You are on page 1of 22

รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก

วอชิงตัน
สำนักงานที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน

เดือนพฤศจิกายน 2560
ฉบับที่ 11/2560

ฉบับเจาะลึกพลังงานนิวเคลียร์
จากหัวรบสู่กระแสไฟฟ้า
รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากวอชิงตัน
ฉบับที่ 11/2560 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2560

บรรณาธิการที่ปรึกษา:
ดร.เศรษฐพันธ์ กระจ่างวงษ์

กองบรรณาธิการ:
นางสาวบุณยเกียรติ รักษาแพ่ง
นางสาวดวงกมล เพิ่มพูลทวีทรัพย์
นายอิศรา ปทุมานนท์

จัดทำโดย

สำนักงานทีปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประจำสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
1024 Wisconsin Ave., N.W. Suite 104
Washington, D.C. 20007
โทรศัพท์: +1 (202)-944-5200
Email: ost@thaiembdc.org

ติดต่อคณะผู้จัดทำได้ท่ี
Website: http://www.ost.thaiembdc.org
Email: ost@thaiembdc.org
Facebook: https://www.facebook.com/ostsci/
สวัสดีทานผูอานที่เคารพรักทุกทาน
กอนอืน่ กระผมคงตองขอแนะนำตัวในฐานะบรรณา-
ธิการคนใหมของ “รายงานขาววิทยาศาสตรและเทคโน-
โลยีจากวอชิงตัน” ซึ่งจัดทำโดยทีมงาน OST (Office of

สารบัญ Science and Technology, Royal Thai Embassy) ผูทำ


หนาที่สรรหาขาวสารที่นาสนใจ พรอมกับบทวิเคราะห
ความกาวหนาดานวิทยาศาตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม
ของสหรัฐอเมริกา แคนาดา และกลุม ประเทศลาตินอเมริกา
กลุมเพื่อนบานที่แสนไกลของไทยที่อยูอีกซีกของวันเวลา
และมหาสมุทร สำหรับฉบับนี้ ทีมงานไดเปลี่ยนแนวทาง
3 ความต้องการพลังงานของ การนำเสนอแบบใหม คือ จะมุง ประเด็นไปยัง วทน. ดานใด
ดานหนึ่งแบบจัดเต็มทั้งฉบับ สำหรับฉบับปฐมฤกษแนว
ทั่วโลกและพลังงานนิวเคลียร์ ทางใหมนี้ เราไดสรรหาเรื่องราวของเทคโนโลยีขั้นสูงและ
เสียวที่บางคนอาจจะบอกวาดูนากลัว แตบางคนก็บอกวามี
ประโยชนมหาศาล นัน่ ก็คอื เทคโนโลยีนวิ เคลียรซง่ึ ทีผ่ า นมา
6 นโยบายพลังงานนิวเคลียร์ ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ไดมีการจัดประชุมนานาชาติดาน
นิวเคลียรโดย American Nuclear Society (ANS)
ของสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม ถึง 2 พฤศจิกายน 2560
บรรยากาศที่เต็มไปดวยนักวิทยาศาสตรนิวเคลียร
10 การประชุมประจำปี The ฟสกิ ส ชวยเห็นวา จากกระแสสังคมทีเ่ คยมองนิวเคลียร
วาเปนของที่มีแสนยานุภาพเชิงลบนั้น เปนสินทรัพยที่มี
American Nuclear คุณคาทีน่ า คบในดานการคา จากอุปกรณทเ่ี คยอยูน ง่ิ ๆ ที่
Society (ANS) หัวรบก็กลายเปนอุปกรณที่เคลื่อนไหวพลุงพลานเพื่อผลิต
กระแสไฟฟา ดวยคุณคาของการเปนพลังงานลดโลกรอน
ไรการปลอดปลอยกาซเรือนกระจก โดยยังมีเรือ่ งคาใจ
13 การสร้างจรรยาบรรณและ เกีย่ วกับความปลอดภัยอยูบ า งเวลาเกิดอุบตั ภิ ยั เอาเปนวา
ทานผูอานลองพิจารณา ขาวสาร ขอมูล และ บทวิเคราะห
นวัตกรรมความปลอดภัย ที่ทุมเทใหกับประเด็นเทคโนโลยีนวิ เคลียรในเลมนี้ ก็คงจะ
ทางนิวเคลียร์ ไดมมุ มองและเพิม่ พูนความรู และความสนใจใหกับ
เทคโนโลยีนิวเคลียรบางไมมากก็นอย

15 การพิมพ์หุ่นจำลองร่างกาย ทีมงาน OST หวังเปนอยางยิ่งวา ความรูดาน


วิชาการ มุมมองเชิงวิเคราะห และความบันเทิงบาง
มนุษย์ด้วยการพิมพ์สามมิติ ประการที ่ ท  า นผู  อ  า นจะได ร ั บ จากรายงานข า ว
เพื่อการคำนวณปริมาณ วิทยาศาสตรฯ จะทำใหทานมีความสนใจในวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยีมากขึ้น และสามารถนำไปจุดประกายไปสู
รังสีที่ใช้ในการรักษาโรค การเปนนวัตกรรม ในฐานะคนไทยในยุคประเทศไทย 4.0
เมื่อวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนำพาความเจริญกาวหนา
ของชาติตอไป
18 จากภาพยนต์ Sci-Fi ถึง
ความหมาย วทน. :
The Day After
The Day After Tomorrow
ดร.เศรษฐพันธ กระจางวงษ
อัครราชทูตที่ปรึกษา ฝายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สำนักงานที่ปรึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ประจำสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน
2 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560
ความต้องการพลังงานของทั่ว่วโลก
โลก
และพลังงานนิวเคลียร์
ในปจจุบันพลังงานมีความสัมพันธกับการดำรงชีวิตของคนทั่วโลก มีการใชพลังงานจากถานหิน แสง
อาทิตย ลม กาซธรรมชาติ และน้ำมัน ดวยการที่ประชากรมีแนวโนมเพิ่มจำนวนจาก 7.3 พันลานคนใน
ปจจุบันไปถึง 9.2 พันลานคนในป พ.ศ. 2583 จากการคาดการณซึ่งความตองการทางดานพลังงานยอมสูง
ขึ้นเชนเดียวกันและสงผลเชื่อมโยงทางดานเศรษฐกิจและปริมาณการปลอยกาซคารบอน ความตองการพลังงาน
สวนใหญมาจากประเทศกำลังพัฒนา เชน ประเทศจีน ไตหวัน และอินเดีย เปนตน ซึ่งในขณะนี้ ประเทศจีน
เปนประเทศที่มีการใชพลังงานสูงสุดของโลกแทนที่ประเทศสหรัฐฯ
หากกลาวในแงของพลังงานไฟฟา ในป พ.ศ. 2555 ความตองการไฟฟาทั่วโลกเพิ่มขึ้น 2 เทา
พลังงานปฐมภูมิ 42% ไดถูกเปลี่ยนเปนพลังงานไฟฟา และคาดวาในอนาคตความตองการในการใช
พลังงานไฟฟาจะเพิ่มสูงขึ้น กระบวนการผลิตไฟฟากอใหเกิดมลพิษทางอากาศและกอใหเกิดการสูญเสียชีวิตของ
ประชากรกอนเวลาอันควร สงผลใหพลังงานทางเลือกอื่นที่สะอาดและมาจากธรรมชาติ เชน พลังงานจาก
แสงอาทิตย ลม และชีวภาพ เขามามีบทบาทอยางมาก แตอยางไรก็ตาม พลังงานเหลานี้ไมสามารถผลิต
กระแสไฟฟาไดตลอด 24 ชั่วโมง เนื่องจากเปนไปตามกลไกของธรรมชาติ จึงยังไมสามารถนำมาใชเปน
พลังงานหลักในการผลิตไฟฟาได หลายประเทศไดหันมาศึกษาและวิจัยดานพลังงานและสนใจบทบาทที่เพิ่มขึ้น
ของพลั ง งานนิ ว เคลี ย ร ใ นรู ป แบบที ่ เ ป น มิ ต รกั บ สิ ่ ง แวดล อ มในกระบวนการผลิ ต ไฟฟ า ขนาดใหญ
โดยปจจุบันมีการใชพลังงานนิวเคลียรในการผลิตกระแสไฟฟาประมาณ 11% ของการใชไฟฟาทั่วโลก

รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ ่ 1/2560


3 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที 11/2560
ที่มา: https://energy.gov/ne/nuclear-energy-technical-assistance

พลังงานนิวเคลียรสามารถตอบสนองความตองการ
ดานพลังงานของโลกในอนาคตไดหรือไม?
การพัฒนาเตาปฏิกรณและพลังงานนิวเคลียรเพื่อใชในการผลิตกระแสไฟฟาทดแทนแหลงพลังงาน
จากเชื้อเพลิงฟอสซิลนั้นไดมีการศึกษาอยางจริงจัง และรวมถึงในเรื่องของนิวเคลียรฟวชั่น ความรอนใตพิภพ
การกักเก็บและการปลดปลอยกาซคารบอน ซึ่งเปนการแสดงใหเห็นถึงความกาวหนาในการพัฒนาทาง
เศรษฐศาสตร และความปลอดภัยอยางยั่งยืน ประเทศจีนเปนตัวอยางที่เห็นไดชัดเจนในการขยายการลงทุน
ดานพลังงานนิวเคลียร รัฐบาลจัดสรรเงินสูงถึง 361 พันลานดอลลารสหรัฐฯ เพื่อการพัฒนาแหลงพลังงาน
ที่สะอาดขึ้น โดยเงินงบประมาณนี้ ประเทศจีนวางแผนที่จะใชประมาณ 78 พันลานเหรียญสหรัฐฯ เพื่อสราง
เตาปฏิกรณ 35 เตาใน 4 ปขางหนา ประเทศจีนมีความมุงมั่นในการพัฒนาดานนิวเคลียร ซึ่งเหตุผลที่เหมาะสม
ที่สุดในการใชพลังงานนิวเคลียร คือ พลังงานนิวเคลียรเปนพลังงานที่มีเสถียรภาพ สะอาด และใหพลังงาน
ที่เขมขน (High Density) ซึ่งแตกตางจากพลังงานทดแทนอื่น เนื่องจากพลังงานนิวเคลียรไมมีความผันแปร
ตามฤดูกาล เมื่อมีการติดตั้งเตาปฏิกรณจะมีการผลิตพลังงานอยางเพียงพอและตอเนื่อง รวมถึงประสิทธิภาพ
จะลดลงเพียงเล็กนอย

รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ ่ 1/2560


4 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที 11/2560
เตาปฏิกรณนิวเคลียรสามารถผลิตพลังงานไดสูงสุดถึง 90% แตพลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย
สามารถผลิตพลังงานไดเพียง 20% ซึ่งประสิทธิภาพของพลังงานจากธรรมชาติมีความผันผวนตามสภาพ
อากาศ ตนทุนของการผลิตไฟฟาดวยพลังงานนิวเคลียรสูงกวาการผลิตไฟฟาดวยแหลงพลังงานอื่น แตทั้งนี้
ถารวมตนทุนจากการลงทุนและสวนประกอบอื่นทั้งหมดแลวจะใกลเคียงกับโรงไฟฟาที่ใชเชื้อเพลิงฟอสซิล
แตยังสามารถปรับขนาดและดัดแปลงเพื่อประหยัดคาใชจายไดมากขึ้น ซึ่งโรงไฟฟานิวเคลียรมีความเหมาะสม
กวาในกรณีที่ความตองการใชไฟฟาไมคงที่ เนื่องจากไดรับการออกแบบมาใหผลิตกำลังไฟฟาไดสูงและ
สามารถปรับลดกำลังการเดินเครื่องลงได และสามารถเดินเครื่องตอเนื่อง โดยไมจำเปนตองมีการเติม
เชื้อเพลิงเปนเวลา 2 ป ความเจริญในอนาคตจะขึ้นกับการผลิตไฟฟาที่ไมจำกัด เห็นไดชัดวา เชื้อเพลิงฟอสซิล
นั้นมีจำกัด และพลังงานลม แสงอาทิตย และพลังงานหมุนเวียน เชน เอทานอล นั้น ยังมีความไมแนนอนใน
การสนับสนุนการใชพลังงานของโลก สวนศักยภาพในการผลิตพลังงานของยูเรเนียมปริมาณเล็กนอยนั้นสูง
มาก เชื้อเพลิงนิวเคลียรจึงสามารถอยูในลำดับที่นาสนใจจะนำมาใช ถามีการจัดรูปแบบที่ดี พลังงานนิวเคลียร
สามารถใชในการผลิตไฟฟาใหแกเราไดอีกหลายรุน สวนใหญประเทศที่ใชแหลงพลังงานนิวเคลียรมี
การจำหนายไฟฟาในราคาที่ต่ำกวาราคาเฉลี่ยเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่มีแหลงพลังงานทดแทนอื่น
แตในบางประเทศ เชน ประเทศเยอรมันนีเพิ่มราคาพลังงาน มีการเพิ่มการจัดเก็บภาษีเพื่อสนับสนุนพลังงาน
หมุนเวียนและการรื้อถอนระบบปฏิบัติการนิวเคลียร ซึ่งการปดโรงไฟฟานิวเคลียรทำใหตนทุนดานพลังงาน
เพิ่มสูงขึ้น
ประเทศที่พัฒนาทั่วโลกก็มีการใชโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร สำหรับผลิตกระแสไฟฟาใหแกประชาชน
หลายประเทศมีการเตรียมการเพื่อสรางหรือขยายโรงไฟฟา นิวเคลียรเพื่อรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรม และ
การเติบโตของเศรษฐกิจของประเทศ

ที่มา:
World Nuclear Association ก.ย. 2560
Link: http://www.world-nuclear.org/information-library/current-and-future-generation/
world-energy-needs-and-nuclear-power.aspx

Alexandro Pando วันที่ 16 ส.ค. 2560


Link: https://www.forbes.com/sites/forbestechcouncil/2017/08/16/can-next-generation-nuclear-power-meet-world-
energy-needs/#614c81c31ff2

5 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560


นโยบายพลังงานนิวเคลียร์
ของสหรัฐอเมริกา
สหรัฐอเมริกาไดริเริ่มนโยบายพัฒนาพลังงานนิวเคลียรขึ้นเมื่อป
2497 หลังสงครามโลกครั้งที่สองสงบลงเกือบ 10 ป ชวงแรกของพัฒนาการ
กอสรางพื้นฐานและออกกฎระเบียบดานพลังงานนิวเคลียรใชระยะเวลายาว
นาน ระหวางป 2497 กฎหมายสำคัญที่ไดปูทางใหกับการพัฒนา อาทิ
Energy Reorganization Act ค.ศ. 1974 และการจัดตั้ง Nuclear
Regulatory Commission ซึ่งในปเดียวกัน ประเทศไทยก็ไดตั้ง
คณะกรรมการพลังงานปรมาณู ที่ตอมาคือ คณะกรรมการพลังงานปรมาณู
เพื่อสันติในปจจุบัน แตสิ่งที่แตกตางกันกลาวคือ สำหรับประเทศไทย กระแส
ของการพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียรเนนไปทางการวิจัย และการใชงานใน
ระดับยอม เชน การแพทย การถนอมอาหาร การปรับปรุงผลิตภัณฑบาง
ประเภท ซึ่งตอมาไดรวมไวกับภารกิจของกระทรวงวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี ในขณะที่ สหรัฐฯ ไดมอบหมายกระทรวงพลังงาน (Department
of Energy) ใหเปนผูรับผิดชอบ โดยโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรแหงแรก
ของสหรัฐฯ กอสรางขึ้นเมื่อป 2499 ที่ Shippingport Atomic Power
Station มลรัฐเพนซิลวาเนีย และมุงมั่นผลักดันการขยายตัวของภาคเอกชน
ดานพลังงานนิวเคลียร โดยอยูภายใตกลไก 3 ฝาย คือ 1) ผลงานวิจัยทาง
วิทยาศาสตรที่สนับสนุนโดยภาครัฐ 2) ความตองการการลุงทุนของภาค
เอกชน และ 3) การรับฟงความเห็นของประชาชนที่มีการเปลี่ยนแปลงตาม
กาลเวลา รวมถึงอุบัติภัยตางๆ ที่จุดกระแสการตอตานเปนระยะ ซึ่ง
การขยายตัวของโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรไดมอดลงในชวงทศวรรษ 1980
และทำใหการพัฒนาดานนี้ หยุดชะงักลงไปกวาสิบป ตั้งแตป 2535

63 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560


นโยบายพลังงานนิวเคลียร์
ของสหรัฐอเมริกา
รัฐบาลสหรัฐไดพยายามผลักดันกฎหมาย และกฎระเบียบที่เอื้อตอการพัฒนาพลังงานนิวเคลียรขึ้นใหม
เพื่อกระตุนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน โดยป 2548 ในสมัยประธานาธิบดีจอรช ดับเบิลยู บุช ไดประกาศ Energy
Policy Act ค.ศ. 2005 ที่ใหหลักประกันและการสนับสนุนแกภาคเอกชน อาทิ
- ไดเงินภาษีคืนบางสวนในรอบการผลิต 8 ปแรก
- ไดรับการคุมครองดานการประกันภัย
- ไดรับการสนับสนุนดานเทคโนโลยีจากรัฐบาล
- สามารถขอรับการค้ำประกันเงินกู สำหรับเตาปฏิกรณนิวเคลียรยุคใหม
ที่ใชเทคโนโลยี emission free ไดจนถึงรอยละ 80 ของคาลงทุนกอสราง เปนตน
ในชวงดังกลาว งบประมาณกวา 5,000 ลานดอลลารสหรัฐ บวกกับกลไกการลดภาษีไดถูกระดมไปเพื่อ
สนับสนุนการลงทุนดานพลังงานนิวเคลียร ในป 2551 กระทรวงพลังงานของสหรัฐ ไดเริ่มรับใบสมัครขอรับ
การสนับสนุนทางการเงินจากรัฐบาล โดยตัวเลขงบประมาณเริ่มตน การค้ำประกันเงินกูมียอดสูงถึง 18,500
ลานดอลลารสหรัฐ จากขอเสนอโครงการ โดยโครงการทั้งหมดตองผานการรับรองโดย Nuclear Regulatory
Commission (NRC) กระแสการขอสนับสนุนสรางโครงการโรงไฟฟานิวเคลียรยุคที่สองเปนไปอยางนาสนใจ
จนกระทั่งในเดือนมีนาคม ป 2554 เหตุการณพิบัติภัยที่ฟุกุชิมา ประเทศญี่ปุน ทำใหเกิดวิกฤตการณความเชื่อมั่น
ตอการสรางโรงไฟฟานิวเคลียรอีกครั้ง และเปนจุดเปลี่ยนที่ทำใหการพัฒนาพลังงานนิวเคลียรของสหรัฐฯ ก็ไม
สามารถบรรลุผลไดตามเปาหมายไดในรอบสอง เนื่องจากผลการสำรวจความเห็นของประชาชนในการสราง
โรงงานไฟฟานิวเคลียรแหงใหมลดลงอยางมาก โดยรอยละ 64 ของประชากรจากผลสำรวจตอตานการสรางเตา
ปฏิกรณใหมๆ โครงการในหลายพื้นที่ถูกยกเลิก และ
เลื่อนการกอสรางออกไป อยางไรก็ตามสหรัฐฯ ก็ยังเปน
ประเทศทีม่ เี ตาปฏิ
ตาปฏิกกรณ
รณพพลัลังงงานนิ
งานิววเคลี
เคลียยรรมมากที
ากที่สุดในโลก
(104 เตา จาก 449 441 เตาทั่วโลก) โดยโรงงานไฟฟา
พลังงานนิวเคลยรสวนใหญ ตั้งอยูในมลรัฐฝงตะวันออก
และมลรัฐรอบทะเลสาบทั้ง 5 โดยเฉพาะในมลรัฐ
อิลลินอยส เพนซิลวาเนีย และนิวยอรก ซึ่งเปนมลรัฐที่มี
ประชากรหนาแนน รวมทั้งยังมีการพัฒนากลไก Zero
Emission Credits เพื่อจูงใจใหกับภาคการผลิตไฟฟา
จากพลังงานทางเลือก ซึ่งพลังงานนิวเคลียรเปนตัวเลือก

73 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560


นโยบายพลังงานนิวเคลียร์
ของสหรัฐอเมริกา
ที่มีศักยภาพสูงสุด ในขณะที่มี 14 รัฐที่มี
การประกาศ nuclear moratorium
คือไมขยายการพัฒนาโรงไฟฟาประเภทนี้
ในขณะที่มลรัฐที่ไมมีความกดดัน
ดานพลังงาน เนื่องจากมีประชากรเบาบาง
กวา และมีความเขมขนของอุตสาหกรรม
นอยกวา อาทิ มลรัฐแถบเทือกเขารอกกี้
ซึ่งมีความอุดมสมบูรณจากการผลิตกระแส
ไฟฟาจากพลังน้ำ และแหลงอื่นๆ เชน
ยูทาห ไวโอมิง ไอดาโฮ โคโลราโด เนวาดา
และแอริ โ ซนาก็ ย ั ง ไม ม ี ก ารก อ สร า ง การจัดการแผนงานลดกาซตางๆ ใหเปนไปตามเปาหมายของตน
โรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร สวนผสมดาน ในฐานะความสมัครใจของประเทศกำลังพัฒนา
พลังงาน (Power Sector Mix) ของแตละ ดูเหมือนจะดูงายกวาประเทศเสรีนิยมพัฒนาแลวอยางสหรัฐฯ
มลรัฐจึงแตกตางกันไป ที ่ ก ลไกการตลาดและความคิ ด เห็ น ของประชาชนมี ส  ว นใน
สิ่งที่นาสนใจสำหรับสถานการณ การกำหนดนโยบายและมาตรการของรัฐ สิ่งที่เปนทางออกที่ดี
ดานพลังงานของสหรัฐฯ ในปจจุบัน คือ ที่สุดของรัฐบาลสหรัฐ คือการออกกฎหมาย และแรงจูงใจตางๆ
รัฐบาลสหรัฐฯ ตระหนักดีวาการใชพลังงาน โดยลาสุด ก็ไดออกกฎหมาย Advanced Nuclear Technology
ที่สูงมากของสหรัฐฯ จำเปนตองมีการขยาย Act เมื่อเดือนมกราคม 2560 เพื่อสงเสริมการพัฒนาเทคโนโลยี
กำลั ง การผลิ ต ไฟฟ า ไปพร อ มกั บ การไม พลังงานนิวเคลียรขั้นสูง ซึ่งจีนเองก็มีการพัฒนาที่รุดหนาใน
สร า งสภาวะการเปลี ่ ย นแปลงสภาพ เทคโนโลยีตัวใหม ที่เรียกวาฟวชั่น (Fusion) เชนเดียวกัน
ภูมิอากาศ จากการปลอยกาซเรือนกระจก ในขณะที่ดานการใชพลังงานนิวเคลียร
ตามความตกลงปารีสที่สหรัฐฯ ไดรวมให ยังคงมีการขับเคลื่อนไปอยางชาๆ และขลุกขลัก สหรัฐฯ ก็ยังคง
สัตยาบันวันเดียวกับจีน เมื่อวันที่ 3 เป น ประเทศที ่ ว ั ส ดุ อ ุ ป กรณ ท ี ่ เ กี ่ ย วกั บ นิ ว เคลี ย ร ม ากที ่ ส ุ ด ใน
กันยายน 2559 โดยเปนพันธะสัญญาของ โลก รวมทั้งอาวุธยุทโธปกรณประเภทหัวรบนิวเคลียร
ประเทศมหาอำนาจที่มีการปลอดปลอย ซึ่งยังถือวาเปน เครื่องคุมกันความปลอดภัยและสันติภาพบนโลก
กาซเรือนกระจกสูงที่สุดสองอันดับแรกของ โดยเฉพาะจากการเยือนเอเชียของประธานาธิบดีโดนัล ทรัมป
โลก สำหรับจีน ดวยระบอบการปกครอง เมื่อตนเดือน พฤศจิกายน 2560 ที่ไดมีการซอมรบแสนยานุภาพ

83 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560


นโยบายพลังงานนิวเคลียร์
ของสหรัฐอเมริกา

กับเกาหลีใต ไดแสดงจุดยืนของสหรัฐฯ ที่ชัดเจน สำหรับประเทศไทยเรา พัฒนาการของกฎหมาย


ถึงความระแวงภัยที่มีตอเกาหลีเหนือ และแสดงให ใหมในดานพลังงานนิวเคลียร คือ พระราชบัญญัติ
เป น ความจำเป น ที ่ ส หรั ฐ จะยั ง คงเป น ผู  น ำในด า น พลังงานนิวเคลียรเพื่อสันติ พ.ศ. 2559 และระเบียบ
แสนยานุภาพทางทหารของโลก ดังที่ผูแทนฝาย คณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติวาดวยวิธี
ความมั่นคงสหรัฐฯ ไดกลาวในที่ประชุม American การรั ก ษาความปลอดภั ย ของวั ส ดุ น ิ ว เคลี ย ร แ ละ
Nuclear Society (ANS) เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2560 สถานประกอบการทางนิวเคลียร พ.ศ. 2559 ที่ไดมี
กอนการเยือนของทรัมปวา สหรัฐฯไมไดใหความ - การบั ง คั บ ใช แ ล ว ก็ น  า จะเป น อี ก หน า หนึ ่ ง ของ
สำคัญกับประเด็นของการลดอาวุธ (disarmament) พัฒนาการสำคัญในการเชิญชวนใหสังคมหันมาสนใจ
มากเทากับประเด็นของการไมแพรกระจายอาวุธ และ “พลังงานนิวเคลียร” มากขึ้น และกระทรวงพลังงาน
ความมั่นคงปลอดภัย (non proliferation และ และกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของไทย
security) ซึ่งหมายความชัดเจนวาสหรัฐฯ จะยังคง ก็ตองมีการเตรียมการพัฒนาบุคลากร การศึกษา
รั ก ษาศั ก ยภาพด า นอาวุ ธ นิ ว เคลี ย ร ต  อ ไปด ว ย เทคโนโลยี จ ากประเทศที ่ ม ี ค วามก า วหน า ดั ง เช น
ตราบใดที่ยังเห็นวามีรัฐที่เปนภัยคุกคามสันติภาพ สหรัฐฯ และจีน และเริ่มใหความรูกับสังคมใหมากขึ้น
ของโลก ในขณะที่ดานการใชพลังงานนิวเคลียรซี่ง เพราะคำวา “ความมั่นคง” ในอดีต ที่นานาชาติมัก
เปนเรื่องพลเรือนก็ตองมีการสรางความยอมรับและ หมายความถึง “ความมั่นคงทางทหารและการเมือง”
การสนับสนุนจากภาคประชาชน โดยมีประเด็นสำคัญ ไดคอยๆ ถูกนำปรับไปใชกับ “ความมั่นคงทางอาหาร
ที่เหมือนกันคือ สหรัฐฯ มีความระมัดระวังในการถาย- และพลังงาน” ในบริบทที่เขมขนและหลากหลายมาก
ทอดเทคโนโลยี น ิ ว เคลี ย ร ไ ปยั ง ประเทศภายนอก ขึ้นทุกที

9 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560


การประชุมประจำปี
The American Nuclear Society (ANS)
The American Nuclear Society (ANS) เปนองคกรนานาชาติที่ ไมแสวงผลกำไรดานวิทยาศาสตรและ
การศึกษาที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนิวเคลียร ประกอบดวยวิศวกร นักวิทยาศาสตร นักการศึกษา
นักเรียน และผูที่สนใจกวาหมื่นคน สมาชิกของ ANS เปนตัวแทนขององคกรจากทั้งภาครัฐและเอกชนจาก 40
ประเทศทั่วโลก วัตถุประสงคขององคกรคือเพื่อสนับสนุนความกาวหนาของวิทยาศาสตรและวิศวกรรมที่เกี่ยวของ
กับนิวเคลียร โดยการสนับสนุนการวิจัยการตั้งทุนสนับสนุนการศึกษา การเผยแพรขอมูลผานสื่อสิ่งพิมพและ
วารสาร การจัดกิจกรรมและการประชุมตางๆ รวมถึงการสรางความรวมมือกับหนวยงานตางๆ

การประชุม 2017 ANS Winter Meeting จัดขึ้นระหวางวันที่ 29 ตุลาคม – 2 พฤศจิกายน 2560 ณ


Wardman Park
โรงแรม Marriott Wardman Park กรุ
กรุงงวอชิ
วอชิงงตัตันน ดีดี.ซี.ซี. . มีมีหธัวีมขหัอหลั
วขอกการประชุ
การประชุมมในป
ในปนนี้คี้คือือ “Generations in
Collaboration: Building for Tomorrow” การประชุมตลอดเวลา 4 วันจะครอบคลุมหัวขอตางๆ ที่เกี่ยวกับ
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนิวเคลียร เชน เทคโนโลยี ใหม ความคืบหนาในวงการ กฎเกณฑ นโยบาย จรรยาบรรณ
การสื่อสารกับผูมีสวนตัดสินใจเชิงนโยบายและสื่อมวลชน ในการประชุม มีทั้งการบรรยายแบบรวม การบรรยาย
แบบยอย การนำเสนอผลงานผานโปสเตอร และการจัดตั้งโตะประชาสัมพันธหนวยงานและมหาวิทยาลัยที่
เกี่ยวของกับเทคโนโลยีนิวเคลียร

ภาพพิธีการเปดการประชุม

ภาพพิธีการเปดการประชุม

10 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560


สาระสำคัญในพิธีเปดการประชุม 2017 ANS Winter Meeting
พิธีเปดการประชุมมีนาย Ty Troutman (ผูบริหารบริษัท Bechtel) ประธานการประชุม และ Dan
Brouillette (Deputy Secretary of the U.S. Department of Energy) เปนผูบรรยายกิตติมาศักดิ์
ในการบรรยายเขาไดกลาวถึงความกาวหนาดานพลังงานนิวเคลียรของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยปจจุบันประเทศ
สหรัฐอเมริกาไดมีการนำเอาเทคโนโลยีนิวเคลียรไปใชประโยชนไดหลากหลาย ไมวาจะเปนเพื่อการพัฒนาการแพทย
วิทยาศาสตรอาหาร การสำรวจอวกาศ ฯลฯ นอกจากนี้ ในขณะที่โลกมีความตองการในพลังงานมากขึ้น
นักวิทยาศาสตรจำนวนมากเห็นตรงกันวาพลังงานนิวเคลียรเปนพลังงานที่มีความมั่นคงมากที่สุด แตอยางไรก็ตาม
ตลาดพลังงานนิวเคลียรของสหรัฐอเมริกาเปนในลักษณะของตลาดที่ถูกกำหนดดวยกฎระเบียบมากกวาตลาดแบบ
เสรี เนื่องจากมีประเด็นความมั่นคงและความปลอดภัย (security and safety) ทำใหยังไมมีการนำเอาพลังงาน
นิวเคลียรออกมาใชประโยชนไดสูงสุด ทั้งนี้ รัฐบาลสหรัฐฯ ไดใหความสำคัญตอการแกไขปญหาและพัฒนา
ความมั่นคงของพลังงานนิวเคลียร เชน US Department of Energy (DOE) ใหความสำคัญกับการศึกษาวิจัยดาน
พลังงานนิวเคลียรและการพัฒนาเครือขายวิจัย รัฐบาลกลางยังใหการสนับสนุนการศึกษาดานวิศวกรรม ฟสิกส
และนิวเคลียร
นาย
นาย Jean Jean Llewelyn Llewelyn (Chief (Chief Executive,
Executive, UK UK National
National Skill Skill Academy Academy Nuclear) Nuclear)
ได
ไดกลาวถึงสถานการณในสหราชอาณาจักร โดยในปจจุบันสหราชอาณาจักรมีเตาปฏิกรณพลังงานนิวเคลียยรรทที่ใี่ใชช
ก ล า วถึ ง สถานการณ ใ นสหราชอาณาจั ก ร โดยในป จ จุ บ น
ั สหราชอาณาจั ก รมี เ ตาปฏิ ก รณ พ ลั ง งานนิ ว เคลี
งานอยู
งานอยู 15 15 เตา เตา ในโรงงานไฟฟ
ในโรงงานไฟฟาาพลั พลังงงานนิ
งานนิววเคลี
เคลียยรร 77 แห แหงง และมี
และมีแแผนการสร
ผนการสราางความร งความรววมมื มมืออกักับบประเทศต
ประเทศตาางๆ งๆ
ในภู ม
ในภูมิภาค ภ
ิ าค ทำให
ทำใหสหราชอาณาจักรมีโอกาสในการพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียรและสามารถดึงดูดผูเชี่ยวชาญเขาสูสู
ส หราชอาณาจั ก รมี โ อกาสในการพั ฒ นาเทคโนโลยี น ว
ิ เคลี ย ร แ ละสามารถดึ ง ดู ด ผู เ
 ชี ย
่ วชาญเข า
ประเทศไทย
ประเทศไทย ปปจจจัจัยยหนึ หนึ่ง่งทีที่ท่ทำให
ำใหสสหราชอาณาจั
หราชอาณาจักกรมีรมีกการพั
ารพัฒ ฒนาเทคโนโลยี
นาเทคโนโลยีนนิวิวเคลีเคลียยรรออยยาางรวดเร็
งรวดเร็ววคืคืออ การสนั
การสนับบสนุ สนุนน
ความร
ความรววมมื มมืออระหว
ระหวาางรั
งรัฐฐบาลและอุ
บาลและอุตตสาหกรรม สาหกรรม นอกจากนี
นอกจากนี้ม้มีกีการส ารสงงเสริ
เสริมมให
ใหคคนรุ
นรุนนใหม
ใหมไไดดมมีบีบทบาทในการตั
ทบาทในการตัดดสิสินนใจ ใจ
ตตาางๆ
งๆ ก็ก็มมีสีสววนในการเร
นในการเรงงการพั
การพัฒ ฒนาเทคโนโลยี
นาเทคโนโลยีนนิวิวเคลี
เคลียยรรดดววยเช
ยเชนนกักันน

ภาพการจัดโปสเตอรแสดงผลงานของนักศึกษาใหแกผูรวมงานไดศึกษาและสอบถาม
11 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560
นอกจากการปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นากฎระเบี ย บให ก  า วหน า ทั น ต อ การพั ฒ นาเทคโนโลยี น ิ ว เคลี ย ร
การเรงพัฒนาบุคลากรก็มีความสำคัญ เนื่องจากเทคโนโลยีนิวเคลียรจะเปนที่ตองการมากขึ้นในอนาคตจึงตอง
เตรียมบุคลากรเพื่อรองรับความตองการดังกลาว ผูเชี่ยวชาญใหความเห็นวา การเริ่มตนสรางบุคลากรดาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนิวเคลียรควรเริ่มตั้งแตในโรงเรียน โดยควรมีการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน
ที่มุงปลูกฝงใหนักเรียนมีความสนใจในวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การสนับสนุนใหมีการสอนวิชาที่สำคัญ เชน
คณิตศาสตร วิทยาศาสตร วิทยาศาสตรคอมพิวเตอร ฯลฯ ในโรงเรียนทั้งระดับประถมและมัธยมศึกษา มีการฝก
อบรมภาคปฏิบัติ (technical training program) ที่นักเรียนสามารถนำไปใชตอยอดในการศึกษาระดับ
มหาวิทยาลัยและการเขาทำงานจริงในองคกรตางๆ ได

12 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560


การสร้างจรรยาบรรณและวัฒนธรรม
ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์
การสรางจรรยาบรรณและวัฒนธรรม
ความปลอดภัยนิวเคลียรมีความสำคัญอยางมากใน
การบริ ห ารจั ด การกั บ องค ก รและเทคโนโลยี ท ี ่ ม ี
ความซับซอนอยางพลังงานนิวเคลียร วัฒนธรรมความ -
ปลอดภัยเกี่ยวของกับการออกใบรับรอง ผูถือใบรับรอง ใบอนุญาต
ฯลฯ นอกจากนี้ วัฒนธรรมความปลอดภัยนิวเคลียรยังเกี่ยวพันกับ
ปจจัยอื่นๆ ดวย เชน การคำนึงถึงความปลอดภัยของสาธารณะและการให
ความสำคั ญ กั บ จรรยาบรรณและความปลอดภั ย ของผู  น ำองค ก รและ
บุคลากรทุกคน ซึ่งปจจัยเหลานี้จะสะทอนใหเห็นในกระบวนการบริหาร
จัดการขององคกร ปรากฏดังในภาพประกอบ 1

Robert D. Busch ศาสตราจารยสาขาวิศวกรรมนิวเคลียร The


University of New Mexico กลาววา หลักปฏิบัติหนึ่งที่ชวยสงเสริม
จรรยาบรรณและวัฒนธรรมความปลอดภัย คือ การยอมรับความผิดพลาด
ซึ่งความผิดพลาดเปนสิ่งที่ไมมีใครอยากใหเกิดขึ้น แตอยางไรก็ตาม เราไม
สามารถหลีกเลี่ยงความผิดพลาดได แมวาเราจะมีระบบ peer review

13 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560


การสร้างจรรยาบรรณและวัฒนธรรม
ความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ หรือระบบการตรวจทานคัดกรองแผนงาน
หรือชิ้นงานโดยผูเชี่ยวชาญอีกคนหรืออีกกลุม
หนึ่งเพื่อหลีกเลี่ยงความผิดพลาดก็ตาม ดังนั้น
การเปลี่ยนทัศนคติใหองคกรยอบรับและพยายามศึกษา
ทำความเขาใจถึงที่มาของความผิดพลาดนั้นๆ เราก็จะสามารถ
ไดบทเรียนที่มีประโยชนเพื่อปองกันความผิดพลาดในอนาคตได
ตัวอยางเชน U.S. Department of Energy (DOE) ไดเปดเว็บไซต
https://opexshare.doe.gov/ ซึ่งรวบรวมบทเรียนตางๆ รวมถึงบทเรียน
ที่เกิดจากความผิดพลาดไวเพื่อใหเจาหนาที่ของ DOE และผูที่สนใจไดศึกษา

ดุลยพินิจของผูประกอบวิชาชีพ (professional judgement) ก็มีความสำคัญ


การอบรมและพั ฒ นาบุ ค ลากรควรปลู ก ฝ ง ให บ ุ ค ลากรตั ด สิ น ใจบนพื ้ น ฐานของมาตรฐาน
(standard) และกฎระเบียบเปนสำคัญ นอกจากนี้ องคกรควรเปดใหมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
และประสบการณกับบุคลากรจากองคกรอื่นๆ เพื่อใหมาตรฐานการปฏิบัติขององคกรมีความทันสมัย
และครอบคลุมประเด็นตางๆ ใหมากที่สุด อยางไรก็ตาม ความคิดเห็นและประสบการณของปจเจก
บุคคลก็ไมควรถูกมองขาม องคกรควรเปดรับฟงความคิดเห็นของบุคลากรแมวาจะแตกตางจาก
แนวทางปฏิบัติขององคกร เมื่อรับฟงแลว องคกรจะตองพิจารณาหลักฐานสนับสนุน ประสบการณ
และความเชี่ยวชาญ รวมถึงแรงจูงใจของบุคลากรนั้นๆ ในการตัดสินใจใหความสำคัญ กับความคิด-
เห็นนั้นๆ นอกจากนี้ ทุกฝายจะตองตระหนักถึงและยอมรับความรับผิดชอบในผล ของทุกการตัดสินใจ
ของตน

Dr. Charles R. Martin (Chief Nuclear Officer, National Security Technologies)


ไดกลาวถึงการสำรวจวัฒนธรรมความปลอดภัยขององคกร โดยสามารถทำไดหลากหลายวิธี ดังนี้
- การศึกษาความรูความเขาใจเกี่ยวกับจรรยาบรรณและความปลอดภัยของผูนำและบุคลากรของ
ขององคกรโดยการใชแบบสอบถาม การสัมภาษณ ฯลฯ
- การสำรวจวามีการตั้งคำถามและยกปญหาขึ้นมาศึกษาแกไขในองคกรหรือไม บอยแคไหน
- การสำรวจวาองคกรมีการใหการสนับสนุนการเรียนรูอยางตอเนื่องหรือไม
- การเปดรับความคิดเห็นและคำถามโดยไมมีบทลงโทษหรือผลกระทบทางลบตอบุคลากร
- การสำรวจสิ่งแวดลอมในการทำงาน

Charlotte E. Sanders ศาสตราจารยจาก Department of Physics, University of Texas


ยกตัวอยางการทดสอบจรรยาบรรณขององคกรที่มีใชอยูในสหรัฐฯ เชน
- Involvement test (การทดสอบเพื่อมั่นใจวาทุกคนในองคกรเขาใจในงานที่ตนรับผิดชอบ)
- Consequential test (การทดสอบเพื่อมั่นใจวาทุกคนเขาใจเกี่ยวกับผลที่จะเกิดขึ้น)
- Ethical Principle Test
- Fairness test
- Preventive test
- Light-of-day test (การตั้งคำถามวาสิ่งที่คุณทำในแตละวันสามารถเปดเผยกับสาธารณะหรือไม

14 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560


การพิมพ์หุ่นจำลองร่างกายมนุษย์ด้วย
การพิมพ์สามมิติเพื่อการคำนวณปริมาณ
รังสีท่ใช้
ี ในการรักษาโรค
การนำเอาการฉายรังสีมาใชเพื่อการรักษาโรคไดมีบทบาทสำคัญในทางการแพทย เชน การฉายรังสี
เพื่อการตรวจหาและการรักษาโรคมะเร็ง แตอยางไรก็ตาม ผูเชี่ยวชาญยอมรับวารังสีชนิดกอไอออน
(Ionizing radiation) มีผลตอเนื้อเยื่อและอาจกอใหเกิดมะเร็ง ทำใหการฉายแสงเพื่อรักษาโรคมีความเปนไป
ไดในการกอใหเกิดโรคมะเร็งชนิดใหมตามมา ดังนั้น การคำนวณปริมาณรังสีที่เหมาะสมจึงมีความสำคัญ
มากในการลดความเสี่ยงในการเกิดผลเสียตอผูปวย

วิธีการที่ไดรับความนิยมมากที่สุดในการคำนวณหาปริมาณรังสีที่เหมาะกับผูปวยคือการใชแบบ
จำลองรางกายมนุษย (anthropomorphic phantom) ความแมนยำจากการใชแบบจำลองนี้ขึ้นอยูกับวาแบบ
จำลองมีความใกลเคียงกับรูปรางและความสามารถในการลดทอนรังสี (radiation attenuation characteris-
tics) ของรางกายของผูปวย อยางไรก็ตาม แบบจำลองรางกายมนุษยมีราคาคอนขางสูง และมีขนาดและ
รูปรางใหเลือกใชอยางจำกัดเมื่อเทียบกับสรีระรางกายจริงของผูปวยที่มีความหลากหลาย โดยเฉพาะสำหรับ
ผูปวยที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานและปญหาโรคอวน

เมื ่ อ หุ  น จำลองร า ยกายมนุ ษ ย ม ี ค วามแตกต า ง


จากรางกายของผูปวย สงผลใหการคำนวณปริมาณรังสี
คลาดเคลื่อนจากความเปนจริง ทำใหผูปวยอาจจะได
รับปริมาณรังสีมากหรือนอยเกินไป และมีความเสี่ยงตอ
การเปนมะเร็งชนิดใหมซึ่งเกิดจากการไดรับการฉายรังสี
เพื่อรักษาโรคมะเร็งเดิม เพื่อแกไขปญหาดังกลาว
นักวิจัยจาก U.S. National Cancer Institute
ได พ ั ฒ นาการผลิ ต แบบจำลองร า งกายมนุ ษ ย ด  ว ย
การพิมพแบบสามมิติเพื่อใหหุนจำลองรางกายมนุษย
มีความใกลเคียงกับสรีระจริงของผูปวยมากที่สุด
ที่มา: Division of Cancer Epidemiology and Genetics, หุนจำลองรางกายมนุษยที่ใชในปจจุบัน ผลิตโดยบริษัทเอกชน
National Cancer Institute, ซึ่งมักจะมีไมกี่ขนาด เชน ผูหญิง ผูชาย เด็กโต เด็กเล็ก
National Institutes of Health Rockville, MD และเด็กทารก

15 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560


การพิมพหุนจำลองรางกายมนุษยดวย
การพิมพสามมิติเพือการคำนวณปริมาณ
รังสีทใช
ี ในการรักษาโรค

เปาหมายของงานศึกษาวิจัยชิ้นนี้คือการออกแบบและผลิตชั้นไขมันใตผิวหนังจำลองเพื่อประกอบกับ
หุนจำลองรางกายมนุษยที่หาไดทั่วไป เพื่อใหแพทยสามารถมีหุนจำลองที่ใกลเคียงกับสรีระของผูปวย ซึ่งชวย
ใหการคำนวณหาปริมาณรังสีที่ตองใชในการรักษามีความเหมาะสมกับผูปวยแตละคนมากที่สุด

การสรางชั้นไขมันจำลองเพื่อประกอบกับแบบ
จำลองรางกายมนุษย

นักวิจัยไดคัดเลือกผูปวยที่ตองรับการฉายรังสี
เพื่อรักษาโรคมะเร็งที่มีคาดัชนีมวลกาย (Body
Mass Index : BMI) สูงที่สุดในกลุมผูปวยจาก
National Institute of Health (NIH) Clinical
ภาพการทำ CT impages ที่แสดงใหเห็นถึงความแตกตางของหุนจำลอง Center โดยผูปวยที่ถูกคัดเลือกเปนเพศชายอายุ 50
รางกายมนุษย (a) กับรายกายของผูปวยที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน (b) ป สูง 178 ซ.ม. หนัก 126 ก.ก. มีคา BMI คือ

39.8 ซึ่งถือวามีโรคอวนในระดับ 3 ตามมาตรฐาน ขององคการอนามัยโลก (WHO) จากนั้น นักวิจัยไดซีที


สแกน (Computerized Tomography Scan: CT Scan) ผูปวย โดยผลจากการสแกนประกอบดวย
ภาพแนวขวาง 615 ภาพ แตละชั้นมี ความหนา 2 มม.

จากนั้น นักวิจัยนำภาพ CT Scan ที่ไดจากผูปวยและหุนจำลองรางกายมนุษยมาเปรียบเทียบ


ผลที่ไดจะถูกแปลงเปนขอมูลในรูปแบบ STL (Standard Tessellation Language) และถูกแปลงเปนแบบ
พิมพ 3 มิติโดยใชโปรแกรม CAD (Computer-Aided Design) ซึ่งนำไปใชพิมพชั้นไขมันจำลองดวยเครื่อง
Ultimaker 3 (Ultimaker B. V, Netherlands) โดยใชวัสดุพิมพเปนพลาสติกประเภท PLA โดยตั้งคา
ความหนาแนนใหเทียบเทากับไขมันของมนุษย

16 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560


การพิมพหุนจำลองรางกายมนุษยดวย
การพิมพสามมิติเพือการคำนวณปริมาณ
รังสีทใช
ี ในการรักษาโรค

รางกายของมนุษยมีความหลากหลายและซับซอนมาก
การใชหุนจำลองรางกายมนุษยซึ่งมีใหเลือกเพียงไมกี่แบบเปน
ตั ว แทนเพื ่ อ คำนวณปริ ม าณการฉายรั ง สี อ าจก อ ให
เกิดความคลาดเคลื่อนในการรักษา การทดลองนี้มุงไปที่
การสร า งหุ  น จำลองร า งกายมนุ ษ ย ท ี ่ ม ี ค วามใกล เ คี ย งกั บ
รางกายของผูปวยที่มีน้ำหนักตัวเกินมาตรฐาน ผลที่ไดจาก
การทดลองนี้ สามารถนำไปตอยอดในการพัฒนาหุนจำลอง
ร า งกายมนุ ษ ย ท ี ่ ม ี ส รี ร ะใกล เ คี ย งกั บ ผู  ป  ว ยที ่ ม ี ส รี ร ะอื ่ น ๆ
ไดและนำไปสูการรักษาที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ผูที่สนใจสามารถหาขอมูลเพิ่มเติมไดที่ Division of
Cancer Epidemiology and Genetics, National Cancer
Institute, National Institutes of Health Rockville, MD
20850, matthew.mille@nih.gov † Department of
Nuclear Medicine, National Institutes of Health,
Bethesda, MD 20892

พื้นที่สีเนื้อแสดงใหเห็นถึงผลจาก CT Scan ของผูปวย


พื้นที่สีเทาดานในแสดงใหเห็นผลของ CT Scan จากหุน จำลอง

17 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560


จากภาพยนตร

ถึงความหมาย ว.ท.น.

The Day After  The Day After Tomorrow


เพื่อใหเขากับกระแสเรื่องการประชุมของ American Nuclear
Society (ANS) ณ กรุงวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา ที่ผานมาระหวาง
29 ตุลาคม ถึง 2 พฤศจิกายน 2560 ทำใหตองหวนนึกถึง
ภาพยนตรสองเรื่องทึ่มีชื่อคลายๆ กัน เรื่องแรก คือ The Day
After นิวเคลียรลางโลก ที่ฉายเมื่อป 2526 โดยมีการสราง
สถานการณบรรยากาศจำลองของสงครามโลกครั้งที่ 3 ที่อาวุธ
นิวเคลียรซึ่งมีแสนยานุภาพรายแรงถูกนำมาใชในการสูรบระหวาง
พี่ใหญคาย ส. เสรีนิยม สหรัฐฯ กับพี่ใหญคาย ส.สังคมนิยม
คอมมิวนิสต สหภาพโซเวียต โดยไฮไลตของเรื่องก็คือ ตอนที่
สหภาพโซเวียตไดยิงขีปนาวุธนิวเคลียรเขาใสเมือง Kansas city
มลรัฐมิสซูรี่ สหรัฐฯ ซึ่งคาดวาพื้นที่ดังกลาว เปนจุดยุทธศาสตร
สำคัญ และเปนแหลงเก็บหัวรบขีปนาวุธของสหรัฐฯ ภาพของ
ความเสียหายอยางใหญหลวงไดถูกบรรยายดวยเทคนิคการสราง
ภาพยนตรที่มีเหตุการณจริงเชิงประจักษที่เกิดขึ้น ที่ประเทศ
ญี่ปุนเมื่อป 2488 (ค.ศ. 1945) ใหเปนแรงบันดาลใจ และดูจะ
โหดรายกวา เพราะวาการพัฒนาของขีปนาวุธ ในชวงสงครามเย็น
รายแรงกวาระเบิดปรมาณูไออวนไอผอมที่ใชในชวงสงครามโลก
ครั้งที่สองมากมายนัก ความนาสะพรึงกลัวของอาวุธนิวเคลียรและ
side effect ที่จะเกิดตามมาดูรายแรงเกินกวาที่มหาอำนาจใดจะ
กลาหยิบขึ้นมาใชไมวาในสถานการณใดๆ ก็ตาม ในบรรยากาศ
ชวงสงครามเย็นนั้น การสูแบบกองโจร การใชอาวุธตามรูปแบบ
การโฆษณาชวนเชื่อเชิงจิตวิทยา การสรางความขัดแยงทาง
การเมืองภายในเพื่อกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในหลายแหง
ทั่วโลก โดยขีปนาวุธขามทวีป (ICBM) ไดยังคงเก็บตัวเงียบในไซโล

18 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560


จากภาพยนตร์ เชนเดียวกับเรือดำน้ำติดขีปนาวุธ (SLBM) ที่คอยๆ ปลดระวาง
จนเหลือไมมากนัก ภาพยนตรเรื่อง The Day After จึงเปน
ถึงความหมาย
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีนวัตกรรม การสะทอนภาพความหวาดกลัวของสงครามนิวเคลียรในยุคนั้น
และคำวาปองปราม (Deterrence) จึงมีความหมายมากสำหรับ
คุณคาของอาวุธนิวเคลียรในยุคสงครามเย็นที่ทำใหไมมีประเทศใด
ผลีผลามกลาใชอาวุธดังกลาวในปญหาความขัดแยงเพราะคำตอบ
ของการใชนั้นก็คือการลมหาย ตายเกลื่อน ไมวาจะฝายไหนก็ตาม

ในขณะที่อาวุธนิวเคลียรคอยๆ หมดบทบาทในกระแสโซเชียล
ของประชาคมโลกไป เทคโนโลยีนิวเคลียรกลับไดรับความสำคัญ
ในฐานะตัวเลือกสำหรับพลังงาน ซึ่งเปนพลังงานที่ตองใช
เทคโนโลยีการกอสรางและลงทุนที่สูงลิบ แตมีตนทุนผันแปรตอ
หนวยเพียงนอยนิด เมื่อเทียบกับวัตถุดิบในการผลิตพลังงาน
อยางอื่น พัฒนาการของการใชพลังงานนิวเคลียรซึ่งไดคอยๆ
เพิ่มขึ้นในหลายพื้นที่บนโลก เพื่อสนองความตองการดานพลังงาน
จากการพัฒนาทางเศรษฐกิจ หลายประเทศเจาของเทคโนโลยี
ไดหันมาใชพลังงานจากแหลงนี้จำนวนมาก ตั้งแตเจาของอาวุธ
นิวเคลียรเองอยางสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส รัสเซีย จีน รวมไปถึง
ประเทศที่เคยโดนใชอาวุธนิวเคลียรอยางญี่ปุน ซึ่งกระแสสำคัญ
ที่สุดของพลังงานนิวเคลียรก็คือ การเปนพลังงานสะอาดที่ไมปลด
ปลอยกาซเรือนกระจก และเขมาควันพิษตางๆ ออกสู บรรยากาศ
โดยเฉพาะภาพที่สะทอนออกมาจากภาพยนตรเรื่อง
วิกฤตการณวันสิ้นโลก หรือ The Day After Tomorrow ซึ่งออก
ฉายเมื่อป 2547 ไดสรางเงื่อนไขดานภัยพิบัติที่เกิดขึ้นจาก
เหตุการณการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (climate change) ทีเ่ กิด
จากการทำใหโลกรอนขึ้น (global warming) อยางนาเชื่อถือ
ภาพยนตรเรื่องนี้ไดเปลี่ยนมุมมองของปญหาที่ทาทายมวลมนุษย-
ชาติ โดยไมไดแบงจากอุดมการณทางการเมือง ความเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจ เชื้อชาติ หรือเผาพันธุ โดยตัวแสดงนำ แจ็ก ฮอลล
ซึ่งไปสำรวจทวีปแอนตารติกา และทีมงานพบวาชั้นน้ำแข็งกำลัง
แยกตัว เคลื่อนเขามาปนกับกระแสน้ำในมหาสมุทร และรบกวน
ระบบกระแสน้ำ และอุณหภูมิโลก จนเกิดสภาพอากาศที่เลวราย
และพายุขนาดใหญ ภาพยนตรไดเสนอใหเห็นดวยวา ปรากฏการณ
โลกรอน กลับทำใหโลกปกคลุมไปดวยน้ำแข็งไดเชนเดียวกัน

19 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560


จากภาพยนตร์
อะไรๆจะดูดีไปพรอมกับบรรยากาศที่โลกกำลังตื่น
ถึงความหมาย ตัวคนหาพลังงานทางเลือกและพลังงานทดแทน
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีนวัตกรรม เพื่อแกไขปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
เหตุการณยอนรอยประวัติศาสตรภัยพิบัตินิวเคลียร
มนุษยกำลังตองสูกับธรรมชาติที่เราเคยทำรายไว
ก็กลับมาเกิดกับญี่ปุนอีกครั้งที่ฟุคุชิมาในป 2554
และกำลังเอาคืนจากเรา ตามหนังสือ The
จนทำใหเปาหมายการลดการปลดปลอยกาซเรือน
Revenge of GAIA – เมื่อโลกเอาคืน ภาพยนตร
กระจกของญี่ปุน และบทบาทผูนำใจเต็มรอยใน
นี้ไดเขาฉายเกือบทั่วโลก ในปครบรอบสมัยที่ 10
การแกไขปญหาโลกรอนถึงกับโซเซ อยางไรก็ตาม
ของการประชุ ม รั ฐ ภาคี ก รอบอนุ ส ั ญ ญาว า ด ว ย
เหตุการณที่เกิดที่ฟุคุชิมานั้นก็สะทอนความสำเร็จ
การการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากา (COP 10 of
ขั้นสูงในดานความปลอดภัยนิวเคลียร และยังคง
UNFCCC) ที่จัดขึ้นในเมืองนามวา “อากาศดี”
ทำใหประเทศมหาอำนาจนักบริโภคพลังงานไมได
กรุงบัวโนสไอเรส อารเจนตินา ซึ่งเปนผูนำดาน
ลดละเลิก การใชพลังงานนิวเคลียรออกจาก
นิวเคลียรของลาตินอเมริกา
สัดสวนการใชพลังงาน
จากสถิติเมื่อเดือนเมษายน 2560
ประเทศที่มีโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรมี 30
ประเทศ สวนใหญอยูในยุโรป มีการกอสรางเตา
ปฏิกรณใหม 449 เตา ใน 15 ประเทศ
และพลังงานที่ใชบนโลกใบนี้ รอยละ 11 มาจาก
พลังงานนิวเคลียร ในขณะที่กระแสตอตานก็ยังคง
มีอยูในหลายพื้นที่ แมกระทั่งในสหรัฐฯ เอง ซึ่งมี
ภาพจากภัยพิบัติในภาพยนตเรื่อง The Day After
เตาปฏิกรณมากที่สุด ก็มีกฎหมายและแนวทาง
เรื่องนี้แตกตางกันไป ตามแตปจจัยและ
ความกดดันดานความตองการพลังงาน
โดยระหวางเสนทางพัฒนา ก็มีบทเรียนของ
อุบัติภัยในที่ตางๆ ที่เกิดจากโรงไฟฟาพลังงาน
นิวเคลียร คอยสกัดกระแสความปลาบปลื้มกับ
การใชพลังงานนิวเคลียรอยูหลายครา ดังเชน
ภาพจากภัยพิบัติในภาพยนตเรื่อง The Day After
อุบัติภัยโรงไฟฟา Three Mile Islands
รัฐเพนซิลวาเนีย ที่เกิดขึ้นเมื่อป 2522 หลัง
เพื ่ อ นบ า นสามช า อิ น โดจี น กลายเป น ประเทศ
คอมมิวนิสตยกเซ็ตไดปเดียว และอีกกรณีที่
สะเทือนทั้งยุโรป คือโรงไฟฟาเชอรโนบิล ในแควน
ยูเครน 2529 ซึ่งก็เตือนรัฐบาลเครมลินกอนที่
สหภาพโซเวียตลมสลาย 5 ป และในทามกลางที่ ภาพจากภัยพิบัติในภาพยนตเรื่อง The Day After

20 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560


จากภาพยนตร์
ผลการหารือของการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญา
ถึงความหมาย สหประชาชาติ ว  า ด ว ยการเปลี ่ ย นแปลงสภาพ
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีนวัตกรรม
ภูมิอากาศ สมัยที่ 23 ระหวางวันที่ 6-17
พฤศจิกายน ที่ผานมา ณ เมืองบอนน เยอรมนี
จึงยังคงเต็มไปดวยการหารือในประเด็นการลด
กาซเรือนกระจก หรือ Mitigation ซึ่งเกี่ยวของ
กับการพัฒนากลไกและกฏเกณฑลดการปลอยกาซ
โดยเฉพาะเมื่อกระแสของ coal phase out ดัง
กระหึ่ม การหาตัวเลือกเทคโนโลยีที่จะมาชวยผลิต
พลังงาน โดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนาที่กำลัง
เติบโต จะยังเกี่ยวโยงมายังประเด็นการถายทอด
เทคโนโลยี (Technology Transfer) ซึ่งพลังงาน
นิวเคลียรอาจจะเปนตัวเลือกที่มาแรงในที่สุด

สำหรับประเทศไทยของเราเอง วันนี้เรา
ยังไมมีโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร และก็ยังไมรูวา
วั น หนึ ่ ง เราจะมี ก ารก อ สร า งโรงไฟฟ า พลั ง งาน
นิวเคลียรไดจริงหรือไม แตรัฐบาลไทยก็ตองมี
การเตรียมดู เตรียมตัว และเตรียมการ เพราะ
ประเทศเรายังเปนหนึ่งในประเทศกำลังพัฒนาที่ยัง
คงขยายกิจกรรมหลายอยางเพื่อพัฒนาประเทศ
เพื่อไมใหเกิดสถานการณที่วา วันที่ประเทศไทยมี
พลังงานไมเพียงพอ – แตก็ไมแนหากเราเดินหนา
ประเทศไปด ว ยปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งและ
ประเทศไทย 4.0 อยางจริงจัง วันหนึ่งเมื่อ
โครงสรางทางเศรษฐกิจและสังคมเขาสูดุลยภาพ
เราอาจสามารถมี ส  ว นผสมพลั ง งานที ่ เ พี ย งพอ
โดยไมจำเปนตองกาวไปอาศัยเทคโนโลยีนิวเคลียร
ไดไหม หรือในที่สุดตองอาศัยแลว การไดมาซึ่ง
พลังงานจากเทคโนโลยีนิวเคลียรในวันขางหนา
อาจจะดำเนินการไดสะดวก งายดาย ไรภยันตราย
และตอบสนองความต อ งการได อ ย า งเพี ย งพอ
ในสังคมไทยที่พอเพียงอยางแทจริง

21 รายงานข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จาก วอชิงตัน ฉบับที่ 11/2560

You might also like