ขอยกตัวอย่างอีกคนหนึ่ง
ทีผ่ บู้ รรยายได้เจอ ผูบ้ รรยายบอกเขาว่า “ถ้า
คุณพบผมบ่อยๆ อีกหน่อยคุณจะเดินตามผม”
ผูบ้ รรยายพูดแค่น ี้ นัน่ เป็นการแนะน�ำให้รจู้ กั
ครั้งแรก ปรากฏว่าเมื่อเกือบๆ เดือนที่ผ่าน
มา เขาเป็นโรคหัวใจ ต้องเข้าห้องซีซยี  ู (CCU)
ทีก่ รุงเทพฯ ด้วยอาการคลืน่ หัวใจหยุด (Flat)
ขาดช่วงเป็นเวลานาน ๕ นาที ปรากฏว่า ช่วง
เวลา ๕ นาทีนี้ เขาได้ไปเที่ยวนรกมา ๒ วัน
เมื่อกลับมาจากนรกแล้ว เขาได้เปลี่ยนพฤติ
กรรมไปในทางทีด่ ขี นึ้  เห็นไหมครับว่า ๕ นาที 
ที่หายไปในเมืองมนุษย์เป็นเวลาที่ยาวนาน 
ถึง ๒ วันในเมืองนรกขุมตื้นๆ นี่เป็นเครื่อง
ยืนยันว่า การเหลื่อมของมิติแห่งกาลเวลามี
จริง อยู่ที่เราจะสัมผัสได้หรือไม่เท่านั้น

54 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
ฉะนัน้  การยอมเอาชีวติ เข้าแลกธรรมะ 
ของพระพุทธเจ้า ถ้าท�ำถึงที่สุดแล้วท่านจะ 
ได้เห็น ถ้าท่านอยากพิสูจน์ ท�ำได้ที่นี่เดี๋ยวนี้
เลย อธิษฐานว่า “เราจะนั่งกรรมฐาน แม้จะ
ปวดเมื่ อ ยเท่ า ไหร่ จะไม่ ย อมขยั บ เขยื้ อ น”
แล้วรักษาสัจจะอธิษฐานนีใ้ ห้คงอยู ่ อย่าให้เสีย
สัจจะ แล้วท่านจะได้ธรรมะ

ท่านยอมตายเพื่อแลกกับธรรมะของ
พระพุทธเจ้าไหม? ถ้าท่านยอมตายได้ คนที่
ยอมตายจะได้ของดีไป ผู้บรรยายได้เห็นพระ
ธุดงค์ พระกรรมฐาน ท่านเหล่านั้นมีใจเด็ด
เดี่ยว เอาชีวิตเข้าแลกธรรมะของพระพุทธ
องค์ ทั้ ง นั้ น  มี ห ลวงปู ่ รู ป หนึ่ ง * ขณะนี้ อ ายุ
*กล่าวถึง หลวงปู่สุภา กันตสีโล อริยสงฆ์ ๕ แผ่นดิน
ซึ่ ง ท่ า นละสั ง ขารแล้ ว ด้ ว ยอาการสงบที่ วั ด บ้ า นเกิ ด
จังหวัดสกลนคร เมื่อ ๒ กันยายน ๒๕๕๖

ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  55
๑๐๖ ปี สวดมนต์ไม่พลาดเลย คนอายุตั้ง
๑๐๖ ปี ตามหลักวิทยาศาสตร์ สมองเสื่อม
ไปแล้ว แต่ท่านไม่เสื่อม ผู้บรรยายเคยเรียน
ถามท่านว่า “ในฐานะนักปฏิบัติ ตลอดระยะ
เวลาทีห่ ลวงปูอ่ อกธุดงค์มา เคยมีบา้ งไหมครับ
ที่พบเหตุการณ์วิกฤติถึงกับต้องเอาชีวิตเข้า
แลก?”

ท่านตอบว่า “มี” ท่านเล่าว่า ครัง้ หนึง่
ท่านธุดงค์ไปแถบเมืองญวณ อยูร่ ปู เดียวในป่า
ขณะทีน่ งั่ กรรมฐาน ปรากฏว่ามีงใู หญ่เขมือบ
ท่านเข้าไปครึ่งตัวทางขา ท่านนั่งเหยียดขา
เอามือเท้าพื้นไว้ ผู้บรรยายถามท่านว่า

“หลวงปู่กลัวไหม?”

56 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
“ไม่กลัว” ท่านตอบ งูก็เขมือบท่านเข้า
ไปเรื่อยๆ ท่านพูดกับงูว่า “ชีวิตนี้ไม่เสียดาย
หรอก เพราะตัง้ แต่บวชมา ก็ตอ้ งการนิพพาน
เท่านั้น เพราะฉะนั้น จะกินก็กินไปเลย แต่
ขอให้ได้นิพพานก่อน” นี่คืออธิษฐานปรมัตถ
บารมี เอาชีวิตเข้าแลกธรรม พอท่านพูด
อย่างนี้ งูขยอกออก ผู้บรรยายจึงได้ข้อคิด-
ค�ำสอนจากท่านและพระกรรมฐานทั้งหลาย
ที่ ท� ำ ตนเป็ น แบบอย่ า งให้ ดู  เดี๋ ย วนี้ เ วลาผู ้
บรรยายเข้าป่าคนเดียว นอนป่าคนเดียว ไม่
กลัวเลย อะไรจะเกิดก็ชา่ งเถิด ถึงตัวจะตายก็
ช่างเถิด แต่ขอให้ได้นิพพานก่อนตาย ดังนั้น
ท่านทัง้ หลาย เมือ่ ท่านอธิษฐานแล้ว ท่านต้อง
รักษาสัจจะนั้นไว้ ท�ำให้มาก แล้วเร่งความ
เพียรให้ต่อเนื่อง ก�ำกับด้วยอิทธิบาท ๔ คือ
ปฏิบัติด้วยใจรัก, ปฏิบัติด้วยความพากเพียร,
ปฏิบั ติ ด ้ ว ยใจจดจ่ อ , และใช้ ป ั ญ ญาไต่ ส วน
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  57
วันนี้ปฏิบัติได้ดี เมื่อวานไม่ดี หรือวันนี้ไม่ดี
เมื่อวานดี ต้องหาเหตุและแก้ไขที่เหตุให้ได้
มรรคผลในการปฏิบตั กิ รรมฐานจะเกิดขึน้ เร็ว

เหตุ ที่ จิ ต ไม่ ส งบอี ก ประการหนึ่ ง คื อ


อิ น ทรี ย ์  ๕ ไม่ เ สมอกั น อิ น ทรี ย ์  ๕ ได้ แ ก่
ศรัทธา วิริยา สติ สมาธิ และ ปัญญา วันนี้
ผูบ้ รรยายมาเป็นกระจกส่อง ขอให้ทา่ นตรวจ
สอบตัวเอง
ศรัทธาต้องเสมอกับปัญญา ให้มีพลัง
เท่าๆ กัน ถ้าศรัทธามากแต่หย่อนปัญญา สิง่
ทีป่ รากฏคือความโลภ ปฏิบตั มิ าตัง้ หลายวัน...
อยากเห็นนั่น อยากเห็นนี่ อยากได้มรรคผล
เหลือเกิน เพราะฉะนั้น ต้องถามใจตัวเองว่า
เราอยากบรรลุถึงขั้นนั้นขั้นนี้ อยากเห็นนั่น
อยากเห็นนี่หรือเปล่า นั่นคือ ศรัทธามากแต่
ปัญญาน้อย ไม่สมดุล เป็นอุปสรรคให้เกิด
58 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
ความเนิ่นช้าในการประพฤติปฏิบัติ

ถ้าปัญญามาก ศรัทธาน้อย ก็ทำ� ให้เกิด
ความลังเลสงสัยต่างๆ “เราท�ำไปแล้วจะถูก
ไหม?” ดังนัน้  ขอให้หยุดสงสัย ครูบาอาจารย์
บอกอย่างไร จงท�ำตาม ไม่ต้องสงสัยค�ำพูด
ของครูบาอาจารย์ เก็บความสงสัยเอาไว้กอ่ น
เมื่อเรามีปัญญา จะมาตรวจสอบทีหลังได้ว่า
ค�ำพูดของครูบาอาจารย์เป็นสัมมาทิฏฐิหรือ
ไม่ ดั ง นั้ น ศรั ท ธากั บ ปั ญ ญาต้ อ งเสมอกั น
แล้วจะไปได้เร็ว

วิรยิ ากับสมาธิตอ้ งสมดุลกัน ถ้าความ


เพียรมากจะฟุ้งซ่าน ถ้าสมาธิน้อยจะคุมจิต
ยาก หรือถ้าสมาธิมาก-ความเพียรน้อย จิต
นิ่งมากก็จะง่วง เพราะฉะนั้น ต้องเร่งความ
เพียร คือ เพิม่ พลังของความเพียรให้สงู ขึน้ มา
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  59
เท่าสมาธิ แล้วจะไปได้เร็ว

ส่วนสติ ท�ำให้ยิ่งใหญ่ ยิ่งมากเท่าไร 
ก็ยิ่งดีเท่านั้น เรามีสติมากหรือน้อยดูไม่ยาก
ขณะที่ท่านบริกรรม “พองหนอ...ยุบหนอ...
พองหนอ...ยุบหนอ” สักครึ่งชั่วโมง ลองดูว่า
ครึง่ ชัว่ โมงนี ้ จิตของท่านระลึกรูอ้ ยูก่ บั หน้าท้อง
ทีพ่ อง-ยุบ (กายานุปสั สนาสติปฏั ฐาน) เท่านัน้
หรือเปล่า หรือว่าครึ่งชั่วโมงนี้ใจแว่บไปคิด
เรื่องโน้นเรื่องนี้ ทั้งๆ ที่เราก�ำลังบริกรรม
ก�ำหนดเอาอิรยิ าบถทีเ่ ป็นปัจจุบนั  ถ้าท่านเป็น
อย่างนั้น นั่นคืออาการขาดสติ ท่านต้องท�ำ
สติให้มากขึน้  มากขึน้  ในฐานะทีเ่ ป็นนักปฏิบตั ิ
ผู้บรรยายดูออกว่าใครมีสติแค่ไหน เพราะ
พฤติกรรมของแต่ละบุคคลเป็นตัวฟ้อง มีสติ
หรือไม่มีสติ...เพียงเห็นเดินมาก็รู้แล้ว เพียง
เอ่ยปากพูดก็รู้แล้ว นักปฏิบัติที่มีสติท�ำอะไร
60 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
ย่อมไม่พลาด ท�ำต่อเนื่องได้แบบไม่กระโดก
กระเดก ดังนั้น สติส�ำคัญมาก ท�ำให้ยิ่งใหญ่
เท่าไรยิง่ ดีเท่านัน้  ในขณะตืน่  สติเป็นด่านหน้า 
คอยระลึกได้ทันสิ่งกระทบที่เข้ากระทบจิต
สิ่งกระทบจะเข้าทางทวารทั้ง ๖ คือ หู ตา
จมูก ลิ้น กาย ใจ สุดแต่จะมีสติระลึกได้ทัน
หรือไม่ เมือ่ สติระลึกได้ทนั  สติกต็ งั้ มัน่  สมาธิ
เกิดตามมาเป็นอัตโนมัต ิ เมือ่ สมาธิเกิดตามมา
ก็เป็นเครื่องมือส�ำหรับใช้พัฒนาปัญญาเห็น
แจ้งให้เกิดขึ้น

การเจริญสติปฏั ฐาน ๔ โดยพิจารณา 
ตามกฎไตรลักษณ์ เป็นทางสูป่ ญ ั ญาเห็นแจ้ง
ผัสสะใดเข้ากระทบแล้วไม่เกิดอนัตตา ปัญญา
เห็นแจ้งในผัสสะนั้นจะไม่เกิด ผัสสะใดเข้า
กระทบแล้วอนัตตาได้ ไม่กลับมาเกิดอีก ปัญญา
เห็ น แจ้ ง ในผั ส สะนั้ น จะเกิ ด ขึ้ น , ผั ส สะที่  ๒
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  61
เกิดขึน้ แล้วอนัตตาได้ ไม่กลับมาเกิดอีก ปัญญา
เห็นแจ้งในผัสสะที่ ๒ เกิดขึ้น เป็นไปเรื่อยๆ
อย่างนี้ ปัญญาเห็นแจ้งมีลักษณะ ๒ อย่าง 
คือ สว่างและคม ในแง่ความสว่าง ปัญญา
เห็นแจ้งสว่างยิง่ กว่าแสงไฟทีน่ กั วิทยาศาสตร์
สร้างขึน้ มา สว่างกว่าแสงดาว แสงจันทร์ และ
แสงอาทิตย์ แสงแห่งปัญญาสามารถมองทะลุ
เข้าไปถึงจิตใจของคน คิดอะไรอยู่ก็รู้ ไปท�ำ
อะไรมาก็รู้ คนที่ฝึกดีแล้ว ปัญญาจะสว่าง
อย่างนั้น

ในฐานะทีเ่ ป็นนักวิทยาศาสตร์ ผูบ้ รรยาย


วิเคราะห์ดวู า่  ท�ำไมจึงเป็นอย่างนัน้ ได้ ไม่ยาก
เลย คลืน่ จิตของมนุษย์เราละเอียดมาก เครือ่ ง
มือวิทยาศาสตร์ที่มีอยู่ในปัจจุบันวัดไม่ได้เลย
เมือ่ ใดทีเ่ ราสามารถฝึกจนความถีข่ องคลืน่ จิต
คงทีไ่ ด้ (ไม่ใช่ใหญ่บา้ ง-เล็กบ้าง) เราก็สามารถ
62 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
เอาคลื่นจิตนี้ไปใช้ประโยชน์ได้มหาศาล เช่น
ส่องใจคนได้ รู้เท่าทันสิ่งกระทบทั้งหลาย รู้
เท่าทันโลกและชีวิต ทั้งสว่างทั้งคม สามารถ
แก้ปญ ั หาได้หมดทุกอย่าง ต่างกับปัญญาทาง
โลก แม้คนที่เรียนจบขั้นปริญญาเอกแล้ว ก็
ยังแก้กิเลสใหญ่ ๓ ตัว คือ โลภ โกรธ หลง
ไม่ได้เพราะพลังยังไม่ถงึ  แต่เมือ่ ใดเกิดปัญญา
เห็นแจ้ง จะสามารถดับความโลภ โกรธ หลง
ได้ง่าย วิธีดับกิเลสใหญ่ๆ พวกนี้ไม่ยาก คือ
พิจารณาขันธ์ ๕ ให้เห็นว่าเป็นไปตามกฎไตร
ลักษณ์ เมื่อใดแต่ละขันธ์อนัตตาได้ ตัวคนก็
ไม่ม ี อัตตาก็ไม่ม ี (อัตตา คือตัวตน, คือความ
เห็นแก่ตัว) กลายเป็นอนัตตาไป เมื่อความ
เห็นแก่ตัวดับไป ความเห็นแก่คนอื่นเกิดขึ้น
โดยอัตโนมัต ิ ฉะนั้น คนที่ดับอัตตาได้ จะไม่
นึกถึงตัวเอง แต่จะนึกถึงคนอืน่  จะระวังว่าเรา
จะเบียดเบียนเขาไหม เขาจะเสียประโยชน์ไหม
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  63
คนอย่างนี้จะพิถีพิถันในการด�ำเนินชีวิต

ฉะนั้น อินทรีย์ทั้ง ๕ ของท่าน ต้อง 
ปรับให้สมดุลกัน
ศรัทธาต้องเสมอกับปัญญา
วิริยาต้องเสมอกับสมาธิ
สติต้องท�ำให้ยิ่งใหญ่ ยิ่งมากยิ่งดี 
จะยิง่ ระลึกได้ทนั ทุกสิง่ ทีเ่ ข้ากระทบจิต

สติจะยิ่งใหญ่ได้ ก็ต้องเร่งความเพียร
ให้มาก บริกรรม “พองหนอ-ยุบหนอ” ให้มาก
แต่สติจะเกิดได้ ต้องเริม่ ต้นมาจากศีลทีบ่ ริสทุ ธิ์
ค่อยๆ ไล่ไป ใช้ปัญญาไต่สวนปรับปรุงแก้ไข
ตัวเอง ส่องดูตัวเอง เมื่อท่านมีสติ มีสัมป- 
ชัญญะ และมีปญ ั ญารูเ้ ท่าทันโลกและชีวติ แล้ว 
การด�ำเนินชีวติ ของท่านทีก่ ำ� กับด้วยสติและ 
ปัญญารูเ้ ท่าทัน จะเป็นไปในฝ่ายกุศลทัง้ นัน้  
64 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
ทุกขณะตื่นท่านด�ำเนินชีวิตอยู่ในฝ่ายกุศล 
คิดเป็นกุศล พูดเป็นกุศล การกระท�ำเป็น 
กุศล มีแต่กุศลกรรมล้วนๆ ที่สั่งสมอยู่ใน 
ดวงจิต เป็นบุญล้วนๆ”

ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  65
อันเนื่องด้วย
พระนางปชาบดีโคตมี

ตัง้ แต่ผบู้ รรยายออกจากวัดเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๘


อะไรทีเ่ ป็นอกุศล...ไม่คดิ  ไม่พดู  ไม่ท�ำ การที่
จะปฏิบตั เิ ช่นนีไ้ ด้ตอ้ งมีสติกำ� หนดระลึกรู ้ และ
ใช้ปญ ั ญาก�ำกับ เมือ่ เรายังอยูก่ บั ครูบาอาจารย์
ท่านบอกให้ท�ำอะไร เราก็ท�ำตาม แต่เมื่อ
ห่างครูบาอาจารย์ ไม่รจู้ ะถามใคร ปรึกษาใคร
เราจะท�ำอย่างไรจึงจะรู้ว่า เราเดินได้ถูกทาง
หรือไม่
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  67
หลั ก ตรวจสอบนั้ น มี อ ยู ่  ผู ้ บ รรยายก็
ตรวจสอบตัวเองอยูเ่ สมอ หลักนีพ้ ระพุทธเจ้า
ทรงประทานให้กับพระน้านางปชาบดีโคตมี
เรื่องมีอยู่ว่า พระนางทูลขออนุญาตบวชเป็น
ภิกษุณีต่อพระพุทธเจ้าถึง ๒ ครั้ง แต่ไม่ทรง
อนุญาต หลังจากพระราชทานเพลิงพระศพ
พระเจ้าสุทโธทนะ (พุทธบิดา) แล้ว พระนางได้
ปลงผม และพาเจ้าหญิงต่างๆ ออกบวชอย่าง
ไม่เป็นทางการ โดยห่มผ้าเหลืองเดินพระบาท
เปล่าจากเมืองกบิลพัสดุ์ รอนแรมมาจนถึง
เมืองเวสาลี แคว้นวัชชี พระบาทบวมพอง
มาถึงกูฏาคารศาลา ได้พบพระอานนท์อยู่ที่
หน้าประตู พระอานนท์สงสัยว่าพระน้านาง
ร้องห่มร้องไห้ด้วยเรื่องใด จึงสอบถาม ได้
ความว่า ขอบวชเป็นภิกษุณีกับพระพุทธเจ้า
ถึง ๒ ครัง้  แต่ไม่ทรงอนุญาต จึงเสียพระทัย
มาก ทั้งที่ตนเคยเป็นแม่นมเลี้ยงเจ้าชายสิท-
68 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
ธัตถะมาหลังจากพระนางสิรมิ หามายา (พุทธ
มารดา) เสด็จสวรรคตตัง้ แต่เจ้าชายสิทธัตถะ
อายุได้ ๗ วัน พระอานนท์มีความแตกฉาน
หลายเรื่อง เมื่อท่านทราบเช่นนี้ จึงรับปาก
พระนางปชาบดีวา่  จะไปทูลถามพระพุทธเจ้า
ให้ว่าจะได้บวชหรือไม่

พระอานนท์ทา่ นรูว้ ธิ ถี าม คนทีม่ ปี ญ


ั ญา
จะรู้วิธีถาม พระอานนท์ถามพระพุทธเจ้าว่า
“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ผู้หญิง เมื่อประพฤติ
ปฏิบัติธรรมแล้ว มรรคผลนิพพานจะเกิดขึ้น
ได้หรือไม่? พระเจ้าข้า” พระพุทธองค์รับว่า
ได้ พระอานนท์จึงทูลต่อว่า ในเมื่อผู้หญิง
สามารถบรรลุนิพพานได้เหมือนผู้ชาย แล้ว
เหตุใดเมือ่ พระน้านางปชาบดีโคตมีมาขอบวช
จึงไม่ทรงอนุญาต ในที่สุดพระพุทธเจ้าทรง
อนุญาต แต่ทรงตัง้ เงือ่ นไขให้รบั ครุธรรม เสีย
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  69
ก่อน จึงจะบวชได้  พระอานนท์จึงมาบอก
พระนางปชาบดีโคตมีวา่  “ผูจ้ ะบวชเป็นภิกษุณี
ได้ ต้องรับครุธรรม ๘ ประการ ท่านรับได้
หรือไม่?” พระนางรับว่าได้ เมือ่ รับปากว่าได้
ก็ถอื ว่าเป็นการบวชตัง้ แต่นนั้ เลย มีอยูอ่ งค์เดียว
ในพระพุทธศาสนาทีบ่ วชโดยการรับครุธรรม ๘
ด้วยวาจา

ครุธรรม ๘ ได้แก่
๑. ภิกษุณ ี แม้จะบวชมาได้ ๑๐๐ พรรษา
ต้องแสดงความเคารพภิกษุแม้เพิ่ง
บวชใหม่ในวันนั้น
๒. ภิกษุณีต้องอยู่ในวัดที่มีภิกษุอยู่ด้วย
๓. ภิกษุณตี อ้ งเข้ารับโอวาทจากภิกษุทกุ
กึ่งเดือน
๔. ภิกษุณเี มือ่ จ�ำพรรษา ต้องยอมให้ภกิ ษุ
และภิกษุณีอื่นว่ากล่าวตักเตือนได้
70 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
๕. ภิกษุณที ำ� ผิดวินยั ทีม่ โี ทษหนัก (สังฆา- 
ทิเสส) ต้องอยูก่ รรมในสงฆ์ทงั้  ๒ ฝ่าย
(คือทั้งฝ่ายภิกษุและฝ่ายภิกษุณี)
๖. ก่อนบวชเป็นภิกษุณี ต้องบวชเป็น
สามเณรี ถือศีล ๘ นาน ๒ ปี แล้วจึง
บวชเป็นภิกษุณีกับสงฆ์ทั้ง ๒ ฝ่าย
๗. ภิกษุณีต้องไม่ด่าหรือกล่าวให้ร้าย
ภิกษุ
๘. ภิกษุณกี ล่าวสอนภิกษุไม่ได้ แต่ภกิ ษุ
สอนภิกษุณีได้
ทัง้  ๘ ข้อนี ้ ภิกษุณตี อ้ งถือปฏิบตั ติ ลอด
ชีวิต

ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  71
ตรวจสอบตน
ด้วยหลัก ๘

ภิกษุณีเมื่อบวชแล้ว ต้องเดินทางธุดงค์ไปฝึก
ปฏิบัติอย่างพวกเรานี้ พระนางปชาบดีจึงทูล
ถามพระพุทธเจ้าว่า เมื่อห่างครูบาอาจารย์
จะมีอะไรเป็นเครือ่ งวัดว่าการประพฤติปฏิบตั ิ
ธรรมท�ำถูกหรือท�ำผิด? พระพุทธเจ้าจึงประทาน
มาตรวัด ๘ ข้อ ยามทีเ่ ราห่างจากครูบาอาจารย์
ให้เราใช้หลักธรรมนี้พิจารณาว่าเราปฏิบัติได้
ถูกทางหรือไม่
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  73
หลักตัดสินธรรมวินัย  ๘  ประการ
๑. ธรรมใด วินยั ใด ค�ำสอนใด เมือ่ น�ำ 
ไปประพฤติปฏิบัติแล้ว ท�ำให้ความก�ำหนัด 
ยินดีเพิ่มขึ้น ธรรมนั้น วินัยนั้น ค�ำสอนนั้น 
ไม่ใช่ของเราตถาคต

๒. ธรรมใด วินยั ใด ค�ำสอนใด ทีน่ ำ� ไป 


ประพฤติปฏิบตั แิ ล้ว เป็นเหตุให้ตอ้ งไปเกิดอีก 
ในภพต่างๆ ธรรมนั้น วินัยนั้น ค�ำสอนนั้น 
ไม่ใช่ของเราตถาคต

ยกตัวอย่างเช่น บางคน แม้ปฏิบตั ธิ รรม
แล้ว ก็ยังเอาข้าวไปถวายพระพุทธเจ้า นี่ยัง
เป็นโลกียะ, ฝึกไปเห็นเทวดา นีย่ งั เป็นโลกียะ
สิ่งใดท�ำแล้วเป็นเหตุให้ไปเกิดในภพภูมิต่างๆ
ตั้งแต่นรกไปจนถึงพรหม ถือว่าไม่ใช่ เพราะ
74 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
พระพุทธองค์สอนให้ไม่ติดในภพ

๓. ธรรมใด วินยั ใด ค�ำสอนใด ถ้าน�ำไป 
ประพฤติปฏิบัติแล้ว กิเลสเพิ่ม โดยเฉพาะ 
กิเลสใหญ่ คือ ความโลภ ความโกรธ ความ 
หลง เพิ่มขึ้น ธรรมนั้น วินัยนั้น ค�ำสอนนั้น 
ไม่ใช่ของเราตถาคต

บางคนฝึกกรรมฐานไปแล้ว โทสะเพิ่ม
มากขึน้  แสดงว่าผิดทาง ท่านควรถามตัวเอง
ว่า ปฏิบัติธรรมแล้ว ความโกรธลดลงไหม?
เรือ่ งนีแ้ ก้ไม่ยากหากเรามีปญั ญารูเ้ ท่าทัน เมือ่
ประสบกับเหตุที่ท�ำให้โกรธ เมื่อมีเรื่องขัดใจ
ไม่วา่ จะเป็นวัตถุสงิ่ ของขัดใจ หรือบุคคลขัดใจ
หากเรามิได้พิจารณาโดยแยบคาย จะเกิด
โทสะทัง้ นัน้  ในฐานะทีเ่ ป็นสาวกของพระพุทธ-
เจ้า ประพฤติปฏิบัติธรรมตามแนวทางของ
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  75
พระพุทธเจ้าแล้ว ต้องลดความโกรธได้ เมื่อ
ประสบสิง่ ทีข่ ดั ใจ ต้องมีสติกำ� กับ รูเ้ ท่าทันมัน
มีปัญญาเห็นแจ้งว่าความโกรธก็เป็นอนัตตา
เมื่อรู้เท่าทันแล้ว ความโกรธดับทันที แต่ถ้า
โกรธแล้วค้างอยู่ยาวนาน อย่างนั้นผิดทาง
ประพฤติธรรมแล้ว กิเลสต้องลดไป หลุดไป 
เป็นอิสระมากขึ้นๆ จึงจะเรียกว่าด�ำเนินไป 
ถูกทาง

๔. ธรรมใด วินยั ใด ค�ำสอนใด เมือ่ น�ำ 


ไปประพฤติปฏิบัติแล้ว ท�ำให้เป็นคนมักมาก 
กินมาก นอนมาก พูดมาก ธรรมนัน้  วินยั นัน้  
ค�ำสอนนั้น ไม่ใช่ของเราตถาคต

ผูป้ ฏิบตั ธิ รรมแล้ว ต้องไม่มกั มาก ต้อง


มักน้อย กินน้อย นอนน้อย พูดน้อย ไม่จำ� เป็น
ไม่พดู  ตัวอย่างเช่น เห็นรถชนกัน พอไปถึงที่
76 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
ท�ำงานก็เล่าให้เพื่อนฝูงที่ท�ำงานฟัง น�ำเรื่อง
ไม่ดีไปบอกเล่า ท�ำให้ผู้ฟังสั่งสมกิเลสไว้ในใจ
ผู้บอกเล่าเป็นต้นเหตุต้องรับบาปด้วย แต่คน
ที่ปฏิบัติธรรมแล้วจะมีสติ จะไม่เล่าเรื่องไม่ดี
ให้ใครฟัง จะพูดแค่เท่าที่จ�ำเป็น

๕. ธรรมใด วินยั ใด ค�ำสอนใด เมือ่ น�ำไป 


ประพฤติปฏิบัติแล้ว ท�ำให้เป็นคนไม่สันโดษ
ธรรมนั้น วินัยนั้น ค�ำสอนนั้น ไม่ใช่ของเรา 
ตถาคต

สันโดษ คือ พอใจในสิง่ ทีต่ นเป็น ตนมี 


ตนได้รับ ท�ำเต็มที่ ได้แค่ไหน พอใจแค่นั้น
เราต้องเข้าใจว่า ของเก่าที่แต่ละคนน�ำติดตัว
มานัน้ ไม่เท่ากัน บุคคล ๒ คนปฏิบตั เิ หมือนกัน
เวลาเท่ากัน แต่ได้รับผลไม่เท่ากัน เพราะจิต
สั่งสมไว้ไม่เหมือนกัน พวกที่จิตสั่งสมบุญไว้
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  77
มากกว่าบาป พวกนีไ้ ด้ผลเร็ว แต่ถา้ จิตดวงใด
สัง่ สมขยะไว้มาก บุญน้อย พวกนีท้ ำ� แทบตาย
ได้ผลนิดเดียว บางคนมาประพฤติปฏิบตั  ิ อุตส่าห์
ท�ำไปตั้ง ๗ วัน ไม่ได้อะไรเลย บางคนบอก
ว่า “๗ วัน...ฉันน่าจะได้ถึงขั้นนั้นขั้นนี้” นี่คิด
ผิดถนัดเลย เป็นมิจฉาทิฏฐิ ต้องตัง้ ทิฏฐิให้ถกู
ท�ำเต็มที่ ได้แค่ไหน พอใจแค่นั้น

๖. ธรรมใด วินยั ใด ค�ำสอนใด เมือ่ น�ำ 


ไปประพฤติปฏิบัติแล้ว ความขี้เกียจเพิ่มขึ้น 
ธรรมนั้น วินัยนั้น ค�ำสอนนั้น ไม่ใช่ของเรา 
ตถาคต

ความขีเ้ กียจเพิม่ เพราะจิตปรุงแต่ง ต้อง


ใช้พลังมาก พลังในตัวพร่องไปมาก แต่การ
ประพฤติปฏิบัติเป็นการตัดการปรุงแต่ง เป็น
การอนุรักษ์พลังงาน ใช้เท่าที่จ�ำเป็น ดังนั้น
78 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
พลังงานจึงพร่องน้อย ความขีเ้ กียจต้องลดลง
ถ้าความขี้เกียจเพิ่ม แสดงว่าปฏิบัติผิดทาง

๗. ธรรมใด วินยั ใด ค�ำสอนใด เมือ่ น�ำ 


ไปประพฤติปฏิบัติแล้ว เป็นเหตุให้คลุกคลี 
ด้วยหมู่คณะ ธรรมนั้น วินัยนั้น ค�ำสอนนั้น 
ไม่ใช่ของเราตถาคต

ขอให้ท่านสังเกตดูตนเอง ถ้าประพฤติ
ปฏิบตั แิ ล้ว กลายเป็นว่า ไปไหนคนเดียวไม่ได้
ท�ำงานคนเดียวไม่ได้ จะต้องมีกลุ่ม ต้องเข้า
หมู่ เข้าพวกอยู่ตลอด อันนั้นสวนทาง ไม่ใช่
ค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ธรรม ไม่ใช่วนิ ยั
ของพระพุทธเจ้า ถ้าปฏิบัติถูกทางแล้ว จะ
เป็นอิสระจากหมูจ่ ากพวก จะปลีกตัวเดีย่ ว ท�ำ
อะไรด้วยตัวเองคนเดียวได้

ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  79
๘. ธรรมใด วินยั ใด ค�ำสอนใด เมือ่ น�ำ 
ไปประพฤติปฏิบตั แิ ล้ว ท�ำให้เป็นผูเ้ ลีย้ งดูยาก
ธรรมนั้น วินัยนั้น ค�ำสอนนั้น ไม่ใช่ของเรา 
ตถาคต

ใครปฏิบัติธรรมแล้ว กลายเป็นคนกิน
ยาก อาหารนีไ้ ม่อร่อย นัน่ ก็จดื ไป เค็มไป จะ
นอนก็เลือกมาก ขี้ฝุ่นขี้เท้ามาก ไม่สะอาด...
นอนไม่ได้ ต้องอย่างนัน้ อย่างนี้ เงือ่ นไขมาก
นี่แสดงว่าผิดทางแน่นอน

ในการปฏิบตั กิ รรมฐาน ส่วนใหญ่เราจะ
ต้องอยูห่ า่ งครูบาอาจารย์ แม้กระทัง่ เวลาเรา
อยู่ในสถานที่ปฏิบัติติดต่อกัน ๗ วันอย่างนี้
ครูบาอาจารย์ท่านก็มาร่วมสั่งสอนอบรมได้
ไม่นานนัก เวลานอกนัน้ เราต้องไปปฏิบตั ดิ ว้ ย
ตัวเอง ดังนัน้  เราต้องใช้หลักธรรมทัง้  ๘ ข้อนี้
80 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
เป็นเหมือนครู คอยส่องดูตวั เอง เมือ่ ตรวจสอบ
ดูวา่ ด�ำเนินถูกทางแล้ว ก็ขอให้ทำ� เรือ่ ยไป แล้ว
จะหลุดพ้นเป็นอิสระได้ กรรมฐานไม่ใช่เรื่อง
ยากหากได้ครูดแี ละด�ำเนินถูกทาง วิชาทีพ่ ระ 
พุทธเจ้าสอนมีครบบริบรู ณ์ แม้กาลเวลาจะ 
ผ่านมานาน เดีย๋ วนีก้ ย็ งั อยูค่ รบ สถานทีฝ่ กึ
ก็เหมาะสม ครูฝกึ ก็เหมาะสม มีพร้อมอยูแ่ ล้ว 
จงเพียรท�ำเถิด ชีวิตจะงอกงาม

อย่าลืมว่า เมื่อท่านจากโลกนี้ไป ชีวิต
ที่ต้องเดินต่อในปรโลกยังอีกยาวไกล อย่าได้
ประมาท หากชีวิตลงต�่ำแล้วพลาดไป กว่า
จะกลับขึ้นมาได้นั้นยากมาก ดังนั้น ขอให้
ประคับประคองตัวไว้ให้อยู่ในสุคติภูมิ หรือ
สุดท้ายไม่ต้องกลับมาเกิดอีก...เป็นดีที่สุด”

ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  81
อานิสงส์ของ
การเจริญเมตตา
๑๑ ประการ
(อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต เมตตาสูตร)

๑. หลับเป็นสุข คือ หลับสบาย หลับสนิท
๒. ตืน่ เป็นสุข คือ เมือ่ ตืน่ ขึน้ มาก็สบายตัว สบาย
ใจ หายอ่อนเพลีย ไม่มีอาการง่วงติดต่ออีก
๓. ไม่ฝันร้าย คือ จะไม่ฝันเห็นสิ่งเลวร้ายท�ำให้
สะดุง้ ตืน่ กลางคัน หรือไม่ฝนั หวาดเสียวต่างๆ
๔. เป็นทีร่ กั ของคนทัว่ ไป คือ จะเป็นคนมีเสน่ห์
ไปที่ ใ ดก็ ป ราศจากศั ต รู ผู ้ คิ ด ร้ า ย แม้ ผู ้ ไ ม่
ชอบใจก็จะกลับมาชอบได้
๕. เป็นทีร่ กั ของอมนุษย์ทวั่ ไป คือ แม้สตั ว์ตา่ งๆ
ก็รักผู้แผ่เมตตา ไม่ขบกัด ไม่ท�ำร้าย ท�ำให้
ปลอดภัยจากเขี้ยวงาทุกชนิด
๖. เทวดารักษาคุม้ ครอง คือ จะเดินทางไปไหน
มาไหนเทวดาจะคุ้มครองให้ความปลอดภัย

82 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
ตลอดเวลา จะไม่ประสบอุปทั วภัยต่างๆ ทัง้
ทางบก ทางน�้ำ และทางอากาศ
๗. ไฟ ศาสตรา ยาพิษ ไม่แผ้วพาน คือ สิง่ เหล่านี้
จะท�ำอันตรายมิได้
๘. จิตเป็นสมาธิเร็ว คือ ผูแ้ ผ่เมตตาเป็นประจ�ำ
ถ้าท�ำสมาธิ จิตจะสงบนิ่งได้เร็ว
๙. หน้าตาผิวพรรณจะผ่องใส คือ ผูม้ เี มตตาจิต
เป็นประจ�ำ หน้าตาและผิวพรรณจะมีนำ�้ มีนวล
มีเสน่ห์
๑๐. ไม่หลงเวลาตาย คือ เวลาใกล้ตาย จะไม่
หลงเพ้อ ละเมอ หรือโวยวายอย่างนัน้ อย่างนี้
หรือไม่ดิ้นทุรนทุรายเป็นที่น่าเวทนาของผู้
พบเห็น จะสิน้ ใจอย่างสงบเหมือนนอนหลับ
ไป ฉะนั้น
๑๑. เมื่อไม่อาจบรรลุธรรมชั้นสูง ย่อมเข้าถึง
พรหมโลก คือ ผูม้ เี มตตาจิตเป็นประจ�ำ แม้
ไม่ได้บรรลุธรรมชัน้ สูงขึน้ ไปกว่านี ้ ก็ยอ่ มจะ
ไปบังเกิดในพรหมโลกอันเป็นทีเ่ กิดของผูไ้ ด้
ฌาน
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  83
ผลของการเจริญ
วิปัสสนากรรมฐาน
๑. สตฺตานํ วิสุทฺธิยา
เพือ่ ความบริสทุ ธิห์ มดจดของสัตว์ทงั้ หลาย
๒. โสกปริเทวานํ สมติกฺกมาย
เพื่อก้าวล่วงความโศกเศร้า 
ปริเทวนาการทั้งหลาย
๓. ทุกฺขโทมนสฺสานํ อตฺถงฺคมาย
เพื่อดับทุกข์ทางกายและดับทุกข์ทางใจ
๔. ญายสฺส อธิคมาย
เพื่อบรรลุมรรค ๔ ผล ๔
๕. นิพฺพานสฺส สจฺฉิกิริยาย
เพื่อกระท�ำพระนิพพานให้แจ้ง

ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  85
ประวัติของ
อาจารย์ดร.สนอง วรอุไร

ดร. สนอง วรอุไร เกิดที่ต�ำบลคลอง
หลวงแพ่ง จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นบุตรคนที่
๖ ในจ�ำนวนพีน่ อ้ งทัง้ หมด ๘ คน เรียนจบชัน้
มัธยมศึกษาจากโรงเรียนวัฒนศิลป์วิทยาลัย
ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาพืช
และปริญญาโท สาขาเชือ้ รา จากมหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์

เมื่อบรรจุเข้าเป็นอาจารย์ประจ�ำคณะ
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่รนุ่ บุกเบิก
86 ก ร ะ จ ก ส่ อ ง ก ร ร ม ฐ า น
แล้ ว  ได้ รั บ ทุ น โคลั ม โบ ไปศึ ก ษาต่ อ ระดั บ
ปริญญาเอก สาขาไวรัสวิทยา ณ มหาวิทยาลัย
ลอนดอน ประเทศอังกฤษ ใช้เวลาศึกษา ๔ ปี
จึงส�ำเร็จกลับมาในปี พ.ศ. ๒๕๑๘
ก่อนเปิดภาคเรียน ได้ใช้เวลาว่างไปอุป-
สมบททีว่ ดั ปรินายก แล้วไปฝึกวิปสั สนากรรม
ฐานกับพระเทพสิทธิมุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ
ป.ธ. ๙) ทีค่ ณะ ๕ วัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฏิ์
เพื่อพิสูจน์สัจธรรมของพระพุทธองค์

ตลอดเวลา ๑ เดือนกับอีก ๑๓ วัน ที่
ท่านตัง้ ใจปฏิบตั อิ ย่างเต็มที ่ ท่านได้รบั ประสบ
การณ์ทางจิตมากมาย ท�ำให้สนิ้ สงสัยในพระ
รัตนตรัย และเปลีย่ นวิถชี วี ติ มาชีน้ ำ� ทางสูส่ คุ ติ
ภูมิแก่เพื่อนสหธรรมิก อีกทั้งยังเป็นอาจารย์
พิเศษถวายความรู้แด่พระสงฆ์เรื่อยมาจนถึง
ปัจจุบัน”
ด ร .  ส น อ ง  ว ร อุ ไ ร
  87
อนวสฺสุตจิตฺตสฺส
อนนุวาหตเจตโส
ปุญฺญปาปปหีนสฺส
นตฺถิ ชาครโต ภยํ ฯ ๓๙ ฯ
ผู้มีสติตื่นตัวอยู่เนืองนิตย์
มีจิตเป็นอิสระจากราคะและโทสะ
ละบุญและบาปได้
ย่อมไม่กลัวอะไร
พุทธพจน์

You might also like