You are on page 1of 3

Techno logy

รอบรู (ตอนจบ)
เร่องการสอบเทียบมาตรฐาน เคร่องมือวัด
แปลและเรียบเรียงจาก CALIBRATION BOOK ของ VAISALA Oyj. Finland
(ไดรับการอนุญาตจาก VAISALA Oyj. Finland แลว)
แปลและเรยบเรยงโดย สุพจน ตุงคเศรวงศ
ผูอํานวยการฝายเคร่องมือมาตรวทยา
บรษัท เมเชอรโทรนิกซ จํากัด

>> ตัวอยางการประเมินองคประกอบความไมแนนอน
เสถียรภาพระยะยาวของเคร่องมืออางอิงมาตรฐาน

ตัวอางอิงจะตองมีจุดสอบเทียบฯ มาอยางนอย 2 จุด กอนจะ


ทําการประเมินหาเสถียรภาพระยะยาว ตัวอยางเชน ตัวความตานทาน
มาตรฐานถูกสอบเทียบฯ ตามชวงระยะเวลาทุก 6 เดือน การไดคา
ประมาณความไมแนนอนครั้งแรกนั้น จะตองทําการคํานวณคาตอไปนี้
➲ การเปลี่ยนคา (drift) ที่ 6 เดือน จะถูกแปลงเปนการเปลี่ยน
คาที่ 12 เดือน
➲ 5.4 ppm/ ชวงระยะเวลาสอบเทียบ x 1 ป = 10.4 ppm/ป
สิง่ นีเ้ ปนคาความไมแนนอนแบบ B และสามารถถูกแปลงเปนคา
ความไมแนนอนมาตรฐานโดยการหารดวยคารากที่สองของ 3 (คือ 3 )
สูตรคํานวณ 10.4 ppm/ 3 = 6.0 ppm
ในตารางตอไปนี้ คาความไมแนนอนไดถกู คํานวณจากขอมูลการ
วัดจริง (ดูตารางที่ 1)

August-September 2011, Vol.38 No.218 85 <<<

085-087 A_M4.indd 85 18/7/2554 20:57


Techno Production
logy

ตารางที่ 1
สมการ
ระยะเวลา คาเปลี่ยน คาความไม
ครั้งที่ เวลา ระหวางการ ที่พบ คาเปลี่ยน/ แนนอน
สอบเทียบฯ (ป) สอบเทียบฯ (ppm) ป (ppm) (ppm)
(ป)
1 0.0 0.0 เมื่อ α คือ สัมประสิทธิ์อุณหภูมิของตัวความตานทานมาตรฐาน
2 0.5 0.52 5.4 10.4 ± 6.0 อางอิง
3 1.6 1.12 4.2 3.8 ± 2.2 2. ความไมแนนอนเกิดจากความไมแนนอนของสัมประสิทธิ์
4 2.8 1.15 0.8 0.7 ± 0.4
5 3.8 1.02 -1.1 -1.1 ± 0.6
อุณหภูมิของตัวความตานทานมาตรฐาน คาสัมประสิทธิ์ α = 0.75 x
6 4.6 0.75 2.8 3.8 ± 2.2 10-6 Ω ํC-1 ใหมาจากผูผลิต โดยไมมีการประเมินคาความไมแนนอน
7 5.6 1.09 0.2 0.2 ± 0.1 เพือ่ กําหนดความไมแนนอน คาสัมประสิทธิจ์ ะถูกทําการวัด และประเมิน
8 8.2 2.53 0.1 0.1 ± 0.0
9 9.4 1.18 -1.2 -1.0 ± 0.6 ความไมแนนอน การวัดคาสัมประสิทธิ์ พบวาเปน α = 0.82 x 10-6 Ω
10 10.3 0.94 0.6 0.6 ± 0.4 ํC-1+ 0.03 x 10-6 Ω ํC-1
11 12.4 2.12 -0.1 -0.1 ± 0.0
อุณหภูมิที่ทําการสอบเทียบฯ แปรเปลี่ยนจาก 22.4 ถึง 23.7 ํC
12 14.4 2.02 0.4 0.2 ± 0.1
13 16.4 1.95 -0.1 -0.1 ± 0.0 และอุณหภูมิระหวางใชงานอาจแปรเปลี่ยนจาก 19.5 ถึง 20.5 ํC นั่น
14 18.5 2.07 0.5 0.2 ± 0.1 หมายความวา อุณหภูมิแตกตางสูงสุด คือ 4.2 ํC ความไมแนนอนของ
15 21.6 3.08 0.2 0.1 ± 0.0
ความตานทานเนื่องจากความไมแนนอนของสัมประสิทธิ์อุณหภูมิ คือ
บางครัง้ ก็เปนการยากทีจ่ ะระบุวา การแปรเปลีย่ นนี้ เนือ่ งมาจาก 4.2 ํC x 0.03 x 10-6 Ω ํC-1 = 0.13 x 10-6 Ω
ความไมแนนอนของการสอบเทียบฯ หรือเสถียรภาพระยะยาวนาน 3. คาความไมแนนอนที่เกิดจากความไมแนนอนของอุณหภูมิ
หลังจากทําการสอบเทียบฯ หลาย ๆ ครั้ง คาเปลี่ยนในระยะ ระหวางการใชตัวความตานทานมาตรฐานอางอิง คาอุณหภูมิถูกวัดแต
ยาวนาน จะสามารถประมาณไดจากขอมูลการวัด (ดู 7 ขอมูลลาสุดที่ แปรเปลี่ยนเนื่องจากอุณหภูมิหอง (จาก 19.5 ถึง 20.5 ํC) ถูกประเมินวา
ไดในรูปตอไปนี้) ความไมแนนอนของอุณหภูมิวัดเปน ± 0.3 ํC คาความไมแนนอนของ
ความตานทาน เนื่องจากความไมแนนอนของอุณหภูมิ คือ 0.3 ํC x 0.82
x 10-6 Ω ํC-1 = 0.25 x 10-6 Ω

>> ความสัมพันธกนั ระหวางองคประกอบความไมแนนอน


เมื่อทําการประเมินองคประกอบของความไมแนนอน ผูประเมิน
จะตองประเมินดวยวา มันมีความสัมพันธกนั หรือไม ในกรณีทสี่ มั พันธกนั ก็
จะตองนํามาคํานวณโดยการใชองคประกอบทีส่ มั พันธกนั อยางเหมาะสม
ในตั ว อย า งเหล า นี้ องค ป ระกอบความไม แ น น อนทุ ก ตั ว ถู ก
พิจารณาวา ไมมีความสัมพันธระหวางกัน
▲ (รูปที่ 1)

เมื่อสภาพเสถียรแบบนี้เกิดขึ้น ก็ไมมีความจําเปนที่จะตอง >> การรวมองคประกอบความไมแนนอน


ทบทวนการประมาณความไมแนนอนทุกป ตราบใดทีค่ า เปลีย่ นยังคงเล็ก
กวาในการสอบเทียบฯ ใหม วิธีคํานวณดั้งเดิมก็คือ คารากที่สองของผลรวมของคาองค-
ประกอบตาง ๆ ที่ยกกําลังสอง ดังสมการตอไปนี้
>> ความไมแนนอนของตัวมาตรฐานอางอิงทีเ่ กิดจากอุณหภูมิ

มีแหลงกําเนิดความไมแนนอนทีเ่ กิดจากอุณหภูมอิ ยู 3 อยาง คือ คําอธิบาย


1. ณ เวลาทําการสอบเทียบฯ อุณหภูมิของตัวมาตรฐานความ u1…un คือ องคประกอบความไมแนนอนตาง ๆ ที่ประเมินดวย
ตานทานถูกใหมาโดยประมาณที่ ± 0.05 Cํ ความไมแนนอนนี้ ไมไดถกู รวม วิธี A หรือ B
ในความไมแนนอนของการสอบเทียบฯ ดังนั้นความไมแนนอน เนื่องจาก u คือ คารวมของความไมแนนอนที่บอกดวยระดับความมั่นใจ
อุณหภูมิที่ทําการสอบเทียบฯ คือ 68 เปอรเซ็นต (k=1)

>>> 86 August-September 2011, Vol.38 No.218

085-087 A_M4.indd 86 18/7/2554 20:57


Production Techno
logy

>> รูปแบบของการวัด (measurement model) ตารางงบประมาณความไมแนนอน (uncertainty budget)

การคํานวณความไมแนนอนสมัยใหมจะตั้งบนพื้นฐานรูปแบบ
ของการวัดที่ซึ่งองคประกอบความไมแนนอนทั้งหมดจะแสดงดวยคา
แกไข (correction) ความไมแนนอนของคาแกไขเหลานี้ จะถูกคูณดวย
คาสัมประสิทธิ์ความไวที่เหมาะสม กอนจะทําการคํานวณคารากที่สอง
ของผลรวมของคายกกําลังสองขององคประกอบตาง ๆ สมการจะเปนดังนี้
t คาแกไข = (tมาตรฐาน + δtมาตรฐาน) – (tคาอาน + δtคาอาน)
โดย δtมาตรฐาน และ δtคาอาน คือ คาแกไข
หลังคาแกไขทั้งหมดถูกประเมินความไมแนนอนแลว จะถูก
คํานวณโดยการใชงบประมาณความไมแนนอน
โดยที่
>> งบประมาณความไมแนนอน (uncertainty budget) 1 = ปริมาณที่วัด 2 = คาประเมิน
3 = คาความไมแนนอนมาตรฐาน 4 = ความเปนไปไดของการกระจายคา
5 = สัมประสิทธิ์ความไว 6 = คาความไมแนนอนที่เกิด
ตัวอยางรูปแบบการวัดที่ใชในการสอบเทียบฯ อุณหภูมิ คือ Normal = ปกติ Rectangular = สี่เหลี่ยม
สมการ Special = พิเศษ Combined = รวมคา
Expand = คาขยายความไมแนนอน
>> คาขยายความไมแนนอน (expanded uncertainty)

คาความไมแนนอนรวม (u) ถูกคูณดวยคาองคประกอบ


หลังจากองคประกอบความไมแนนอนทุกตัว ถูกประเมินแลวก็จะ ครอบคลุม (k) เพื่อใหไดคาขยายความไมแนนอน (U)
จัดทํางบประมาณความไมแนนอนตอไป คาองคประกอบครอบคลุม k = 2 หมายความวา ระดับ
การกระจายตัวปกติ หมายถึง ความไมแนนอนแบบ A และแบบ ความมั่นใจของคาขยายความไมแนนอน เปนประมาณ 95
สี่เหลี่ยม หมายถึง ความไมแนนอนแบบ B เปอรเซ็นต คาขยายความไมแนนอนจะถูกใหพรอมกับคาผลการ
ตัวอยางสมการตอไป วัด และคาองคประกอบครอบคลุม k
ตัวอยางเชน 75.5%RH+2.0%RH,(k=2)
โดย
Rcal = คาที่ไดจากการสอบเทียบ >> การแสดงคาความไมแนนอน
δRcal.t = คาแกไข เนือ่ งจากความไมแนนอนทางอุณหภูมใิ นการ
สอบเทียบ จะไม มี ก ารป ด เศษเป น เลขกลม ๆ ในการคํ า นวณ
δRstab = คาแกไข เนื่องจากความเสถียรของตัวความตานทาน ระดับยอย ปกติจะบอกคาความไมแนนอนดวยเลขนัยสําคัญ 2
มาตรฐาน ตําแหนงหลังจุดทศนิยม เชน รายงานวา
δRα = คาแกไข เนื่องจากความไมแนนอนของสัมประสิทธิ์ 1000.22hPa ± 0.15hPa แทนที่ จ ะรายงานว า
อุณหภูมิ 1000.22hPa ± 0.15127hPa
δRt = คาแกไข เนือ่ งจากความไมแนนอนของอุณหภูมขิ องตัว คาความไมแนนอนขยาย อาจมีการปดเศษลงเปนเลข
ความตานทานมาตรฐาน กลม ๆ ถาจํานวนที่จะปดนั้น นอยกวา 5 เปอรเซ็นต ของคา
สมการตอไป ความไมแนนอน คาอื่น ๆ ควรจะถูกปดขึ้นเปนเลขกลม ๆ เชน
δRt = (tcal-t). α ± 0.106hPa ควรปดเศษเปน ± 0.2hPa แทนที่จะเปน ± 0.1hPa
โดยที่ tcal = อุณหภูมิระหวางทําการสอบเทียบ นั่นเปนเพราะ 5 เปอรเซ็นต ของ 0.106hPa คือ 0.0053hPa และ
tcal = 23.45 ํC ถาปดเศษเปน ± 0.1hPa สวนที่ปดทิ้ง 0.006>0.0053hPa Techno logy

t = อุณหภูมิที่วัดได tcal = 20.28 ํC


α = สัมประสิทธิ์อุณหภูมิของตัวความตานทานมาตรฐาน อางอิงหนังสือ: CALIBRTION BOOK ของ VAISALA Oyi.
(a= 0.82 x 10-6W. ํC-1) Finland, April 2006

August-September 2011, Vol.38 No.218 87 <<<

085-087 A_M4.indd 87 18/7/2554 20:57

You might also like