You are on page 1of 83

กลุ่ม่มทีที่ ่ 66

กลุ

เรื่อง การรับรู้ตนเองและอิทธิพลของมนุษย์ สัมพันธ์ ทมี่ ตี ่ อบุคลิกภาพ


เสนอ
เสนอ

อาจารย ์ สุมาลี ศรี ชัยสวัสดิ์


สมาชิ ก
สมาช กลุ่ม่มทีที่ ่ 66
ิ กกลุ
นายชนะภูมิ กลิน ่ มั่นคง ป.กตล 2/2 รหัส
01
01
3631051041209
นายกฤตย ชูสน ิ ป.กตล 2/2 รหัส
02
02
3631051041212
03
นายกุลชั ย ศริ ิ วรรณศร ป.กตล 2/2 รหัส
03
3631051041217
04 นายชาคริ ต เติมคงเดช ป.กตล 2/2 รหัส
04
3631051041231
เนื อหาบทที่ ่ 66
เนื้ ้อหาบทที
1.การรับรู้ ตนเอง
2.อิทธิพลของมนุ ษย ์
สัมพันธ์
3.บุคลิกภาพ
การรั
การรั
ึ บรู
บรู้ ้
:การเขา้ ใจความรู้ สกของตนเองและจุ ดมุง่
หมายของชวต ี ิ ตนเอง
ตนเอง

ทังระยะส ้
ั นและระยะยาวตลอดจนการรู ้ จัก จุด
เดน ่ และจุดดอ ้ ย
ตนเองอยา่ งไมลำ ่ เอียงเขา้ ขา้ งตนเอง:
ความหมายของการรั
ความหมายของการรับรู
บรู้ ต
้ ตนเอง
นเอง

เป็นสงิ่ ที่บุคคลจะตอ
้ งทำการรู้ จักตนเอง
กอ่ นวิธีท่ีบุคคลจะรู้ จักตนเองไดช้ ั ดเจนคือ
การสำรวจตนเองทำใหบ ้ ุคคลสามารถมอง
ตนเองอยา่ งชั ดเจนทังในแง้ บ
่ วกแงล่ บ
ความสำค
ความสำคั ญของการรั
ั ญของการรับรู
บรู้ ต
้ ตนเอง
นเอง

● การรับรู้ เก่ียวกับตนเองทางดา้ น
ลักษณะทางกาย
● การรับรู้ เก่ียวกับตนเองทางดา้ น
ลักษณะทางจิต
● การรับรู้ เก่ียวกับตนเองทางดา้ นสงิ่
แวดลอ้ ม
ปป จจั ยั ยทีที่ม่มีตีตอ่ อ่ การร
ั ั จจ การรั บรู
ั บรู้ ้
มีมีสสิ่งิ่งเร เร้ า้ า
ที่จ(Stimulus)
(Stimulus)
ะทำให เ้ กิดการรับรู้ เชน ่
สถานการณ์ เหตุการณ์ สงิ่ แวดลอ ้ ม
รอบกายที ่เป็น คน สัตว ์ และสงิ่ ของ
ประสาทส
ประสาทสั มั มผผั สั ส (( Sense Sense Organs
Organs ))
ที่ทำใหเ้ กิดความรู้ สก ึ สัมผัส เชน่ ตาดู
หูฟัง จมูกได้ กลิน ่ ลิ้นรู้ รส และผิวหนัง
รู้ ร้อนรู้ หนาว
ประสบกา ความรู้ เดิมที่เก่ียวขอ ้ งกับสงิ่ เร้า
รณ์ ที่เราสัมผัส
การแปลความหมายของสงิ่ ที่
เราส
่ ่ ั ม ผั ส
สงิ ทีเคยพบเห็นมาแลว้ ยอ่ มจะอยูใ่ นความทรง
จำของสมอง
เมื่อบุคคลไดร้ ั บสงิ่ เร้า สมองก็จะทำหน้าที่
ทบทวนกับความรู้ ท่ีมีอยูเ่ ดิมวา่ สงิ่ เร้านัน
้ คือ
องค
องคป ์ ระกอบของการรั
์ป ระกอบของการรับรู
บรู้ ต
้ ตนเอง
นเอง
1.สงิ่ เร้าไดแ
้ กว่ ั ตถุ แสง เสยี ง กลิน่ รสตา่ งๆ
2.อวัยวะรับสัมผัส ไดแ ้ ก่ หู ตา จมูก ลิ้น
ผิวหนัง ถา้ ไมส ่ มบูรณ์จะทำใหส ้ ูญเสยี การรับรู้
ได้
3.ประสาทในการรับสัมผัสเป็นตัวกลางสง่
กระแสประสาทจากอวัยวะรับสัมผัสไปยังสมอง

4.ประสบการณ์เดิม การรู้ จัก การจำได้ ทำใหก ้ าร
้ ีข้ึน
รับรู้ ไดด
5.คา่ นิ ยม ทัศนคติ

6.ความใสใ่ จ ความตังใจ
7.สภาพจิตใจ อารมณ์ เชน ่ การคาดหวัง ความดีใจ
เสยี ใจ
8.ความสามารถทางสติปัญญา ทำใหร้ ั บรู้ ไดเ้ ร็ว
การวิ
การวิเเคราะห
คราะห์ค์ความรู ้ สึกึกนึนึกคิ
วามรู้ ส เก่ี ย่ี ยวก
กคิดดเก วกั บ
ับ
ตนเอง
ตนเอง

ตัวตนที่เป็นจริ ง (Real self )


ตัวตนที่คิดวา่ เราเป็น (Perceived
self )
ตัวตนที่เราตอ ้ งการจะเป็น (Ideal
self )
ั วตนที่ ่
ตตั วตนที
เป็
เป็นจรนจริ งิ ง
ลักษณะของตัวตนที่เป็นไปตามขอ ้ เท็จจริ ง
เชน ่ คนที่เรี ยนเกง่ มีมารยาท ออ่ นน้อมถอ่ ม
ตน ซ่ึงบางคนตนเองอาจมองไมเ่ ห็นขอ ้ เท็จ
จริ งของตนก็ได้ ในกรณี ท่ีอยูใ่ นภาวะเสยี ใจ
เศร้า รู้ สก ึ ผิด เกรงกลัวตอ
่ บาป
ั วตนที่ ค
ตตั วตนที ่ คิดิดววา่ า่
เราเป็็ น
เราเป น
คนจำนวนมากรู้ สก ึ วา่ คนรอบตัวเขา้ ใจตัวเขาได้
ถอ่ งแทม ้ ากพอ แตเ่ ราไมม ่ ีทางรู้ ไดแ
้ น่ชัดเลยวา่ คน
อื่นเห็นเราเป็นอยา่ งไร นอกจากจะเดาหรื อลอง
สอบถามดู และแมเ้ ราคิดวา่ เราอาจรู้ จักตัวเอง
มากกวา่ ใครก็ตามบนโลก แตก ่ ารเห็นภาพได้
ชั ดเจนตอ ้ งอาศั ยทังมุ ้ มมองที่เราเห็นตัวเอง
ั วตนที่ เ่ เรา
ตตั วตนที รา
งการจะเป็ ็ น
ตต้ อ้ องการจะเป น
จะดีท่ีสุดหากเราออกมาจากการมุมมองที่เรามีตอ่ ตัว
เองและโลกใบนี้ อาจจะเป็นมุมมองที่ออกมาผา่ น
อะไรที่เราชอบ อะไรที่เราไมถ ่ นัด อะไรที่เรารู้ สก ึ มี
สว่ นร่วมกับมัน อะไรที่เราเช่ือมั่น หรื อกลุม ่ คนที่เรา
อยากใชเ้ วลาอยูด ่ ว้ ยบอ่ ย ๆ หรื อเรี ยกวา่ เป็นชว่ ง
เวลาการรอคอย
ประโยชน
ประโยชน์ ข
์ ของการรู
องการรู้ จ้ จั กตนเอง
ั กตนเอง
1.ทำใหเ้ รารู้ จักตนเองมากขึ้นและดี
ขึ้น
2.ทำใหเ้ ราเขา้ ใจพฤติกรรมของ
ตนเองมากขึ้น
3.ทำใหเ้ ราเขา้ ใจพฤติกรรมของผูอ ้ ่ ืน
มากขึ้น
ึ นึ กคิด
4.ทำใหเ้ ราเขา้ ใจถึงความรู้ สก
10 วิธีง่าย ๆ ที่ ทำให้คุณ {รู้ จัก
ตัวเองมากขึ้ น}
1. เล
1. เร่ื อ
เล่า่าเร งราวที่ แ
่ื องราวที ่ แท เก่ี ย่ี ยวก
ท้ จ้ จรริ งิ งเก วกั บต
ั บตั วคุ
ั วคุณ
ณเอง
เอง

เลา่ เรื่ องราวชีวต ้ ค


ิ ของคุณ เริ่ มตังแต ่ วามภูมิใจ
และความลม ้ เหลวเล็กๆ น้อยๆ ที่มีตังแต
้ ว่ ั ยเด็ก
บางครัง้ ความทรงจำที่อยูใ่ นมุมมืิดในใจของเรา
จะทำใหบ ้ ุคลิกภาพของเราโดดเดน ่ ที่สุด
2. เขี
2. เขียยนบ
นบั นทึ
ั นทึกก
อีกหนึ่ งวิธีการติดตาม รับรู้ ถึงความคิดของตัว
เอง คือการเขียนบล็อกหรื อไดอารี่ ซ่ึงคุณ
สามารถสร้างประสบการณ์และทราบวา่ อะไรคือ
เหตุและผลของเหตุการณ์ในชีวต ิ มันอาจชว่ ย
ใหค้ ุณสะทอ ้ นตัวเองออกมาผา่ นทางตัวหนังสอ ื
ทุกการตัดสน ิ ใจที่คุณทำ จะมีเหตุและผลเสมอ
ทุกครัง้ ที่คุณตอ ้ งเลือก ใหล ้ องพิจารณาถึง
เหตุผล อาจเป็นเรื่ องงา่ ย ๆ อยา่ งการเลือก
ภาพยนตร์หนึ่ งเรื่ อง หรื ออาจซั บซอ ้
้ นกวา่ นัน
่ เรื่ องคุณคา่ ในชีวต
เชน ิ เป้าหมายในชีวติ การ
คิดวา่ คุณรู้ สกึ อยา่ งไร
3. คุ ยกับตัวเองในใจ
ลองทำสมาธิ ิ
4. ลองทำสมาธ
4.

การทำสมาธิกเ็ ป็นอีกทางเลือกในการฝึ กรู้ จัก


ตัวเอง การจดจอ่ อยูก
่ ั บปัจจุบันทำใหจ้ ิตใจ
ของคุณมีความชั ดเจน ขณะที่หายใจเขา้ หายใจ
้ ุณสามารถเพิม
ออกชว่ ยใหค ่ ทักษะในการรับรู้
5. เรี ยี ยงลำด
5. เร งลำดั บความสำค ั ญในชี วี วิติตของคุ
ั บความสำคั ญในช ของคุณณ
กำหนดเป้าหมายและลำดับความสำคัญในชีวต ิ
ของคุณ เขียนความสำเร็จและวิเคราะหค ์ วาม
กา้ วหน้าของคุณ วิธีการงา่ ยๆ นี้ จะชว่ ยใหค้ ุณ
สามารถติดตามความคืบหน้าเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่มี
ผลตอ ่ เป้าหมายของคุณหรื อบอกไดว้ า่ คุณ
กำลังไปในทางที่ถูกตอ ้ งหรื อไม่
6. ั บเพื่ อ่ อนที
6. คุคุยยกกั บเพื นที่ ค
่ คุ ณ
ุ ณไว
ไว้ ว้ วางใจ
างใจ

ขอใหเ้ พื่อนสนิ ทหรื อสมาชิกในครอบครัวเป็น


ตัวสะทอ ้ นบุคลิกภาพของคุณ การพูดคุยอยา่ ง
ซ่ือสัตยแ์ ละตรงไปตรงมาจากคนที่เช่ือถือได้
สามารถประเมิน “จุดบอด” หรื อสงิ่ ที่คุณไมเ่ คย
สังเกตเห็นในตัวเอง
7. รัรับคำแนะนำจากผู
7. บคำแนะนำจากผู้ ค
้ คนรอบต
นรอบตั วคุ
ั วคุณ

คำถามที่คุณจะตอ ้ งถามพวกเขาคือ คุณมี


ขอ ้ เสยี อยา่ งไรบางครัง้
้ ดีอยา่ งไร และมีขอ
คนรอบตัวเราสามารถมองเห็นจุดแข็งและ
จุดออ่ นที่ชัดเจนของเราซ่ึงเราอาจมองไม่
เห็น การรับฟังความคิดเห็นเชิงลบเป็น
เรื่ องยากเสมอ
8. วิวิเเคราะห
8. คราะห์คำ ์ คำ แนะนำที
แนะนำที่ ่
คุคุณณได
ได้ ร้ รั ับบ
การรับฟังความคิดเห็นจากคนอื่นนัน ้
ชว่ ยใหค ้ ุณรู้ จักตัวเองเพียงครึ่ งนึ ง
เทา่ นัน้ คุณจะตอ ้ งนำคำวิจารณ์เหลา่ นัน ้
มาวิเคราะหแ ์ ละคิดหาวิธีปรับปรุ งตัวเอง
และตอ ้ งมั่นใจวา่ คุณเลือกวิธีแกป ้ ั ญหาที่
ถูกตอ ้ งดว้ ย
9. ให
9. ้ สั ม
ให้ ส ั มภาษณ
ภาษณ์ ท ์ ทางวิ
างวิดดี โี โออ
อีกหนึ่ งวิธีท่ีดีในการที่จะทำใหค ้ ุณรู้ จักตัวเองมาก
ขึ้น นั่นก็คือการอัดวีดิโอใหส ้ ั มภาษณ์ คุณตอ ้ งมีผู้
สัมภาษณ์อยูท ่ ่ีหลังกลอ ้ ง อาจจะเป็นเพื่อนหรื อ
คนในครอบครัวของคุณที่พร้อมจะรับฟังและถาม
คำถามของคุณเป็นเรื่ องที่สำคัญมากที่จะคุณตอ ้ ง
พูดคุยกับคนจริ งๆ ไมใ่ ชก ้ งเพื่อใหค
่ ลอ ึ เป็น
้ ุณรู้ สก
อิสระและเป็นธรรมชาติ
10. มีมีสสติติ
10.
เมื่อคุณรู้ ถึงสงิ่ ที่คุณตอ
้ งปรับปรุ งตัวเองแลว้ ให้
จดบันทึกทุกครัง้ ที่คุณมีความคืบหน้า จดจอ่ กับ
เป้าหมายและอยา่ ปลอ่ ยใหต ้ ั วเองทำพลาดแบบ
เดิมอีก การมีสติทุกชว่ งเวลาของชีวต ิ จะชว่ ยให้
คุณสังเกตเห็นสงิ่ ตา่ งๆ ซ่ึงอาจจำเป็นตอ ้ งไดร้ ั บ
การปรับปรุ งเชน ่ ตัวคุณหรื อโลกภายนอก
เนื อหาเพื่ อ่ อการทบทวนการรั
เนื้ ้อหาเพื การทบทวนการรับรู
บรู้ ต
้ ตนเอง
นเอง
ความหมาย
ความหมาย
T.A.
T.A.
หล
หลั กการของ
ั กการของ สมมติ
สมมติฐฐานของานของ
T.A.
T.A. T.A.
T.A.
ประโยชน
ประโยชน์ ข
์ ของ
อง
T.A.
T.A.
ทฤษฎี
ทฤษฎีววิเิเคราะห ารส่ื อ่ื อสาร
คราะห์ก์การส สาร
ระหว
ระหวา่ า่ งบุ
งบุคคคล
คล

Transactional Analysis

CREDITS: This presentation template was created by Slidesgo,


including icons by Flaticon and infographics & images by Freepik
Math
Math Icon
Icon Pack
Pack

อีริค เบิร์น (Eric Berne)


เป็นจิตเเพทยท ์ ่ีใหคำ
้ เนิ ดและพัฒนาทฤษฎีคารวิ
เคราะหค ์ ารส่อ
ื สาร
ระหวา่ งบุคคล (T.A) โดยเริ่ มตน ้ จากการนำมาใช้
ใน การบำบัด
รักษาผูป้ ่ วยทางจิต จนไดร้ ั บการยอมรับ จนระทั่ง
สมบ
สมบั ติ
ั ติฐฐานของ
านของ T.A.
T.A.
T.A.
T.A.

1. คนทุกคนเกิดมาในโลกนี้ ดว้ ย
ความรู้ สก ึ กังวล
ทุกขร์ ้ อน และขาดความมั่นคง แต่
ความรู้ สก ึ
นี้ จะลดลงหรื อรุ นแรง ขึ้นอยูก
่ ับ
เพราะมี
ึ ขาดความมั่นคง เป็นสงิ่ T.A.
ความรู้ สก T.A.
จูงใจให้
กระทำ ซ่ึงบางทีตนเองก็ไมเ่ ขา้ ใจ
ใน
พฤติกรรมของตนเอง จึงอาจกอ ่
ใหเ้ กิดความ
สับสนใหบ ้ ุคคลที่อยูร่ อบขา้ งดว้ ย
้ เ่ กิดจะ
3. ประสบการณ์และเหตุการณ์ตา่ งๆตังแต
ถูกเก็บไวใ้ นสมองควบคูไ่ ปกับอารมณ์ท่ีเกิดขึ้น
จากเหตุการณ์นัน้ ๆ

T.A.
T.A.
T.A.

ิ ของแตล่ ะคนจะขึ้นอยูก
4. จุดยืนแหง่ ชีวต ่ ับ
ประสบการณ์ท่ีไดร้ ั บมาระหวา่ งวัยทารก
และวัยเด็ก
5. คนเราตอ้ งการแสวงหาการตอบสนอง
ทางสังคม
ประโยชน
ประโยชน์ ข
์ ของ
อง
T.A.
T.A.
1.รู้ จักบุคลิกภาพของตนเอง
2.พัฒนาความสัมพันธ์
3.เขา้ ใจพฤติกรรมผูอ ้ ่ ืน
4.ปรับตัวใหเ้ ขา้ กับผูอ ้ ่ืนได้
5.ใชร้ ั กษาผูป้ ่ วยโรคจิต
โรคประสาท
หล
หลั กการของ
ั กการของ T.A.
T.A.
บุบุคคลิลิกกภาพส
ภาพสว่ ว่ นน การเอาใจใส
การเอาใจใส ่่
บุบุคคคล
คล
( Ego State ) ( Strokes )
จุจุดดยืยืนนแห แหง่ ง่
ชชีวีวต
ิต เกมสช์ ช์ ีวีวต
เกมส ิต


( Life Posttion ) ( Life Game )
บุบุคคลิลิกกภาพส
ภาพสว ่ นบุ
่ว นบุคคคล
คล (( Ego
Ego State
State ))

โครงสร้างแบบพอ่ โครงสร้างแบบ
แม่ ผูใ้ หญ่
Parent Ego State Adult Ego state
โครงสร้าง
แบบเด็ก
Child Ego
โครงสร้างแบบ
พ่อแม่

Critical Parent (CP) Nurturing Parent (NP)


Parent Ego - State
สัง่
ตำห สอน บังคับ
นิ

ดุ ขม ่
ดา่ ขู ่
Parent
Parent Ego
Ego -- State
State
ปลอบโ หว่ ง
ยน ใย

ชว่ ย ใหกำ
้ ลัง
เหลือ ใจ
โครงสร
โครงสร้ า้ างแบบ
งแบบ
ผูผู้ ใ้ ใหญ
หญ่ ่
Adult
Adult Ego
Ego -- State
State
หลัก
รอบค การ เหตุ
อบ มี จุด ผล
หมาย
เป็นบุคลิกภาพที่สามารถปรับตัวที่จะ
อยูโ่ ลก
แหง่ ความเป็นจริ งในปัจจุบันนี้ ได้
โครงสร
โครงสร้ า้ างแบบเด็
งแบบเด็กก
Child
Child Ego
Ego State
State
Free
Free Child
Child Natural
Natural Child
Child FC
FC -- NC
NC
Adapted
Adapted Child
Child AC
AC

Little
Little Professor
Professor LP
LP
การรั
การรั บรู
บรู ้
การประเมินหรื อตัดสน ิ บุคคลอืน้ วา่ เป็นคนอยา่ งไร

่ บุ
บุคค ่ คล
คล
โดยทัวไปการรับรู้ บุคคลอืนจะใชล ้ ั กษณะทาง
กายภาพของบุคคลนัน ้ เชน ่ หน้าตา ผิวพรรณ รู ปร่าง
หรื อดูบุคลิกภาพตา่ ง ๆ เชน ่ นิ สัยใจคอและการพูดจา
เป็นตน้ เงียบขรึ ม ชา่ งคุย ใจดี ใจร้าย พูดเพราะ พูด
หยาบ เป็นตน ้
ความหมายของ
มนุ ษยสั มพันธ ์

มนุ ษยสัมพันธจ์ ั ดเป็นทังศาสตร ์ (Science)
และศลิ ป์ (Art) เนื่ องจากมีหลักการ และ
ทฤษฎีท่ีเป็นขอ ้ ความรู้ และการนำหลักการ
หรื อทฤษฎีไปปฏิบัติใหป ้ ระสบ ความสำเร็จ
ไดน ้ ัน ้ งอาศั ยเทคนิ ควิธีการซ่ึงถือเป็น
้ ตอ
ศลิ ปะเฉพาะตัวของแตล่ ะบุคคล
ความสำค
ความสำค
มนุ ษยสัมพันธ์ ชว่ ยทำให ั ญของ
ั ญของ

้ นุ ษยม ์ าอยูร่ ่วม
กันเป็นสังคมมนุ
ไมษยสั
มนุ ว่ า่ สังมพ
ษยสั มพั นธั นธ์ ์ ก หรื อ
คมขนาดเล็
ขนาดใหญ่ แตล่ ะคนที่มาอยูร่ ่วมกันนัน ้ ตา่ ง
ก็มี ความแตกตา่ งกัน (Individual) ความ
แตกตา่ งกันในเรื่ อง ความรู้ ความสามารถ
ประสบการณ์ เจตคติ รสนิ ยม ความคิดเห็น
เชาวน์ปัญญา
องค
องคป ์ ระกอบของมนุ
์ป ระกอบของมนุษยสั
ษยสัมพ
มพั นธ
ั นธ์ ์
เขา้ ใจตนเอง : ทุกคนตอ ้ งรู้ จักตัวเราเองใหม ้ าก
ที่สุด รู้ วา่ อะไรคือจุดออ่ น จุดแข็ง ควรจะปรับแก้
จุดออ่ นอยา่ งไรใหด ้ ีข้ึน ควรจะใชจ้ ุดแข็งของตน
ใหเ้ ป็นประโยชน์อยา่ งไร ขอ ้ ดี ขอ้ เสยี ของตนเอง
คืออะไร อะไรที่จะทำใหก ้ ารทำงานไมเ่ กิดปัญหา
อะไรที่เราโดดเดน ่ ที่จะชว่ ยเพิม ่ ความสำเร็จของ
งานไดด ้ ี
เข
เข ้ า าใจผู
ใจผู ้
เมือเรารู้ จักตนเองอย่ า่ งดีแ้ ลว้ เราก็ควรที่
่ ้
จะเรี ยนรู้ การรู้ จักผูอ อื น
อื
่ ่ นดว้ ยเชน
้ ืน ่ กัน การ
เรี ยนรู้ น้ี ยังหมายถึงการใสใ่ จ ใหค ้ วาม
สำคัญระหวา่ งกัน รวมไปถึงการเคารพซ่ึง
กันและกันดว้ ย การรู้ จักความสามารถ จุด
ออ่ น จุดแข็งของผูอ ้ ่ืน ทำใหเ้ ราสามารถ
ปรับตัวในการทำงานร่วมกันไดด ้ ี
การเข ใจสิ่งิ่ง
การเข้ า้ าใจส
แวดล้ อ้ อมม   ่
แวดล
เป็นการเรี ยนรู้ ธรรมชาติของสงิ แวดลอ ้ มที่
อยูร่ อบตัวเรา และบุคคลอื่นซ่ึงมีอิทธิพลตอ่
การดำเนิ นชีวต ิ ประจำวัน และมีสว่ น
สัมพันธก ์ ั บมนุ ษยสัมพันธ์ ไดแ ้ ก่ สภาพ
การณ์เหตุการณ์ปัจจุบัน และในอนาคต
1.ใหค ้ นรู้ จักและเขา้ ใจตนเอง
2.ใหร้ ู้ จักและเขา้ ใจผูประโยชน
ประโยชน
้ ่ ืน
อ ์์
3.ใหเ้ กิดความรักมนุ มนุ ษยสั
ษยสั่ือมพ
ความเช มใจพั นธ
ั นธ ์์
ความศรั ทธา
และความไวว้ างใจ
4.ใหเ้ กิดความร่วมมือในการทำงานไปสูเ่ ป้า
หมาย
5.ใหล ้ ดปัญหาความขัดแยง้ ในการทำงาน และ
การยะร่วมกัน
ดว้ ยความสามัคคี
องคป ์ ระกอบที่จะชว่ ยสง่ เสริ มใหเ้ ป็นผูม
้ ี
มนุ ษยสัมพันธท ์ ่ีดี
1.ตอ ้ งมีความเขา้ ใจตนเอง
2.ตอ ้ งมีความเขา้ ใจบุคคลอื่น
3.ตอ ้ งยอมรับความแตกตา่ ง
ของบุคคลอื่น
วิวิธธีสีสรร้ า้ างมนุ
งมนุษษยส
ยสั มั มพพั น
ั นธธท ่
์ ีด่ีดี ี
์ท

● 1. ยิ้มกับคนที่ต ่ำกวา่ และสูงกวา่


● 2. ทักทายปราศรัยกับบุคคล
ทั่วไป
● 3. แสดงความเป็นกันเอง ให้
ความชว่ ยเหลือ
● 4. เรี ยกช่ือ จดจำไดอ ้ ยา่ งแมน
่ ยำ

องค
องค ป
์ ป
์ ระกอบที
ระกอบที ่ ม
่ มี อ
ี อิ ท
ิ ทธ
ธ่ ิ พิ พลต
ลต ่ อ
่อ ร้ ั บ
พันธุ กรรม (Heredity) เป็นสงิ่ ทีบุคคลได
บุบุคคลิลิกกภาพของมนุ
การถา่ ยทอดมาจากบรรพบุ ภาพของมนุ รุษ เชษย ่ ษย
น ์์
ความสู ง
ลักษณะเสน ้ ผม สผ ี ิว ชนิ ดของโลหิต โรคภัยไข้
เจ็บบางชนิ ด เป็นตน ้ และขอ ้ บกพร่องทาง
ร่างกาย เชน ่ ตาบอดสี ศีรษะลา้ น เป็นตน ้
ลักษณะทางกายจึงเป็นอิทธิพลของพันธุกรรมที่
มีตอ่ บุคลิกภาพของแตล่ ะบุคคล
สงิ่ แวดลอ
้ ม (Environment) มีอิทธิพลตอ ่
พัฒนาการของมนุ ษย ์ ทังด ้ า้ นร่างกาย จิตใจและ
บุคลิกภาพ ซ่ึงสงิ่ แวดลอ้ มที่มีออิทธิพลตอ่
พัฒนาการของมนุ ษยม ์ ากที่สุด คือ ครอบครัว
บุคคลอื่น และวัฒนธรรม
ประสบการณ์ (Experience) เป็นการเรี ยนรู้
และปรับตัวตอ่ สภาพแวดลอ ้ มที่บุคคลเขา้ ไป
เก่ียวขอ
้ ง สามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ประเภท
ดังนี้
1) ประสบการณ์ทั่วไป เป็นประสบการณ์ธรรมดาที่
ทุกคนในสังคมไดร้ ั บเหมือนกัน เชน ่ ขนบธรรม
เนี ยน ประเพณี หรื อการเรี ยนรู้ บทบาทของ
ประสบการณ์สว่ นตัว เป็นประสบการณ์ของ
2)ตนเอง
แตล่ ะคนที่ประสบดว้ ยตนเอง โดยที่บุคคลอื่นไม่
เคยพบ หรื ออาจเป็นเรื่ องที่ตนเองเป็นผู้
บุบุคคลิลิกกภาพ
ภาพ
ของบุ
ของบุคคคคล
บุ คลิ กภาพของบุ คลประกอบ
คล
ด้วยสิ่งต่าง ๆ ซ่ึ งสามารถแบ่ง
ออกได้ 6 ด้าน

1.ดา้ นกายภาพ เป็นลักษณะประจำตัวของบุคคล


ซ่ึงมองเห็นและสังเกตไดง้ า่ ยจากภายนอก ไดแ ้ ก่
ี ม น้ำหนัก
รู ปร่าง หน้าตา สัดสว่ น ผิวพรรณ สผ
2.ดา้ นจิตใจ เป็นเรื่ องเก่ียวกับสมอง ซ่ึงสังเกต
ไดค ้ อ่ นขา้ งยาก
ไดแ ้ ก่ ความคิด ความจำ สติปัญญา จิตนาการ
ความสนใจ
3. ดา้ นอุั งใจ
ความต ั ย เปั ็ดนสกน
้ ปนิ สการต ิ ิริใจ ่ส้ าหมาย
ยาทีเป อดคลอ งกับสภาพ
้ และความ
แวดล อ
้ มทางสังคมั บต
สามารถในการปร ไดั วแ้ ก่ ความสุภาพ ความ
ซ่ือสัตย ์ ความเช่ือในทางบวก การเคารพสท ิ ธิสว่ น
บุคคล
4.ดา้ นอารมณ์ เป็นความรู้ สก ึ ทางจิตที่กอ
่ ให้
เกิดอาการตา่ งๆ เชน ่ ตื่นเตน
้ ตกใจ วิตกกังวล
โกรธ กลัว ร่าเริ ง เป็นตน ้
5.ดา้ นความสนใจและเจตคติ เป็นการ
แสดงออกทางความรู้ สก ึ ความสนใจ หรื อ
ความพึงพอใจ ซ่ึงบุคคลแตล่ ะคนจะมีความ
สนใจและเจตคติท่ีแตกตา่ งกัน
6.ดา้ นการปรับตัว
เป็นการที่บุคคลพยายามปรับสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น
และพยายามปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนใหเ้ ขา้ กับ
สภาพแวดลอ ้ มและความตอ้ งการของตนเอง การ
ปรับตัวมีผลตอ่ บุคลิกภาพอยา่ งยิง่ เพราะการปรับตัว
ตลอดจนการมีพฤติกรรมที่เหมาะสม
ประเภทของบุ ภาพจำแนกเป็ ็ น
ประเภทของบุคคลิลิกกภาพจำแนกเป น 22
ประเภท
ประเภท คืคืออ
บุคลิกภาพแบบอินโทรเวิร์ท (Introvert)
บุคลิกภาพแบบอินโทรเวิร์ทนัน ้ เมื่อมีความกดดัน
ทางอารมณ์หรื อเมื่อมีความขัดแยง้ ในใจ จะมีแนว
โน้มที่จะเก็บตัว เก็บความทุกขไ์ วก ้ ั บตนเอง ไมม ่ ี
ความมั่นใจในตัวเอง ที่จะตอ่ สูก
้ ั บเหตุการณ์
ภายนอก ชอบคิด ชอบทำอะไรเงียบ ๆ อยูค ่ นเดียว
และชอบครุ่นคิดคนเดียว
บุคลิกภาพแบบเอกซโทรเวิร์ท
(Extrovert) บุคคลที่มีบุคลิกภาพแบบ
เอกซโทรเวิร์ท จะมีลักษณะตรงขา้ มกับ
อินโทรเวิร์ท บุคคลประเภทนี้ หากมี
ความยุง่ ยากใจ หรื อมีความขัดแยง้ ในใจ
จะไมเ่ ก็บตัวหรื อหมกมุน
่ อยูค
่ นเดียว
แตจ่ ะหาทางออกโดยการเขา้ สังคม 
เล็กกๆๆ ทีที่ ค
99 สสิ่งิ่งเล็ ่ คนจะใช
นจะใช้ ต ั ดสิน
้ ตั ดส ิน
บุบุคคลิลิกกภาพของคุ
ภาพของคุณ ณ
1. การจับมือ (Handshake)
การจับมือดว้ ยความมั่นใจ แข็งแกร่งสะทอ ้ นใหเ้ ห็น
ถึงคนที่มีความมุง่ มั่น ในทางตรงขา้ มหากในขณะที่
จับมือถา้ ประหมา่ มันก็แสดงวา่ วา่ คุณขาดความ
มั่นใจ ไมม ่ ุง่ มั่น การจับมือเป็นสงิ่ งา่ ย ๆ ที่จะใช้
มองลักษณะของคน
การตรงตอ่ เวลา (Punctuality)
เป็นสงิ่ ที่สำคัญมาก หากคุณไปนัดสายในวัน
สำคัญ คนที่เป็นฝ่ายรอคุณก็คงจะเกิดความ
ึ ไมด
รู้ สก ่ ี มองคุณในแงล่ บ
ลายมือ (Handwriting)
ไมว่ า่ คุณจะเขียนรายงานที่ตอ้ งทำ หรื อจดโน้ต
ลายมือของคุณสามารถบง่ บอกถึงลักษณะของ
สท ี ่ีชอบ (Favourite color)
Shivani Jha มีทฤษฎีเก่ียวกับสงิ่ ที่สท
ี ่ีคุณเลือก
แสดงใหเ้ ห็นเก่ียวกับบุคลิกภาพของคุณ ตัวอยา่ ง
เชน ่ ถา้ คุณเป็นคนชอบสแ ี ดง
ก็อาจจะหมายถึงวา่ คุณเป็นคนที่ตอ ้ งการเติมเต็ม
ถา้ คุณเป็นชอบสเี หลือง คุณจะเป็นคนที่มีตรรกะ
รู้ คุณคา่ ของสงิ่ ตา่ งๆ
รสนิ ยมการฟังเพลง (Taste in Music)
สายตา (Eye contact)
สัตวเ์ ลี้ยงที่ช่ืนชอบ (Choice of pet)

การตังคำถาม ้
(Ask a question) ทังในการ
ประชุม การสัมภาษณ์ตา่ งๆ ถามคุณชอบตัง้
คำถาม คุณก็จะกลายเป็นคนที่ชา่ งสังเกต
รอบรู้ สนใจกับงานตรงหน้า คุณจะมีความน่า


การตังคำถาม ้
(Ask a question) ทังในการ
ประชุม การสัมภาษณ์ตา่ งๆ ถามคุณชอบตัง้
คำถาม คุณก็จะกลายเป็นคนที่ชา่ งสังเกต
รอบรู้ สนใจกับงานตรงหน้า คุณจะมีความน่า
สนใจมากกวา่ คนที่นั่งเฉยๆ ในหอ้ งประชุม
การกัดเล็บ (bite your nails) รวมถึงการดึง
ผมตา่ งๆ มันสามารถบง่ บอกถึงบุคลิกที่ไมด
่ ี
ภาพที่ ด
บุบุคคลิลิกกภาพที ่ ดี ใี ในการทำงาน
นการทำงาน ชช่ ว่ วยให
ยให้ ้
ประสบความสำเร็ จ็ จ
ประสบความสำเร
แนวทางการพัฒนาบุคลิกภาพใหเ้ หมาะ
สมในที่ทำงาน
บุคลิกภาพ หมายถึง ลักษณะเฉพาะของ
แตล่ ะบุคคล แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ
บุคลิกภาพภายนอก และบุคลิกภาพ
ภายใน
บุบุคคลิลิกกภาพภายนอก
ภาพภายนอก

บุคลิกภาพที่แสดงออกใหค ้ นทั่วไปไดเ้ ห็นคำวา่


“บุคลิกภายนอก” หมายถึง สงิ่ ที่สามารถมองเห็น
่ ชั ด เป็นลักษณะทางกายภาพของบุคคล
ไดเ้ ดน
ทา่ ทาง และการแสดงออกตา่ ง ๆ โดยบุคลิกภาพ
การแตง่ กายและทรงผม
เครื่ องแตง่ กายและทรงผมเป็นสว่ นแรกที่เห็นได้
เดน ่ ชั ด
การเลือกเครื่ องแตง่ กายใหเ้ หมาะกับกาลเทศะ
ชว่ ยเสริ มใหบ้ ุคลิกภาพดีข้ึน การเลือกเครื่ องแตง่
กายใหเ้ หมาะสมตามแตล่ ะโอกาสนี้ ยังหมายรวม
ถึงการเลือกเครื่ องประดับ กระเป๋า รองเทา้ และ
การเคลื่อนไหวร่างกาย
การยืน การเดิน การเคลื่อนไหวตา่ ง ๆ ควรกระทำ
อยา่ งเหมาะสม รวมถึงแสดงออกใหถ ้ ูกกับกลุม
่ บุคคล
เชน
่ ไมค ่ วรเดินไปเดินมาในหอ้ งประชุมใหญ่ และไม่
ควรนั่งเงียบเมื่อมีการสอบถามความคิดเห็น
โทนเสยี งในการพูด
น้ำเสยี งในการพูดสามารถบง่ บอกอารมณ์ของผูพ ้ ูด
ได้ ในการทำงานร่วมกันการรู้ จักใชน ้ ้ำเสยี งจะชว่ ย
ใหก้ ารทำงานราบรื่ น เมื่อมีอารมณ์โกรธให้
พยายามระงับอารมณ์ตัวเองกอ ่ นพูด เพราะคำพูด
ตอนกำลังโมโหอาจมีความเกรี้ ยวกราด และเสยี ง
ดัง ไมเ่ ป็นผลดีตอ
่ ตัวเอง
การใช
การใชส ้ ายตา
้ส ายตา
ยครั งั ้ ง้ การจ
บบอ่ อ่ ยคร การจอ ้อ
้ งมองบุ
งมองบุ ค
ค คลใดบุ
คลใดบุ ค ค คลหนึ
คลหนึ ่ ง่ งนาน
นาน ๆๆ สร สร้ า้ างง
ความอึ
ความอึดดออั ดั ดตตอ ่อ่ ้ ผู
ผู ถ
้ ถู ก
ู กมอง
มอง และสร
และสร ้ า
้ างบุ
งบุ คคลิ
ลิกก ภาพที
ภาพที ่ ไ่ไมมด ่ ีตีตอ่ อ่
่ด
ผูผูม
้ม้ อง
อง การรู
การรู้ จ้ จั กั กชำเลื
ชำเลือองมอง งมอง หรื
หรืออรูรู้ จ้ จั กั กใช
ใชส ้ ายตาให
้ส ายตาใหเ้ เ้ หมาะ หมาะ
สม
สม
ระเบี
ระเบียยบของร
บของร่า่างกาย งกาย คืคืออ การะม การะมั ดั ดระว ระวั งั งไม ไมใ่ ใ่ หหแ ้ สดง
้แ สดง
พฤติ รรมที่ไ่ไมมเ่ เ่ หมาะควรออกสู
พฤติกกรรมที หมาะควรออกสูส่ ส่ าธารณะชน าธารณะชน เช เชน ่ การ
่น การ
แคะจมู
แคะจมูกก การน การนั ่ ั ง่ งกระดิ
กระดิกกขา ขา การเอามื
การเอามืออเคาะโต๊ เคาะโต๊ะะเมื เมื่ อ่ อใชใช้ ้
ความคิด พฤติกรรมเหลานี้ ควรมี ้ การฝึ กฝนและควบคุม
บุบุคคลิลิกกภาพ
ภาพ
ภายใน
ภายใน

บุคลิกภาพที่แสดงออกผา่ นทางการทำความเขา้ ใจ
คำวา่ “บุคลิกภาพภายใน” หมายถึง สงิ่ ที่เป็น
นามธรรม ไมส ่ ามารถจับตอ ้ งได้ แตม
่ องเห็นผา่ น
การกระทำ เชน ่ ทัศนคติ วิสัยทัศน์ เจตคติตา่ ง ๆ
องคก
์ รมักจะเลือกผูท ้ ่ีมีบุคลิกภาพเอื้อประโยชน์ตอ่
องคก์ ร ดังนี้
มนุ ษยสัมพันธด ์ ี บุคคลที่มีมนุ ษยสัมพันธท ์ ่ีดีจะ
สามารถทำงานร่วมกับผูอ ้ ่ืนไดง้ า่ ย การทำงานใน
องคก ์ รเกือบทุกองคก ์ รมักจะมีการประสานงาน การ
มีมนุ ษยสัมพันธท ์ ่ีดีจึงเป็นคุณสมบัติท่ีองคก ์ รหลาย
ชแห
า่ งส ั งเกต ความชา่ งสังเกตเป็นอีกหนึ่ งวิธีในการ
ง่ มองหา
เรี ยนรู้ ผูท ้ ่ีชา่ งสังเกตมักจะเขา้ ใจความรู้ ไดอ ้ ยา่ ง
รวดเร็วเสริ มสร้างศั กยภาพในการทำงาน และเป็น
อีกหนึ่ งบุคลิกภาพที่ดีของคนทำงาน
มีความละเอียดรอบคอบ งานที่ประณี ตมักจะมี
ขอ ้ ผิดพลาดน้อย ผูท ้ ่ีมีความละเอียดรอบคอบจะ
ระมัดระวังไมใ่ หช้ ้น ิ งานเกิดความผิดพลาด สร้าง
ั กที่จะเรี่มยีคนรู
รผลงานที ุณ้ แภาพอยู
ละพัฒเนา ่ สมอ ์ รจำเป็นตอ
องคก ้ งเดิน
หน้าในทุกวัน คนทำงานในองคก ์ รก็เชน ่ กัน
การเรี ยนรู้ และการพัฒนาที่ไมม ่ ีท่ีสน
้ิ สุดเป็น
บุคลิกภาพภายในที่ควรมี
มีความนอบน้อม ความนอบน้อมถอ่ มตนเป็นการ
ึ แรกพบที่ดีตอ
สร้างความรู้ สก ่ ผูพ
้ บเห็น ชว่ ย
ใหก้ ารทำงานราบรื่ น และทำใหผ ้ ูใ้ หญเ่ อ็นดู สอน
งานดว้ ยความรู้ สกึ ที่ดีบุคลิกภาพสง่ ผลตอ่ การ
ทำงานเป็นอยา่ งมาก เป็นการสร้างภาพลักษณ์ให้
ตนเองและองคก ์ ร ซ่ึงบุคลิกภาพสามารถพัฒนา
และปรับเปลี่ยนได้
การรับรู้ ตนเองคือการรู้ จักตนเองจำเป็นตอ ้ งศก ึ ษา
้ สรุ
สรุปปด ้
และสำรวจ ทังในด า้ นดีและไม ่ ี สว่ นตัวตนนัน
ประกอบดว้ ยสว่ นตา่ ง ๆ ที่รวมกันซ่ึงบุคคลเหลา่ นัน ้
จะตอ ้ งรับรู้ ตนเองไดแ ้ ละขณะเดียวกันผูอ ้ ่ืนก็ไดร้ ั บรู้
ดว้ ย ดว้ ยเหตุน้ี ทุกคนจึงมี “ตัวตนหรื ออัตตา” ดว้ ย
กันทุกคน ตา่ งกันเพียงวา่ ตัวตนของใครจะไดร้ ั บการ
ขัดเกลา การที่จะรู้ จักและเขา้ ใจตนเองนัน ้ บุคคล
ตอ ้ งเขา้ ใจโลกภายในของตน ซ่ึงจะเป็นตัวกำหนด
บุคลิกภาพของบุคคลใหก ้ ระทำไปตามที่ตนรับรู้
คำถาม
คำถาม
ขขอ้อ ที ่
้ ่ 1.1.การร
ที การรั บรู ั บรู้ ต้ ตนเอง
นเอง
มีมีกก่ีจ่ีจุดุด
ขขอ ้อ ้ ที
ที ่ ่ 2.ความสำค
2.ความสำค ั ญ
ั ญของการร
ของการร ั บรู
ั บรู ้ ต
้ ตนเองมี
นเองมี กก ่ ี ่ี
ดดา้ า้ นและอะไรบ
นและอะไรบ า้ า้ งง
ขขอ ้อ
้ ที
ที ่ ่ 3.ส
3.ส ิ
ง ่ ิ
ง ่ เร
เร ้ า
้ ทำ
าที
ที ่ ่ทำให
ใหเ้ เ้ กกิดิด
ความร
ความรั บรู ั บรู่ ้ ้
ขขอ ้ ทีที่ 4.การวิ
้อ 4.การวิเเคราะห คราะหค ์ค
์ วามรู
วามรู ้ ส
้ ส ึ
ก ึ
ก นึ
นึ ก
ก คิ
คิ ด
ด เก
เก่ ีย่ียวว
กกั บ ตนเอง มีมีกก่ีข่ีขอ
ั บตนเอง ้อ

ขขอ ้ ทีที่ ่ 5.บุ
้อ ภาพจำแนกเป็ น
5.บุคคลิลิกกภาพจำแนกเป ็ นกก่ี ่ี
เป็ น
เป ็ นประเภท
ประเภท
ขขอ ที่ 6.บุคคลิลิกกภาพภายนอกมี
้ ่ 6.บุ
้อ ที ภาพภายนอกมี
อะไรบ
อะไรบา้ า้ งง
ขขอ ที
้ ่ 7.
้อ ่
ที 7. บุบุคคลิลิกกภาพภายใน
ภาพภายใน
หมายถึ
หมายถึงงอะไร อะไร
คำตอบ
คำตอบ
ขอ ้ ที่ 1 คำตอบ 2 จุด จุดเดน ่
ขอ ้ ที่ 2 คำตอบ ด้าและจุ นลักดษณะทางกาย
ดอ้ ย ด้านลักษณะทางจิต ด้านสงิ่
แวดลอ ้ ม
ขอ ่
้ ที 3 คำตอบ สถานการณ์ เหตุการณ์ สง่ิ แวดลอ ้ ม รอบกายที่เป็ น
่ ของ ่
คน สั ตว ์ และส
้ ที่ 4 คำตอบ
ขอ ตัวงิ ตนที เป็ นจริ ง ตัวตนที่คิดวา่ เราเป็ น ตัวตนที่
ขอ ่ 5 คำตอบ
้ ทีเราต อ บุคลินกภาพแบบอินโทรเวิร์ท บุคลิกภาพแบบ
้ งการจะเป็
เอกซโทรเวิร์ท
ขอ ้ ที่ 6 คำตอบ การแตง่ กายและทรงผม การเคลื่อนไหวร่างกาย โทนเสียง
ในการพูด การใชส ้ ายตา และระเบียบของร่างกาย
ขอ้ ที่ 7 คำตอบสง่ิ ที่เป็ นนามธรรม ไมส ่ ามารถจับตอ ้ งได้ แตม
่ องเห็นผา่ นการกระ
ทำ เชน ่ ทัศนคติ วิสัยทัศน์ เจตคติตา่ ง ๆ

You might also like