You are on page 1of 33

บทที่ 2

การเตรียมอุปกรณ และ
เรขาคณิตประยุกต
ในบทนี้จะเปนการแนะนําขั้นตอนที่ควรปฏิบัติกอนเริ่มลงมือเขียนแบบ ซึ่งประกอบไป
ดวยการติดตั้งกระดาษบนโตะเขียนแบบ การเตรียมดินสอ วงเวียน ตลอดจนการใชอุปกรณเขียน
แบบเบื้องตน จากนั้นจะเปนการทบทวนเรื่องเรขาคณิต โดยจะนําความรูดังกลาวมาประยุกตใชใน
การวาดรูปที่มีความซับซอนในงานเขียนแบบวิศวกรรม

2.1 การเตรียมอุปกรณ
ก อ นเริ่ ม ต น การเขี ย นแบบนั้ น เราจํ า เป น ที่ จ ะต อ งเตรี ย มอุ ป กรณ ต า ง ๆ ให พ ร อ ม
เสียกอน ซึ่งขั้นตอนทั้งหมดมีดังนี้

- การติดตั้งกระดาษบนโตะเขียนแบบ
การติดตั้งกระดาษบนโตะเขียนแบบจะเริ่มจากการวางกระดาษใหชิดขอบทางดานลาง
ซายของโตะเขียนแบบกอน จากนั้นวางไมทีลงบนกระดาษโดยใหหัวของไมทีวางล็อคกับขอบโตะ
ทางดานซาย และอยาใหสวนหัวของไมทีเกินออกจากขอบโตะดังแสดงในรูปที่ 2.1ก ขั้นตอไปให
ขยับกระดาษจนกระทั่งกรอบดานลางของกระดาษเขียนแบบอยูเหนือขอบบนของไมที (รูปที่ 2.1ข)
จากนั้นจับกระดาษไวแลวเลื่อนไมทีขึ้นดานบนเพื่อจัดกรอบดานบนของกระดาษเขียนแบบใหได
ตําแหนงที่พอดีกับขอบดานบนของไมที (รูปที่ 2.1ค) เมื่อจัดเรียบรอยแลวใหติดกระดาษกาวยึด
กระดาษเขียนแบบใหติดอยูกับโตะโดยเริ่มติดที่ขอบบนซาย-ขวาของกระดาษกอน (รูปที่ 2.1ง)
32  Fundamental of Engineering Drawing 
 

ตอไปก็เลื่อนไมทีลงดานลางโดยขณะที่เลื่อนไมทีนั้นใหทําการรีดกระดาษใหเรียบดวย สุดทายใหทํา
การติดกระดาษกาวบริเวณมุมที่เหลือเพื่อยึดกระดาษเขากับโตะ (รูปที่ 2.1จ)

อยาใหไมทีเลยขอบโตะ
(ก) วางกระดาษชิดขอบซายลาง แลววาง (ข) เลื่อนกระดาษจนกระทั่งกรอบดานลาง
ไมทีลงบนกระดาษแตอยาใหหัวไมที ของกระดาษอยูเหนือขอบดานบนของ
เลยพนขอบโตะดานลาง ไมที

จัดกรอบของกระดาษใหไดระดับกับขอบไมที

(ค) จับกระดาษไวแลวเลื่อนไมทีขึ้นดานบน (ง) ติดกระดาษกาวเพื่อยึดมุมดานบนทั้ง


จากนั้นจัดกรอบดานบนของกระดาษให สองของกระดาษเขียนแบบ
ไดระดับกับขอบบนของไมที

(จ) เลื่อนไมทีลงดานลางพรอมกับรีดกระดาษให
เรียบติดโตะ จากนั้นติดกระดาษกาวเพื่อยึด
มุมกระดาษที่เหลือ

รูปที่ 2.1 ขั้นตอนการติดตัง้ กระดาษบนโตะเขียนแบบ

NWP June 2007 Version 0.5 


Prepaaring Tools &
& Applied Geometry  33

 

- เหลาดินสอและวงเวียน
ผูวาดจํ
า าเปนตองเหลาดิ
อ นสอใหแหลมอยูเสมอเพื่อเส เ นที่วาดจะ ไดมีความคมชัดและ
สวยยงาม การเหลลาดินสอมีหลายวิล ธีดวยกักัน โดยจะขออยกตัวอยางกกรณีที่ใชมีดและกระดาษษทรายใน
การเหลาดินสอกกอน ซึ่งจะเริริ่มจากการใชชมีดเหลาสวนที น ่เปนไมของดิ
อ นสอออกกจนกระทั่งไสสดินสอมี
ความยาวประมาาณ 8-10 มมม. (รูปที่ 2.2กก) จากนั้นฝนนปลายดินสออบนกระดาษษทราย โดยขขณะที่ฝน
ดินสอให
ส หมุนดินสอไปดน วยเพพื่อที่ปลายดินสอจะได
น มีลัลักษณะเปนกรวยแหลมดั
ก ดังแสดงรูปที่ 2.2ข แต
ถาผูวาดใชเครื่องเหลาดินสออ หรือดินสอกกด (แนะนําใหใชไสขนาดด 0.5 มม.) ออาจจะไมมีปญหาเรื
ญ ่อง
การเหลาดินสอมมากเทาใดนักเพราะจะได
ก ป
ปลายที ่คอนขขางแหลมอยูแลว แตอาจจจะตองมีการฝนปลาย
ดินสอกั
ส บกระดาษเปลาอีกเล็กน ก อยเพื่อปรัรับปลายใหคมตามความต
ค ตองการ และะขั้นตอนสุดททายไมวา
จะใชชดินสอแบบใใดก็ตามคือตองทําความสสะอาดปลายดิดินสอดวยกรระดาษทิชชูกอนเสมอ (รูปที ป ่ 2.2ค)

8-10 มม.

(ก) ใชมืมอื เหลาไมออกให


อ ไดไสดินสอประมาณ
น ณ 8-10 มม.

(ข) ฝนปลายยดินสอบนกรระดาษทรายเพื่อใหไดดินสอปลายแหล
น ลม

(ค) ทํทาความสะอาาดปลายดินสอด
ส วยกระดาาษทิชชู

รูปที่ 2.2 ขั้นตอนการเหล


น ลาดินสอและทําความสะออาดกอนนําไปปใช

NWP  June 200
07 Ve
ersion 0.5 
34  ngineering Drawing 
Fundamental of En
 

สวนวงเวีวียนนั้นถาใชชแบบใสดินสอก็
ส ใหเหลาดิดินสอของวงงเวียนตามวิธีธีขางตน และะดินสอสําหรัรับวง
เวียนนี้ก็ก็ควรเลือกใหหมีความเขมกับที่ใชในการรวาดรูปเพื่อให
ใ เสนของรูปที
ป ่ไดมีความมสม่ําเสมอ แต
แ ถ า
ใชวงเวียนที
ย ่ใชเฉพาาะไสดินสอเททานั้น ก็ใหเหลาปลายไส
ห สดินสอโดยการฝนกับกระดาษทรายจจะได
ป ่ 2.3 และะควรปรับ ใหดา นปลายแแหลมยาวกววาสว นของไไสดินสอเล็กนอ ย
รูป รางดัดั งแสดงในรูปที
(ขั้นตอนนนี้ไมจําเปนตองปฏิบัตก็ได
ไ )

รูปที่ 2.3 การเหลลาไสดินสอทีใช


ใ่ สําหรับวงเเวียน

- ทําความสะอาด
ค ดอุปกรณ (ไมมที ไมสามเเหลี่ยม และะเทมเพลตวงงกลม)
สุดทายเปนการทําความสะอาดอ
ค อุปกรณที่ใช เชน ไมที ไมมสามเหลี่ยม และเทมเพลลตวง
กลม เปนตน ขั้นตอนนนี้เปนขั้นตอนที่ควรปฏิบัติทุก ๆ ครัรั้งกอนการวาาดรูป เพราะะในขณะที่วาดรู
า ป
ณเหลานี้จะถูกลากไปมาบ
อุปกรณ ก บนแผนกระดดาษ ซึ่งถาไมมสะอาดแลวก็จะทําใหรูปปที่วาดสกปรรกได
การทําความสะอาดอุ
ค อุปกรณก็ใหใชชกระดาษทิชชู
ช ที่เตรียมมาาเช็ดถูใหเรียบร
ย อย

2.2 การรใชอุปกรณ ณเบื้องตน


อุปกรณ ณหลัก ๆ สําหรั
ห บงานเขียนแบบประก
น อบไปดวย ไม
ไ ที ไมสามเหลี่ยม ซึ่งทั้งสอง

ชนิดใชสํสาหรับการเขีขียนเสนตรง สวนวงเวียนและเทมเพ
น ลตวงกลมก็จะใช
จ สําหรับบวาดสวนโคงและ ง
วงกลมนันั่นเอง ดังนั้นในหั
น วขอนี้จะเป
ะ นการแนะะนําวิธีการใชชอุปกรณตาง ๆ เหลานี้อยยางเหมาะสมม

- การรใชวงเวียน
ขั้นตอนนการวาดวงกลมดวยวงเวียนจะเริ่มจากกการทําเครื่องหมายแสด
อ งตําแหนงขอองจุด
ศูนยกลาางกอนดังแสสดงในรูปที่ 2.4ก
2 จากนั้นให
น ทําการปรับระยะระหหวางขาของววงเวียนใหเทากับ
ขนาดขอองรัศมีที่ตองการโดยเทียบกับไมบรรททัด (รูปที่ 2.44ข) แลวลองงลากเสนโคงบนกระดาษเเปลา
กอนเพื่อตรวจสอบว
อ าวงกลมที่วาดนั
า ้นไดขนาาดรัศมีที่ถูกตองหรือไม ขั้นตอไปวางขขาดานแหลมมของ

NWP June 2007 Version 0.5 


Prepaaring Tools &
& Applied Geometry  35

 

วงเวีวียนใหไดตําแหน
แ งจุดศูนยยกลางของวงงกลมตามที่ไดทําเครื่องหมายไว (รูปที่ 2.4ค) โดยออาจใชนิ้ว
มืออีกขางชวยปรระคองปลายแแหลมเพื่อคววบคุมไดแมนยํ น ายิ่งขึ้น จากนั้นใหเริ่มววาดวงกลมโดดยใชนิ้วชี้
ห นดามจับจนนกระทั่งไดวงกลมตามตองการ
และนิ้วโปงจับทีดด่ ามจับแลวหมุ อ (รูปที่ 2.4ง)

(ก) ทําเครื่องหมายแสดงตําแหนง (ข) ปรับขาวงเวี


ข ไ ระยะตาม (ค) วางปลายยแหลมของวงเเวียนใหได
ยนใหได
ศูนยกลางวงกลลม รัศมีวงกลมที
ว ่ตองการ ตําแหนงที่ทําเครื่องหมายไว

(ง) จับวงเวี
ว ยนที่ดามจัจับแลวหมุน
เพื่อสร
อ างวงกลมตตามตองการ

รูปที่ 2.4 การวาดวงกล


ก ลมโดยใชวงเวีวียน

- การใชเทมมเพลตวงกลม
เทมมเพลตเปนอุปกรณ
ป เพื่อชวยวาดวงกล
ว ลมหรือสวนโคคง โดยเฉพาาะเมื่อวงกลมมและสวน
โคงนั้นมีขนาดรัรัศมีที่เล็ก ๆ การใชเทมเพลตชวยวาดวงกลมนั้นไม น งายอยางงที่คิด เพราะะตองการ
ควาามแม น ยํ า แลละการฝ ก ฝนนพอสมควรร มิ เ ช น นั้ น แล
แ ว วงกลมทีที่ ไ ด จ ะมี ลั ก ษษณะที่ เ ยื้ อ งศูศู น ย จ าก
ตําแหน
แ งที่ตองการวาด สําหรับขั้นตอนในนการใชเทมเพลตนั้นไดแสดงในรู แ ปที่ 2.5 โดยเริ่มจากการ

วาดเสนราง (เสนเบามาก
น ๆ)) สองเสนใหตั้งฉากและตัตัดกันที่จุดศูนย
น กลางของววงกลมที่ตองการวาด ง
ตอไปให
ไ วางเทมมเพลตลงบริเวณดังกลาวแล ว วเลื่อนเททมเพลตไปมมาจนกระทั่งงเครื่องหมายยที่อยูบน

NWP  June 200
07 Ve
ersion 0.5 
36  ngineering Drawing 
Fundamental of En
 

เทมเพลลตทับกับเสนรน างที่ทําไวในขั
ใ ้นตอนกอน
อ สุดทายใใหใชดินสอวาาดวงกลมไดดโดยพยายามจับ
ดินสอใหหตั้งฉากกับ กระดาษ ขั้ นตอนเหล
น า นี้ผูว าดตองฝฝกฝนหลาย ๆ ครั้งจนเกิกิดความชํานาญ

เพื่อใหวงกลมที่ไดไมเยื้องศูนย

(ก ) ลลากเสนรางใหตัต้งฉากและ (ข) เลื่อนเทมเพลตจนก


น กระทั่ง (ค) วาดวงกลมโดยพยายยาม
ตัตดกันที่จุดศูนยยกลางของ เครื่องหมายบนเทม
อ ม จับดินสสอใหตั้งฉากกัับ

วงกลม เพลตทับกับเสนรางพอดี
า กระดาษ

รูปที่ 2.5 การวาดวงกลมโดยยใชเทมเพลตต

- การรใชไมทีลากกเสนตรงในนแนวนอน
การใชไม
ไ ทีใหเริ่มจากการใชมือซายจับหัวไมทีชนเขากับขอบโต
ข ะดานซาย (รูปที่ 2.6ก)
2
จากนั้นเลื่อนมือไปทาางดานขวาโดดยกดไมทีใหเรียบติดกับกระดาษไว
ก จนถึ
น งบริเวณทีที่ตองการลากกเสน
(รูปที่ 2..6ข) ตอไปก็ใช
ใ มือขวาจับดิ
บ นสอเพื่อเตตรียมลากเสนโดยจรดปลลายดินสอเขากับขอบดานบน
ของไมทีทีและเอียงปลลายดินสอเขาดัา งแสดงในรูรูปที่ 2.6ค สุดทายคอย ๆ ลากเสนจากซายไปขวาาโดย
ขณะที่ลากเส
า นใหหมุนดินสอไปดวย (รูปที่ 2.66ง) เพื่อใหปลายดิ
ล นสอคมมอยูตลอดเวลลา

- การรใชไมทีลากกเสนตรงในนแนวดิง่
ใหดําเนินินการตามขัั้นตอนในรูปที่ 2.6ก จากนนั้นวางไมสามเหลี่ยมจรดดขอบดานบนนของ
ไมทีแลวใช
ว มือซายกดไมทั้งสองไไว (รูปที่ 2.7ก) ตอไปก็ใชชมือขวาจับดินสอแลวจรดดปลายดินสอเขา
กับขอบดดานตั้งของไไมสามเหลี่ยมโดยเอี
ม ยงปลลายดินสอตาามรูปที่ 2.6ค สุดทายก็ททําการลากเสสนดิ่ง
จากลางขึขึ้นบนพรอม ๆ กับหมุนดินสอไปดวย (รูปที่ 2.7ข))

NWP June 2007 Version 0.5 


Prepaaring Tools &
& Applied Geometry  37

 

(ก) จับหัวไม
ไ ทีใหชนกับขอบโตะดานซาย (ข) เลื่อนมื
น อไปดานขวาโดยกดไมทีใหหแนบ
กับกระดาษ

(ค) จรดปลลายดินสอกับขอบไม
ข ทีโดยเอีอียง (ง) ลากเสนจากซ
น ายไปขววาโดยหมุนดินสอไปด
ส วย
ปลายดิดินสอเขา

รูปที่ 2.6 การลาากเสนตรงในแนวนอนดวยไม


ย ที

(ก) ใชมือซซายกดไมทีและไมสามเหลี่ยม (ข) ลลากเสนดิ่งจากกลางขึ้นบนโดยยหมุน


ใหแนน ดินสอไปดวย

รูปที่ 2.7 กาารลากเสนตรรงในแนวดิ่งดวยไมทีและไไมสามเหลี่ยม

NWP  June 200
07 Ve
ersion 0.5 
38  Fundamental of Engineering Drawing 
 

- การลากเสนเอียง 45° กับแนวระดับ


การลากเสนเอียง 45° สามารถทําไดโดยใชไมสามเหลี่ยม 45-45 วางไวเหนือไมที (ใช
ไมทีเปนระดับอางอิงที่ 0° โดยวางไมทีตามขั้นตอนในรูปที่ 2.6ก) จากนั้นลากเสนไปตามขอบไม
สามเหลี่ยมก็จะไดเสนเอียงตามมุมที่ตองการ โดยการวางไมสามเหลี่ยม 45-45 นี้สามารถวางได
หลายรูปแบบดวยกันดังแสดงในรูปที่ 2.8 และถาตองการลากเสน 45° ขนานกันหลาย ๆ เสนก็
สามารถทําไดโดยเลื่อนไมสามเหลี่ยมไปบนไมทีแลวลากเสนตอไปเรื่อย ๆ ดังแสดงในรูปที่ 2.9

รูปที่ 2.8 การลากเสนเอียง 45° ดวยไมทีและไมสามเหลี่ยม 45-45

รูปที่ 2.9 การลากเสนเอียง 45° ขนานกันหลาย ๆ เสนโดยเลื่อนไมสามเหลี่ยมไปบนไมที

- การลากเสนเอียง 30° กับ 60° กับแนวระดับ


การลากเสนเอียง 30° หรือ 60° กับแนวระดับก็สามารถทําไดเชนเดียวกับการลากเสน
เอียง 45° เพียงแตใชไมสามเหลี่ยม 30-60 เทานั้น และก็สามารถวางไมสามเหลี่ยมไดหลากหลาย
รูปแบบเพื่อลากเสนเอียงในแนวตาง ๆ กันดังแสดงในรูปที่ 2.10

NWP June 2007 Version 0.5 


Preparing Tools & Applied Geometry  39 
 

รูปที่ 2.10 การลากเสนเอียง 30° และ 60° โดยไมทีและไมสามเหลี่ยม 30-60

- การลากเสนเอียง 15° กับ 75° กับแนวระดับ


การลากเสนเอียง 15° และ 75° จะใชไมสามเหลี่ยม 45-45 กับไมสามเหลี่ยม 30-60
รวมกัน การใชไมสามเหลี่ยมทั้งสองในการสรางมุม 15° จะเริ่มจากการวางไมสามเหลี่ยม 30-60 บน
ไมทีดังแสดงในรูป 2.11ก จากนั้นวางดานประกอบมุมฉากของไมสามเหลี่ยม 45-45 ใหประกบกับ
ดานตรงขามมุมฉากของไมสามเหลี่ยม 30-60 ดังแสดงในรูปที่ 2.11ข สุดทายก็จะไดเสนเอียง 15°
ที่ขอบไมสามเหลี่ยม 45-45 ดังแสดงในรูป

45°
45°– 30° = 15°

– 30°

(ก) วางไมสามเหลี่ยม 30-60 บนไมที (ข) วางไมสามเหลี่ยม 45-45 บนไมสามเหลี่ยม


30-60 เพื่อสรางเสนเอียง 15°

รูปที่ 2.11 การลากเสนเอียง 15° โดยใชไมสามเหลี่ยมทั้งสอง

NWP  June 2007  Version 0.5 


40  Fundamental of Engineering Drawing 
 

สวนเสนเอียง 75° ก็จะเริ่มจากวางไมสามเหลี่ยม 30-60 ดังแสดงในรูปที่ 2.12ก ซึ่งขอบของไม


สามเหลี่ยมนี้จะทํามุม 30° กับแนวระดับ จากนั้นวางไมสามเหลี่ยม 45-45 บนไมสามเหลี่ยม 30-60
อีกครั้งทําใหมุมรวมที่เกิดขึ้นคือ 75° ตามตองการ

30°+ 45° = 75°


30°

(ก) วางไมสามเหลี่ยม 30-60 บนไมที (ข) วางไมสามเหลี่ยม 45-45 บนไมสามเหลี่ยม


30-60 เพื่อสรางเสนเอียง 75°

รูปที่ 2.12 การลากเสนเอียง 75° โดยใชไมสามเหลี่ยมทั้งสอง

สําหรับการสรางมุมอื่น ๆ ที่เปนลําดับขั้นของมุม 15° เชนมุม 105° 120° 135° 150°


ฯลฯ ก็สามารถใชขั้นตอนดังที่แสดงมาทั้งหมดนี้มาประยุกตใชรวมกันได ซึ่งจะไมแสดงรายละเอียด
ณ ที่นี้โดยจะเก็บไวใหผูเรียนไดทดลองฝกฝนในแบบฝกหัด

- การลากเสนตรงระหวางจุดสองจุด
วิธีการที่จะแสดงตอไปนี้เปนขอแนะนําเวลาตองการลากเสนตรงเชื่อมระหวางจุดสองจุด
ซึ่งถาผูเรียนพบวาการปฏิบัติตามขอแนะนํานี้ไมสามารถทําไดถนัดก็ไมจําเปนตองปฏิบัติตาม โดย
ผูเรียนสามารถใชวิธีใด ๆ ก็ไดที่คุนเคย ซึ่งสามารถลากเสนเชื่อมระหวางจุดสองจุดไดเรียบรอยก็
ขอใหใชวิธีนั้น ๆ ในการลากเสน
การลากเสนตรงเชื่อมระหวางจุดสองจุดที่จะแนะนํานี้เริ่มจากการวางปลายดินสอจรด
กับจุดเริ่มตนของเสน (สมมติวาเปนจุด A) จากนั้นเลื่อนไมบรรทัดเขาชิดกับปลายดินสอแลวใชปลาย
ดินสอดังกลาวเปนจุดหมุน โดยหมุนไมบรรทัดใหดานที่จะลากเสนผานจุดที่สอง (จุด B) สุดทายให
กดไมบรรทัดใหนิ่งแลวลากเสนจากจุด A ไปยังจุด B ก็จะไดเสนตรงตามตองการ ขั้นตอนตาง ๆ
เหลานี้ไดแสดงไวในรูปที่ 2.13

NWP June 2007 Version 0.5 


Preparing Tools & Applied Geometry  41 
 

A A

B B

(ก) จรดปลายดินสอเขากับจุดเริ่มตน (ข) เลื่อนไมบรรทัดเขาจรดกับปลายดินสอ

A A

B B

(ค) ใชปลายดินสอเปนจุดหมุนแลวหมุนไม (ง) กดไมบรรทัดใหแนนแลวลากเสนเชื่อมตอระหวาง


บรรทัดจนดานที่ตองการผานจุดที่สอง จุดทั้งสอง

รูปที่ 2.13 การลากเสนตรงเชื่อมระหวางจุดสองจุด

2.3 เรขาคณิตประยุกต
หัวขอสุดทายจะเปนการทบทวนความรูเรื่องเรขาคณิต เพราะจําเปนตองนําความรู
ดังกลาวมาประยุกตใ ชในการวาดรูปรางที่ มีความซับซอนของชิ้ นงานวิ ศวกรรม โดยหัว ข อที่ จะ
กลาวถึงมีดังตอไปนี้

- สรางเสนขนานกับเสนที่ใหโดยผานจุดที่กําหนด
- สรางเสนขนานกับเสนที่ใหโดยมีระยะหางตามที่กําหนด
- สรางเสนตั้งฉากกับเสนที่ใหโดยผานจุดที่กําหนด (จุดอยูบนเสน)
o Revolve method
o Adjacent-side method
- สรางเสนตั้งฉากกับเสนที่ใหโดยผานจุดที่กําหนด (จุดอยูนอกเสน)
- สรางเสนทํามุม 15 องศากับเสนที่ใหโดยผานจุดที่กําหนด
- สรางเสนตรงสัมผัสกับวงกลมโดยผานจุดที่อยูบนวงกลม
- สรางเสนตรงสัมผัสกับวงกลมโดยผานจุดที่อยูนอกวงกลม
- สรางสวนโคงสัมผัสกับเสนตรงสองเสนที่ตั้งฉากกัน (สราง fillet & round)

NWP  June 2007  Version 0.5 


42  ngineering Drawing 
Fundamental of En
 

- สรางส
า วนโคงสัมผั
ม สกับเสนตรงสองเสนทีไม
ไ่ ตั้งฉากกัน
- สรางส
า วนโคงสัมผั
ม สดานนอกกกับวงกลมสองวง
- สรางส
า วนโคงสัมผั
ม สดานในกัับวงกลมสองงวง
- สรางส
า วนโคงสัมผั
ม สดานในกัับวงกลมหนึงและสั
ง่ มผัสนอกกั
น บอีกวงกกลมหนึ่ง

สรางเสสนขนานกับเส
เ นที่ใหโดยยผานจุดที่กาหนด
าํ
1. วางไมฉากโดยจั
ฉ ดใหหดานหนึ่งไดรระดับกับเสนทีให

C ฉ กอันวางรรองเปนฐานขของไมฉากอันแรก
2. นําไมฉากอี
+
3. เลื่อนไมมฉากอันแรกไไปบนอันที่สอองจนกระทัง่ ดานที
า ่
ใชจัดระะดับผานจุดทีกํ่ าหนด
4. กดไมฉากอั
ฉ นแรกใหแนนแลวลากเสนขนานผานจุ น ดที่
กําหนดด

C C
+ +

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2

C
+
C
+

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4

NWP June 2007 Version 0.5 


Prepaaring Tools &
& Applied Geometry  43

 

สรางเส
า นขนานนกับเสนที่ใหโดยมีระยะหหางตามที่กําหนด

กําหนดรระยะหาง r 1. ใชวงเวี
ว ยนลากสวนโคงที่มีรัศมีเทากับ r โดยมี
ศูนย น นที่ให (ตําแหนงใดก็ได)
น กลางอยูบนเส
r
2. วางงไมฉากโดยจัจัดใหดานหนึ่งงไดระดับกับเสสนที่ให
3. นําไม
ไ ฉากอีกอันวางรองเปนฐาานของไมฉากกอันแรก
4. เลือนไม
่อ ฉากอันแรกไปบนอั
แ นทที่สองจนกระททัง่ ดานที่
ใชจัจดระดับผานขขอบสวนโคงที่สรางไว
5. กดดไมฉากอันแรกกใหแนนแลวลลากเสนขนานนตาม
ตองการ

ขัั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4

ขั้นตอนที่ 5

NWP  June 200
07 Ve
ersion 0.5 
44  ngineering Drawing 
Fundamental of En
 

สรางเสสนตั้งฉากกับเส
บ นที่ใหโดยผานจุดทีกํก่ าหนด (จุดอยูบนเสน) Revolve M
Method

1. วางไมมฉาก 45-45 โดยจั


โ ดดานตรรงขามมุมฉากกใหได
ระดับกักบเสนที่ให
2. นําไมฉากอี
ฉ กอันวางงรองเปนฐานขของไมฉากอันแรก น
C
+ 3. พลิกไมฉากอันแรกกลับอีกดาน แแลววางกลับไปบน

ไมฉากกอันที่สอง จากนั้นจัดใหดานตรงขามมุมฉาก
ของไมมฉากอันแรกผผานจุดที่กาํ หนนดให
4. กดไมฉากอั
ฉ นแรกใหหแนนแลวลากกเสนตั้งฉากตตาม
ตองกาาร

C C
+ +

ขั้นตออนที่ 1 ขั้นตออนที่ 2

C C
+ +

ขั้นตออนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4

NWP June 2007 Version 0.5 


Prepaaring Tools &
& Applied Geometry  45

 

สรางเส
า นตั้งฉากกกับเสนที่ใหหโดยผานจุดที
ด ่กําหนด (จุดอยูบนเสสน) Adjaceent-side Method

1. วาางไมฉากใดก็ได โดยจัดดานประกอบมุมฉากให
ม ได
ระะดับกับเสนทีให
ใ่
2. นําไมฉากอีกอันวางรองเป
น นฐฐานของไมฉากอั
า นแรก
C
+ 3. เลืลื่อนไมฉากอันแรกไปบนไม
น มฉากที่เปนฐานจนกระทั่ง
ดานประกอบมุมฉากอีกดานนหนึ่งผานจุดทีก่ ําหนด
4. กดไมฉากอันแรรกใหแนนแลววลากเสนตั้งฉากตาม

ตองการ

C C
+ +

ขัั้นตอนที่ 1 ขัข้นตอนที่ 2

C C
+ +

ขัั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนทที่ 4

NWP  June 200
07 Ve
ersion 0.5 
46  ngineering Drawing 
Fundamental of En
 

สรางเสสนตั้งฉากกับเส
บ นที่ใหโดยผานจุดทีกํก่ าหนด (จุดอยูนอกเสน)
น Adjacent-t-side Methood
1. วางไมฉากใดก็
ฉ ได โดยจัดดานประกกอบมุมฉากใหหได
C ระดับกับเส
บ นที่ให
+
2. นําไมฉากอี
า กอันวางรรองเปนฐานขอองไมฉากอันแรก แ
3. เลื่อนไมมฉากอันแรกไปบนไมฉากทีที่เปนฐานจนกกระทั่ง
ดานประะกอบมุมฉากอีกี ดานหนึ่งผผานจุดทีก่ ําหนนด
4. กดไมฉากอัา นแรกใหแนแ นแลวลากเสนตั้งฉากตาม
ตองการร

C C
+ +

ขั้นตออนที่ 1 ขั้นตออนที่ 2

C
+
C
+

ขั้นตออนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4

NWP June 2007 Version 0.5 


Preparing Tools & Applied Geometry  47 
 

สรางเสนทํามุม 15 องศากับเสนที่ใหโดยผานจุดทีก่ ําหนด


1. วางดานตรงขามมุมฉากของไมฉาก 45 ใหไดระดับ
กับเสนที่ให
2. นําไมฉากอีกอันวางรองเปนฐานของไมฉากอันแรก
C
+ จากนั้นเอาไมฉากอันแรกออกแลวลากเสนสีสม
3. นําไมฉาก 45 จัดใหไดระดับกับเสนสีสม
4. วางไมฉาก 30-60 บนไม 45 ตามลักษณะดังรูป
5. ลากเสนสีแดง ซึ่งทํามุม 15 องศากับเสนที่ใหตาม
ตองการ

C C
+ +

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2

C C
+ +

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4

C
+

ขั้นตอนที่ 5

NWP  June 2007  Version 0.5 


48  Fundamental of Engineering Drawing 
 

สรางเสนตรงสัมผัสกับวงกลมโดยผานจุดที่อยูบนวงกลม

1. วางดานประกอบมุมฉากของไมสามเหลี่ยม 45 ใหได
ระดับกับเสนที่ให
2. นําไมฉากอีกอันวางรองเปนฐานของไมฉากอันแรก
3. เลื่อนไมฉาก 45 จนกระทั่งดานประกอบมุมฉากอีก
C
ดานผานจุดศูนยกลางและจุดบนวงกลม
4. ลากเสนสัมผัสกับวงกลมตามตองการ

C C

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2

C C

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4

NWP June 2007 Version 0.5 


Preparing Tools & Applied Geometry  49 
 

สรางเสนตรงสัมผัสกับวงกลมโดยผานจุดที่อยูนอกวงกลม

1. วางดานประกอบมุมฉากของไมสามเหลี่ยมใดก็ได
โดยจัดใหดานนั้นผานจุดที่กาํ หนดและสัมผัสกับ
C วงกลม
2. นําไมฉากอีกอันวางรองเปนฐานของไมฉากอันแรก
3. เลื่อนไมฉากอันแรกจนกระทัง่ ดานประกอบมุมฉาก
อีกดานผานจุดศูนยกลางของวงกลม จากนั้นทํา
เครื่องหมายแสดงจุดสัมผัส (เสนสีสม)
4. ลากเสนสัมผัสจากจุดที่กําหนดไปยังจุดสัมผัสที่ไดใน
ขั้นตอนที่ 3

C
C

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2

C C

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4

NWP  June 2007  Version 0.5 


50  Fundamental of Engineering Drawing 
 

สรางสวนโคงสัมผัสกับเสนตรงสองเสนที่ตั้งฉากกัน (สราง fillet & round)


กอนแสดงวิธีการสรางสวนโคงในหัวขอนี้ จะขออธิบายความหมายของ fillet และ
round กอน พิจารณารูปที่ 2.14 รูปดานซายแสดงวัตถุที่มีขอบเปนมุมแหลม ซึ่งโดยปกติแลววัตถุใน
งานวิศวกรรมจะพยายามหลีกเลี่ยงมุมแหลมแบบนี้เพราะทําการผลิตไดยาก อีกทั้งการมีมุมแหลม
อาจก อ ให เ กิ ด อั น ตรายในขณะใช ง าน และถ า วัต ถุ นั้ น ตอ งรั บ ภาระแรงจากภายนอก ความเค น
(stress) และความเครี ย ด (strain) ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในวั ต ถุ จ ะมี ค า มากในบริ เ วณที่ มี มุ ม แหลมเช น นี้
กอใหเกิดการแตกหักเสียหายได ดังนั้นการผลิตในงานวิศวกรรมจะสรางวัตถุที่มีขอบมุมโคงมนดัง
แสดงในรูปดานขวาของรูปที่ 2.14 ซึ่งถาเปนขอบมุมที่โคงเหมือนขอบโตะจะเรียกวา round และถา
เปนขอบมุมที่โคง ณ บริเวณที่มีลักษณะเปนขอพับจะเรียกวา fillet

Round
ขอบวัตถุมีมมุ แหลม

Fillet
Round

รูปที่ 2.14 ลักษณะขอบมุมที่โคงมนซึ่งเรียกวา fillet และ round

การวาดสวนโคงที่เรียกวา fillet และ round ดังที่แสดงในรูปที่ 2.14 ก็คือการวาดสวนโคง (1 ใน 4)


ใหสัมผัสกับเสนตรงสองเสนที่ตั้งฉากกันดังแสดงในรูปที่ 2.15

รูปที่ 2.15 การวาดสวนโคงสัมผัสกับเสนตรงเพื่อสราง fillet หรือ round

NWP June 2007 Version 0.5 


Prepaaring Tools &
& Applied Geometry  51

 

วิธการสร
กี างสวนโคง (1 ใน 4) ที่มีรัศมีเทากักบ r สัมผัสกับเสนตรงสอองเสนที่ตั้งฉาากกัน
1. ลากเสนขนานกัับเสนตั้งฉากทีที่กําหนดให โดยมี
ระยยะหางจากเสนเดิ น มเทากับ r (เสนสีสม)
2. จุดตัดที่ไดคือจุดศู
ด นยกลางขอองสวนโคงที่ตองการ
อ
และจุดที่เสนสีสมตั
ม ดกับเสนตั้งั ฉากนั้นคือจุดสัมผัส
ขอองสวนโคง
3. กางวงเวียนรัศมี r แลวใชจุดตัดของเสนสีสมเปนจุด
ศูนย
น กลาง ลากสสวนโคงจากจุดดสัมผัสหนึ่งไปปสิ้นสุดที่
จุดสัมผัสอีกอันหนึห ง่
4. สุดท
ด ายลากเสนตรงต ต อออกจาากสวนโคงทั้งสองดานก็
จะไได fillet หรือ round ตามตองการ

จุดศูนยกลาางสวนโคง

จุดสั
ด มผัส 1

จุดสัมมผัส 2
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตออนที่ 2

ขัข้นตอนที่ 3 ขั้นตออนที่ 4

NWP  June 200
07 Ve
ersion 0.5 
52  Fundamental of Engineering Drawing 
 

สรางสวนโคงสัมผัสกับเสนตรงสองเสนที่ไมตั้งฉากกัน
1. ลากเสนขนานกับเสนตรงทั้งสอง ใหมีระยะหางจาก
เสนเดิมเทากับ r (เสนสีสม) จุดตัดที่ไดคือจุด
ศูนยกลางของสวนโคงที่ตองการ
2. ลากเสนตรงเสนเล็ก ๆ ตัดกับเสนที่กําหนดให โดย
เสนดังกลาวตองมีแนวผานจุดศูนยกลางสวนโคงและ
ตั้งฉากกับเสนที่ตองลากตัด
3. กางวงเวียนรัศมี r แลวใชจุดตัดของเสนสีสมเปนจุด
ศูนยกลาง ลากสวนโคงจากจุดสัมผัสหนึ่งไปสิ้นสุดที่
จุดสัมผัสอีกอันหนึง่
4. สุดทายลากเสนตรงตอจากสวนโคงทั้งสองดานก็จะ
ได fillet หรือ round ในอีกรูปแบบหนึง่

r
r
+
+

จุดสัมผัส 1
จุดสัมผัส 2

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4

NWP June 2007 Version 0.5 


Preparing Tools & Applied Geometry  53 
 

เรขาคณิตของวงกลมสัมผัสกัน
กอนจะอธิบายการวาดเสนแบบตอไป ขอทบทวนความรูเรื่องเรขาคณิตเมื่อวงกลมสอง
วงสัมผัสกัน โดยกรณีแรกคือวงกลมสัมผัสกันดานนอกดังแสดงในรูปที่ 2.16 จากรูปจะเห็นวาถา
วงกลมสองวงสัมผัสกันดานนอก ระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของวงกลมทั้งสองจะเทากับรัศมีของ
ทั้งสองวงรวมกัน และจุดสัมผัสของวงกลมก็จะอยูบนเสนที่ลากเชื่อมจุดศูนยกลางของวงกลมทั้งสอง
นั่นเอง สําหรับรูปที่ 2.17 แสดงตัวอยางของรูปรางวัตถุที่เกิดจากวงกลมสัมผัสกับแบบภายนอก

จุดสัมผัส

R1

C1 R2

C2

รูปที่ 2.16 คุณสมบัติของวงกลมสองวงที่สัมผัสกันดานนอก

C
+

+ +
C1 C2

รูปที่ 2.17 ตัวอยางของเสนโคงบนวัตถุที่เกิดจากเสนโคงสัมผัสกันดานนอก

NWP  June 2007  Version 0.5 


54  Fundamental of Engineering Drawing 
 

อีกกรณีของการสัมผัสกันของวงกลมคือกรณีที่วงกลมสัมผัสกันดานในดังแสดงในรูปที่ 2.18 จากรูป


จะเห็นวาในกรณีนี้ระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของวงกลมทั้งสองจะเทากับผลตางของรัศมี และจุด
สัมผัสก็ยังคงอยูบนเสนที่ลากเชื่อมจุดศูนยกลางของทั้งสองวงกลมอีกเชนเดิม ซึ่งตัวอยางของรูปราง
วัตถุที่เกิดจากการสัมผัสกันภายในของวงกลมนี้ไดแสดงไวในรูปที่ 2.19

จุดสัมผัส

R1 R2
C1
C2

รูปที่ 2.18 คุณสมบัติของวงกลมสองวงที่สัมผัสกันดานใน

+ +
C1 C2

C+

รูปที่ 2.19 ตัวอยางของเสนโคงบนวัตถุที่เกิดจากเสนโคงสัมผัสกันดานใน

NWP June 2007 Version 0.5 


Preparing Tools & Applied Geometry  55 
 

สรางสวนโคงสัมผัสดานนอกกับวงกลมสองวง

กําหนดใหสรางสวนโคงรัศมี R สัมผัส
ดานนอกกับวงกลมสองวงที่มีรัศมี R1
R2 และ R2 ตามลําดับ
R1

+ +
C1 C2

R + R2 ขั้นตอนที่ 1
สรางสวนโคงรัศมี R+R1 และ
R + R1 C
R+R2 โดยใชจุด C1 และ C2 เปน
R2 จุดศูนยกลางตามลําดับ ซึ่งจุดตัดที่
R1 ไดคือจุดศูนยกลางของสวนโคงที่
+ + ตองการ (จุด C)
C1 C2

ขั้นตอนที่ 2
ลากเสนตรงเล็ก ๆ แสดงจุดสัมผัส
C
ระหวางสวนโคง ซึ่งจุดดังกลาวจะ
อยูบนเสนตรงที่ลากเชื่อมจุด
ศูนยกลางทั้งสอง
+ +
C1 C2

ขั้นตอนที่ 3
C ใชจุด C เปนจุดศูนยกลางลาก
สวนโคงรัศมี R จากจุดสัมผัสหนึ่ง
ไปยังอีกจุดสัมผัสหนึ่ง จากนั้นลาก
+ สวนโคงทีต่ อออกทั้งสองขาง ก็จะ
+
C1 C2
ไดรูปแบบสวนโคงตามที่ตอ งการ

NWP  June 2007  Version 0.5 


56  Fundamental of Engineering Drawing 
 

สรางสวนโคงสัมผัสดานในกับวงกลมสองวง

กําหนดใหสรางสวนโคงรัศมี R สัมผัส
ดานในกับวงกลมสองวงที่มีรัศมี R1
R2
R1 และ R2 ตามลําดับ
+ +C
C1 2

ขั้นตอนที่ 1
R2 สรางสวนโคงรัศมี R–R1 และ R–R2
R1
+C โดยใชจุด C1 และ C2 เปนจุด
C1
+ 2
ศูนยกลางตามลําดับ ซึ่งจุดตัดที่ได
คือจุดศูนยกลางของสวนโคงที่
R – R1 C R – R2
ตองการ (จุด C)

ขั้นตอนที่ 2
ลากเสนตรงเล็ก ๆ แสดงจุดสัมผัส
+ +C ระหวางสวนโคง ซึ่งจุดดังกลาวจะ
C1 2
อยูบนเสนตรงที่ลากเชื่อมจุด
C ศูนยกลางทั้งสอง

ขั้นตอนที่ 3
ใชจุด C เปนจุดศูนยกลางลาก
สวนโคงรัศมี R จากจุดสัมผัสหนึ่ง
+ +C ไปยังอีกจุดสัมผัสหนึ่ง จากนั้นลาก
C1 2

สวนโคงทีต่ อออกทั้งสองขาง ก็จะ


C ไดรูปแบบสวนโคงตามที่ตอ งการ

NWP June 2007 Version 0.5 


Preparing Tools & Applied Geometry  57 
 

สรางสวนโคงสัมผัสดานในกับวงกลมหนึ่งและสัมผัสนอกกับอีกวงกลมหนึง่

กําหนดใหสรางสวนโคงรัศมี R สัมผัส
R2 ดานในกับวงกลมรัศมี R1 และสัมผัส
R1
C1 + +C2 นอกกับวงกลมรัศมี R2 ตามลําดับ

R2
ขั้นตอนที่ 1
R1
สรางสวนโคงรัศมี R–R1 และ R+R2
C1 + +C2
โดยใชจุด C1 และ C2 เปนจุด
R – R1 ศูนยกลางตามลําดับ ซึ่งจุดตัดที่ไดคือ
จุดศูนยกลางของสวนโคงทีต่ องการ
C R + R2 (จุด C)

ขั้นตอนที่ 2
+C2
ลากเสนตรงเล็ก ๆ แสดงจุดสัมผัส
C1 +
ระหวางสวนโคง ซึ่งจุดดังกลาวจะอยู
บนเสนตรงทีล่ ากเชื่อมจุดศูนยกลาง
ทั้งสอง
C

ขั้นตอนที่ 3
ใชจุด C เปนจุดศูนยกลางลากสวน
C1 + +C2
โคงรัศมี R จากจุดสัมผัสหนึ่งไปยัง
อีกจุดสัมผัสหนึ่ง จากนั้นลากสวน
โคงที่ตอออกทั้งสองขาง ก็จะได
C รูปแบบสวนโคงตามที่ตองการ

NWP  June 2007  Version 0.5 


58  Fundamental of Engineering Drawing 
 

2.4 บทสรุป
บทนี้อธิบายขั้นตอนตาง ๆ ที่ตองปฏิบัติตั้งแตการติดกระดาษลงบนโตะเขียนแบบซึ่ง
ตองจัดใหไดระดับกับไมที เพื่อที่จะไดใชไมทีเปนแนวระดับอางอิง จากนั้นเปนการเตรียมดินสอและ
วงเวียนซึ่งตองเหลาใหปลายแหลมอยูตลอดเวลาที่ใชเขียนแบบ เพื่อเสนที่ออกมานั้นจะไดสวยงาม
และมีความสม่ําเสมอ รวมถึงการใชอุปกรณเขียนแบบเบื้องตน เชน การเขียนวงกลมดวยวงเวียน
การเขียนวงกลมดวยเทมเพลต การใชไมทีในการลากเสนแนวนอน การใชไมทีและไมสามเหลี่ยมใน
การลากเสนดิ่ง การใชไมสามเหลี่ยมทั้งสองในการสรางมุมที่เปนลําดับขั้นของมุม 15 องศา เปนตน
สุดทายคือหัวขอที่เกี่ยวกับเรขาคณิตประยุกต โดยนําเสนอหัวขอหลัก ๆ ที่ใชบอยเทานั้น ผูเรียน
ควรกลับไปทบทวนเรื่องของเรขาคณิตอื่น ๆ ดวยตนเอง เชน การแบงครึ่งมุม การแบงครึ่งเสนตรง
การสรางรูปหลายเหลี่ยมดานเทา เปนตน

ผูเรียนควรฝกฝนหัวขอตาง ๆ ในบทนี้ใหเกิดความชํานาญเพราะสามารถชวยผูเรียนได
เปนอยางมากเวลาทํางานในหองฝกฝนหรือทําขอสอบเนื่องจากเวลาที่มีจํากัด การฝกฝนบอย ๆ จะ
ทําใหเกิดความมั่นใจในการเขียนแบบและสามารถทําไดรวดเร็ว แบบฝกหัดที่ใหในตอนทายของบท
นี้ก็เปนสวนหนึ่งที่สามารถชวยผูเรียนไดมีโอกาสฝกฝนมากยิ่งขึ้น

NWP June 2007 Version 0.5 


Prepaaring Tools &
& Applied Geometry  59

 

แบบฝกหัด

1. จงวาดรู
จ ปดานลางตามขนนาดที่กําหนด (ขนาดมีหนวยมิ
น ลลิเมตรร) และจงหาคความยาว KAA

NWP  June 200
07 Ve
ersion 0.5 
60  Fundamental of Engineering Drawing 
 

2. จงวาดรูปดานลางตามขนาดที่กําหนด

NWP June 2007 Version 0.5 


Preparing Tools & Applied Geometry  61 
 

3. จงวาดรูปดานลางตามขนาดที่กําหนด

NWP  June 2007  Version 0.5 


62  Fundamental of Engineering Drawing 
 

4. จงวาดรูปดานลางตามขนาดที่กําหนด

NWP June 2007 Version 0.5 


Preparing Tools & Applied Geometry  63 
 

5. จงวาดรูปดานลางตามขนาดที่กําหนด

NWP  June 2007  Version 0.5 

You might also like