You are on page 1of 29

คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008

ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008


___________________________________________________________________________

เอกสารฉบับนี้ รวบรวมคูมือในการปฏิบัติการตรวจวัดเฉพาะอยาง อันเปนหลักการปฏิบัติและสิ่งที่ตองปฏิบัติตามมาตรฐานที่กําหนดไวบนเรือ


บรรทุกน้ํามันซึ่งเปนบริการของเอ็กซอนโมบิล (ExxonMobil) คูมือจะรวมถึงขั้นตอนการปฏิบัติที่มีใชอยูลาสุดในปจจุบัน สําหรับการตรวจวัด
จํานวนสินคาและเพื่อใหสอดคลองกับขอกําหนดของคูมือการปฏิบัติการควบคุมสินคาของเอ็กซอนโมบิล สวนในวัตถุประสงคของการตรวจ
บัญชี โปรดอางถึง HCP ในสวนที่ 3.47 เพื่อขอทราบแนวทางปฏิบัติตอไป

คูมือตรวจวัดสินคา
น้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือของเอ็กซอนโมบิล
(ExxonMobil Marine Fuels Product Measurement Guidelines)

สงวนสิทธิ์ไมรับผิดชอบในความผิดพลาดและผลในการนําไปปฏิบัติ (D I S C L A I M E R)
คูมือฉบับนี้ ขอเสนอคําแนะนําซึ่งพัฒนาจากขอมูลที่ดีที่สุดเทาที่มีอยูในปจจุบัน ความมุงหมายของการใหคําแนะนํา ก็เพื่อเพียงใหใชเปนแนวทาง
เทานั้น บริษัท ExxonMobil Marine จํากัด บริษัทในเครือและบริษัทแม ผูมีสวนเกี่ยวของในการรวบรวมหรือจัดพิมพหนังสือคูมือฉบับนี้ จะไมรับ
ผิดชอบในความผิดพลาดของขอมูลหรือคําแนะนําที่ใหไว ณ ที่นี้ หรือตอการละเวนไมกลาวถึงบางสิ่ง ณ ที่นี้ หรือตอผลที่ติดตามมา ไมวาสิ่งนั้น
จะกอใหเกิดผลโดยตรงหรือโดยออมจากการปฏิบัติตาม หรือจากการนําขอที่ระบุในคูมือฉบับนี้ไปปฏิบัติ

แกไขครั้งที่ 6: มกราคม 2008


หมายเหตุ:ไฮไลทสีเหลืองจะเปนขอความที่ไดรับการแกไข
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

สารบัญ
บทที่ 1 - บทนํา
1.1 บทนํา
1.2 วัตถุประสงค
1.3 ระบบที่ปรับปรุงใหม ในการตรวจวัดจํานวนสินคา 4 จุด
1.4 ความรับผิดชอบ
1.5 การเก็บรักษาเอกสาร
บทที่ 2 - ขั้นตอนการตรวจวัด
2.1 บทนํา
2.2 บททั่วไป
2.3 ณ ทาสูบถายสินคา 2.3.1 – กอนการสูบถายสินคา
2.3.2 – ระหวางการสูบถายสินคา
2.3.3 – หลังการสูบถายสินคา
2.4 การถายน้ํามัน (Transfers) ในระหวางเที่ยวบรรทุกน้ํามัน (loaded voyage)
2.5 ณ เรือของลูกคาหรือทาสูบสงสินคาออกจากเรือ (discharge terminal)
2.5.1 – กอนการสงสินคา
2.5.2 – หลังจากการสงสินคา
บทที่ 3 - สิ่งที่ตองทําในการตรวจวัดจํานวนสินคาแตละขั้น
3.1 บทนํา
3.2 อัลเลจ (Ullages) หรืออินเนช (Innages)
3.3 อุณหภูมิ
3.4 น้ํา
3.5 ตัวอยางสินคา
3.6 ความหนาแนน
3.7 การคํานวณสินคา
3.8 การนําคาเปรียบเทียบ (Reconciliation)
3.9 Vessel Experience Factor (VEF)
บทที่ 4 - วิธีปฏิบัติเมื่อน้ํามันขาดจํานวน
4.1 บทนํา
4.2 การนําคาเปรียบเทียบ
4.3 จดหมายประทวง
4.4 Vessel Experience Factor
4.5 การบันทึกน้ํามันขาดจํานวนและการรายงาน
4.6 การคํานวณทางอิเลคทรอนิค/คอมพิวเตอร
บทที่ 5 - อุปกรณการตรวจวัด
5.1 อุปกรณการวัดแบบติดตั้งอยูกับที่ (Fixed)
5.2 อุปกรณการวัดแบบเคลื่อนยาย (Portable)
5.3 ตารางคํานวณตามขอกําหนด
5.4 มาตรวัด
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

บทที่ 6 - ขอแนะนําในการตรวจวัด
6.1 การคํานวณสินคา - 6.1.1 ตารางการคํานวณสินคาในถัง (Tank Calibration Tables)
- 6.1.2 ปริมาตรสินคารูป "Wedge"
- 6.1.3 ASTM - IP ตารางคํานวณการวัดน้ํามันปโตรเลียมและ
ปจจัยแกไขปริมาตร (Volume Correction Factors)
6.2 การระวังความปลอดภัย

บทที่ 7 - ภาคผนวก
7.1 Reference Heights
7.2 ที่มาของสูตร Wedge Formula
7.3 จํานวนทอทาง
7.4 อุปกรณการตรวจวัดสินคา - การตรวจสอบและบันทึก
7.5 เครื่องวัดถังแบบอัตโนมัติ (ATG)
7.6 การประทวง
7.7 ขั้นตอนการคํานวณ Vessel Experience Factor
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

บทที่ 1 - บทนํา
1.1 บทนํา
สิ่งที่ผูจัดสงสินคา เจาของเรือขนสงน้ํามัน และลูกคา เปนหวงอยางยิ่งก็คือเรื่องสินคาขาดจํานวน ดังนั้น
การมีเอกสารที่ถูกตอง การตรวจวัดจํานวนสินคา และขั้นตอนการเก็บตัวอยาง จึงเปนสิ่งสําคัญที่จะ
พิสูจนใหเห็นวามีสินคาขาดจํานวนเกิดขึ้นที่ใด หลายครั้งที่การแกไขปญหาทําไดดวยการตกลงกัน แต
บางครั้งการเรียกคาเสียหายจะไปลงเอยกันที่ศาลหรือไมก็ที่อนุญาโตตุลาการ
วัตถุประสงคของคูมือฉบับนี้ ก็เพื่อใหแนใจวามีการตรวจวัดจํานวนน้ํามันอยางแมนยํา ในระหวางการ
ขนถายน้ํามันทั้งหมด ไมวาจะขนถายเขาและออกจากพื้นที่ปฏิบัติการของน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการ
เดินเรือ
เพื่อวัตถุประสงคของเอกสารชุดนี้ ทุกครั้งที่มีการใชคําวา “เรือ (vessel)” หรือ “เรือบรรทุกน้ํามัน
(tanker)” หรือ “เรือ (ship)” จะหมายความถึงเรือดังตอไปนี้: เรือบรรทุกน้ํามัน (Oil tanker) เรือขนสง
น้ํามัน (Tank barge) หรือเรือในลักษณะของถังบรรจุน้ํามันขนาดใหญ (tank vessel) ใชขนสงน้ํามันเชื้อ
เพลิงสําหรับการเดินเรือเปนจํานวนมากใหกับลูกคาผูรับปลายทาง
เรือทุกลํา เปนที่คาดวาจะไดรับการติดตั้งอุปกรณอยางถูกตองและจัดใหมีตารางการคํานวณ (calibration
tables) อันเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งในการตรวจวัดจํานวนสินคาในเรืออยางแมนยํา และแสดงใหเห็นวา
อุปกรณดังกลาวไดรับการดูแลรักษาใหอยูในสภาพใชงานไดอยางเต็มที่
1.2 วัตถุประสงค
วัตถุประสงคของคูมือฉบับนี้
คูมือฉบับนี้ จะอธิบายถึงขั้นตอนการปฏิบัติ เพื่อใหมั่นใจวามีการปฏิบัติอยางถูกตอง คุมคากับการลง
ทุน และมีการตรวจวัดจํานวนเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือในเรือบรรทุกน้ํามันไดอยางแมนยํา เปน
บริการขนสงเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือดวยเรือบรรทุกน้ํามัน
วัตถุประสงคของคูมือ:
• เพื่อใหบุคลากรคุนเคยกับการตรวจวัดสินคา พรอมกับงานดานที่ตองเอาใจใสเปนพิเศษ
• เพื่อสรางมาตรฐานใหกับขั้นตอนการตรวจวัดสินคาและวิธีการคํานวณ
เทคนิคการตรวจวัดที่กลาวในคูมือฉบับนี้ จัดใหใชเปนแนวทางในการตรวจวัด เทคนิคหลายอยางที่
กลาวถึงเปนวิวัฒนาการใหมและตอไปภายหนาจะตองการมีการทบทวนใหม เมื่อมีความรู
ประสบการณและเทคโนโลยีใหมเกิดขึ้น
ในสถานการณปกติ การถายจํานวนของสินคาจะถือหลักการตรวจวัดของบก โดยการใชมาตรวัดหรือ
มิเตอรคํานวณ (calibrated meter) หรือวัดดวยการหยอนเครื่องวัดลงในถังบก (shore tank dipping) เปน
หลัก ในกรณีการใชเรือขนสงน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือเปนจํานวนมาก การตรวจวัดของเรือ จํา
เปนตองยึดถือหลัก ณ จุดสงสินคาใหลูกคา การถายสินคาจะลงตัวได ดูไดจากการเปรียบเทียบจํานวน
ตัวเลขระหวางถังบกและเรือรับสินคา ณ แตละจุดปฏิบัติการ สิ่งที่สําคัญคือวิธีการที่นํามาใชตองเหมือน
กันและขั้นตอนการคํานวณจํานวนของสินคาจะตองสอดคลองกัน
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

คูมือควบคุมการเคลื่อนไหวทางทะเลของเอ็กซอนโมบิล ไฮโครคารบอน (ExxonMobils Hydrocarbon


Control Practice Manual Marine Movements) บทที่ 3.04 เนนความสําคัญสี่จุด (Four Point): เปนขอ
กําหนดการตรวจวัดสี่จุด A-B-C-D ของการขนสงน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ วิธีนี้ในทางปฏิบัติ
จะใชไมไดผลสําหรับปฏิบัติการของน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ เนื่องจากวา การวัดที่จุด D ปกติ
จะใชรายละเอียดหรือใชเมื่อลูกคายื่นประทวงกรณีไดรับสินคาไมครบจํานวน อีกประการหนึ่งคือฝาย
Marine Fuels ไมมีอํานาจควบคุมหรือไมสามารถเขาถึง เพื่อยืนยันความแนนอนของจํานวนน้ํามันจาก
ตารางอัลเลจของถังน้ํามัน (tank ullage tables) ที่ไดจากการวัดจากจุด D หลักการควบคุม
ไฮโดรคารบอน ระบุวาการสงสินคาใหถึงมือลูกคาผูรับปลายทางนั้น การรองเรียนของลูกคาจะเปนตัว
ตรวจสอบขั้นสุดทายของการสงสินคา ดวยเหตุนี้ ปฏิบัติการน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ จึงนํา
กรรมวิธีที่แกไขใหมมาใช ซึ่งจะกลาวถึงขั้นตอนการตรวจวัดเปนลําดับขึ้นไปจนถึงจุด C
ขอกําหนดของคูมือฉบับนี้ แตกตางไปจากบทที่วาดวยความเคลื่อนไหวทางทะเล และขอกําหนดอื่น
ของการตรวจวัดสินคาทางบกของ HCP ในฉบับนี้มีการนําสิ่งที่แตกตางไปมาใชวิเคราะห ความเสี่ยง
ตาง ๆ ในกระบวนการ เพื่อรับรองวาเปนการแนะนําที่ถูกตองในเรื่องการควบคุมจํานวนสินคา
คูมือฉบับนี้ เนนในเรื่องการตรวจวัดสินคาดวยมือและการใชเครื่องมือที่มีใชอยูแลวในอุตสาหกรรม
ขณะนี้ การตรวจวัดดวยมือ เปนการแนะนําถึงวิธีการหยอนอุปกรณหรือเครื่องมือตาง ๆ ลงในถังสินคา
เพื่อวัตถุประสงคในการวัด อัลเลจ (ullages) อินเนช (innages) อุณหภูมิ ตักตัวอยาง ฯลฯ การตรวจวัด
เหลานี้ ตองการความใสใจและระมัดระวังอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได ขั้นตอนที่จะตองปฏิบัติงานอยาง
ปลอดภัยไดระบุไวใน ICS/OCIMF/IAPHA ซึ่งจัดพิมพรวมกับ "คูมือในการรักษาความปลอดภัย
ระหวางชาติสําหรับเรือบรรทุกน้ํามันและทาเทียบ (International Safety Guide for Oil Tankers and
Terminals)" (ISGOTT) และควรใชเพื่อการอางอิงอยางบอยครั้ง
1.3 ภาพที่ 1: ระบบที่ปรับปรุงใหมในการตรวจวัดจํานวนสินคาสี่จุด:

A B C D
จํานวนสินคา
จํานวนสินคาที่ จํานวนสงสินคาที่ จํานวนสินคา
จากบก
เรือขนสง เรือขนสง ที่ลูกคารับ

ความรับผิดชอบของ ความรับผิดชอบของ
EMMF ตออัลเลจ ลูกคา
ทาขนสินคา BU (Ullage)ในถังน้ํามัน
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

1.4 ความรับผิดชอบ
1.4.1 นายเรือประจําเรือขนสง (BARGE MASTER)
นายเรือประจําเรือขนสง รับผิดชอบตอการตรวจวัดจํานวนที่แนนอนของน้ํามันบนเรือ และตอการนํา
สงสินคาเต็มจํานวน/จํานวนตามสั่ง (full/parcel cargo loaded) ตามบันทึกในใบตราสงสินคา (Bill of
Lading) และ/หรือ ตามใบสงสินคาของเรือ (Bunker Delivery Note - BDN)
1.4.2 ทาสูบถายสินคา (LOADING TERMINAL)
ทาสูบถายสินคา รับผิดชอบตอการ:
1) - ดูแลสภาพความปลอดภัยของเรือ/บก ในระหวางที่กําลังมีการตรวจวัดและการเก็บตัวอยางอยูบน
เรือ ในขณะที่เรือกําลังจอดเทียบทา และ
2) -ใชวิธีการที่ดีที่สุดที่มีอยูของบกในการตรวจวัดและรายงานขอมูลของใบตราสงสินคาทางเรือ
(Bill of Lading) ทันทีตอเรือขนสงสินคา/เรือ
1.4.3 ลูกคา/เรือรับสินคา (CUSTOMER/RECEIVING VESSEL)
เรือรับสินคา มีความรับผิดชอบตอการ:
1) -ลงนามเปนพยานใหกับเจาพนักงานในเรือสินคา ตรวจวัดจํานวนและเก็บตัวอยางบนเรือ กอน
การสงสินคา ระหวางและหลังจากการสงสินคา (discharge) ออกจากเรือ เพื่อเปนการยืนยัน
จํานวนสินคาที่ไดรับ
2) -วัดจํานวนน้ํามันจากถังรับ เพื่อยืนยันจํานวนสินคาที่ตนไดรับ
1.4.4 ผูตรวจสินคาอิสระ (INDEPENDENT CARGO INSPECTOR) (ถาใช)
ผูตรวจสินคาอิสระมีความรับผิดชอบตอหัวหนา ในการ:
1) - มีความรอบรูเปนอยางดีถึงวิธีการปฏิบัติ เพื่อตรวจวัดจํานวนและเก็บตัวอยางสินคา และจะ
ตองทราบถึงหลักการปฏิบัติของทองถิ่นและขั้นตอนความปลอดภัยบนเรือขนสงสินคา/เรือ
และบก และถือปฏิบัติตลอดเวลา
2) - ตรวจวัด/เก็บตัวอยาง ทั้งบนเรือสินคาและบนบก รวมกับพนักงานของเรือขนสงและบก
3) - รายงานและแกไขขอขัดแยงถาเปนไปได ตรวจวัดขอขัดแยงและวิธีการที่ไมถูกตองของเรือ
และบก
4) - รวมเปนพยานหรือวิเคราะหตัวอยางสินคา เมื่อมีหนาที่จะตองปฏิบัติ
การตรวจวัดที่กระทําโดยผูตรวจสินคา ควรกระทําโดยตลอดจนเสร็จสิ้นโดยใชอุปกรณการวัดที่ตั้งคา
แลวของตนเอง เพื่อเปนการรับรองวาเปนการวัดอยางเอกเทศอยางแทจริง หรือมิฉะนั้นถาผูตรวจสินคา
ใชอุปกรณการวัดที่เปนของเรือ ผูตรวจสินคาจะตองยืนยันความแมนยําของอุปกรณการวัดนั้นเสียกอน
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

ในกรณีที่ผูตรวจสินคาไมใชอุปกรณการวัดของตนเองหรือไมยืนยันความแมนยําของอุปกรณการวัดที่
เปนของเรือกอนใชวัด ใหผูดําเนินการเดินเรือรองทุกขประทวง หรือติดตอฝายบริหารสวนทองถิ่นของ
ฝายน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือของ ExxonMobil

ผูตรวจสินคาอิสระ อาจถูกแตงตั้งโดย ผูขาย ผูเชาเรือ เจาของเรือขนสง/เรือ ลูกคา หรือแตงตั้งรวมกัน


1.5 การเก็บรักษาเอกสาร
เอกสารทั้งหมดที่เกี่ยวของกับการวัดสินคา จะตองเก็บรักษาไวเปนเวลา x ป

ไมวาในกรณีใด ผูดําเนินการเดินเรือจะตองเก็บรักษาเอกสาร PMG ไวอยางต่ําเปนเวลา 12 เดือน


คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

บทที่ 2 - ขั้นตอนการตรวจวัด
2.1 บทนํา
เพื่อใหทราบถึงจํานวนและคุณภาพของสินคาที่สูบถายลงในเรือและสงสินคา (discharged) ออกจากเรือในเวลา
ตอมานั้น จําเปนที่จะตองมีการตรวจวัดและคํานวณจํานวนและลักษณะของสินคาน้ํามันทุกชนิดบนเรือเสียกอน
ทั้งนี้รวมถึงสินคาในทอทาง ถังสินคา ถังสลอป (slop) และถังน้ํามันบนเรือในเวลาตาง ๆ กันในเที่ยวเดินทาง
ของเรือ
ขอปฏิบัติในการตรวจวัดจํานวน ณ จุดปฏิบัติการตาง ๆ :
• ณ ทาสูบถาย (กอน ระหวางและหลังจากการสูบถายสินคาลงเรือ)
• ระหวางเรืออยูในทะเล / กอนการสงสินคา (delivery)
• ณ เรือของลูกคา (กอนและหลัง การสงสินคา)
การตรวจเรือและการตรวจวัดที่จะสงผลถึงจํานวนสินคาที่จะทําการถาย จะตองกระทํารวมกับบุคลากรของเรือ
และทา และผูตรวจอิสระ ถา/เมื่อไดรับมอบหมาย การตรวจวัดทุกอยางจะตองระมัดระวังในเรื่องความปลอดภัย
เปนพิเศษเสมอ โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับผูที่เกี่ยวของในหนาที่หยอนสายวัดเทปและเครื่องมือตาง ๆ ลงสูถัง
สินคาซึ่งมีไอระเหยของกาซไฮโดรคารบอน (hydrocarbon vapours) (ดูบทที่ 4.4)
คูมือนี้ แนะนําใหใชวิธีการตรวจจํานวนสินคาดวยมือ เพื่อกําหนดจํานวนปริมาตรสินคา อยางไรก็ตาม เปนที่
ยอมรับวาเรือรุนใหมบางลําติดตั้งดวยระบบวัดสินคาแบบอัตโนมัติ วิธีใชไวระบุไวในบทที่ 5 การตรวจวัดดวย
มือตองมีการเปดฝาชองวัดที่วางในถังน้ํามัน (ullage hatches) ยกเวนวามีการติดตั้งระบบลิ้นล็อคไอระเหย
2.2 บททั่วไป
2.2.1. ความปลอดภัยในการวัดอัลเลจและการใชเครื่องวัด (ULLAGING & GAUGING SAFETY)
1/ หลังจากที่ไดสูบถายสินคาลงเรือแลว ทิ้งเวลาไว 30 นาที เพื่อใหสินคาในแตละถังอยูตัวเสียกอน กอนที่จะทํา
การตรวจวัด เพื่อเปนการหลีกเลี่ยงอันตรายจากประจุไฟฟาสถิตถาปฏิบัติได และปลอยใหฟองอากาศผุดตัวกอน
ในกรณีที่น้ํามันเชื้อเพลิงถูกสูบผานทอที่มีน้ํามันเต็มและไมมีการใชเครื่องเปาอากาศเขาเพื่อเคลียรทอสูบหรือ
สายโยงยางลงในเรือ/รถบรรทุก การรอเวลาใหน้ํามันอยูตัวจึงไมจําเปน ในกรณีที่ถังน้ํามันมีการติดตั้งดวยตุมวัด
หยั่งความลึกสุดความยาวชนิดปด (sounding pipes) การรอใหน้ํามันอยูตัวอาจไมตองทํา คูมือ ISGOTT บทที่
11.8.2.3
2/ ฝาถังหรือชองวัดระดับ (ullage port) ควรเปดนานเทาที่จําเปนเทานั้นในขณะตรวจวัดจํานวน ตักตัวอยางและ
ถาเปนไปได สําหรับตรวจดูถังดวยสายตา
3/ ควรเปดตรวจทีละถังเทานั้น การทํางานตองจํากัดเวลาใหนอยที่สุด แตตองใหนานพอที่จะมั่นใจวาจะทํางาน
ไดอยางปลอดภัยและไดรับผลเปนที่ยอมรับ
4/ ผูที่ทํางานอยูบริเวณใกลเคียงกับฝาถัง จะตองหาวิธีปองกันตนใหพนจากภัยของกาซพิษ หรือกาซเฉื่อยภาย
ในถังซึ่งอาจทําใหสลบ ถาเรือติดตั้งดวยระบบ IG และจะตองปดฝาถังทันทีหลังจากเสร็จภารกิจ
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

หมายเหตุ : ขอมูลความปลอดภัยนี้ ไมไดมีเจตนาที่จะนํามาใชแทนที่ขอบังคับตามกฎหมายของทองถิ่นซึ่งถือ


หลักปฏิบัติตาม ADNR, ISGOTT หรือคําแนะนําอื่นที่แนะใหปฏิบัติตาม
2.3 ณ ทาสูบถายสินคา (จุดที่ 1&2: การวัดจํานวนที่ "A" และ "B")
2.3.1 กอนการสูบถายสินคา
• ตรวจสอบถังทุกถัง รวมทั้งถังที่ไมไดกําหนดใหใสสินคา ชองคอฟเฟอรแดมที่กั้นระหวางถัง
(cofferdams) และถังสองชั้น (double bottoms) เพื่อตรวจหาของเหลวที่อาจปรากฏอยูตามที่ตาง ๆ (เรือ
ขนสงน้ํามันบางลําเทานั้นที่สามารถตรวจวัดที่วางในถังอับเฉา (ballast tank) ไดโดยไมตองถอดสลักฝา
แมนโฮลออก ในกรณีนี้ ใหยกเวนไมตองตรวจวัดได) ของเหลวทุกชนิดที่ตรวจพบจะตองวัดจํานวน
และลงบันทึก (ถาเปนไปไดใหแยกบันทึกจํานวนน้ํามันและน้ํา)
• ลงบันทึกอัตราการกินน้ําลึกของเรือ ทริมเรือและอัตราการเอียงของเรือ (list) ในที่มีการใชตารางทริม
เรือและอัตราการเอียงของเรือ
• ตรวจเช็คทอทางที่มีอยู วาน้ํามันถูกถายออกจากทอ (drained) หมดแลว
• ตรวจสอบถังสินคาวาตองแหงและสะอาด ถาปรากฏวามีจํานวน OBQ1 คางในถังบนเรือ ตองตรวจวัด
จํานวนและลงบันทึก (แยกบันทึกจํานวนของน้ํามันและน้ํา ถามีตะกอนจะตองนําสารตกตะกอนไป
วิเคราะห และระบุจํานวนตะกอน) ถามีการตรวจวัด OBQ จะตองใชเครื่องมืออยางเดียวกันตรวจวัด
เครื่องหมายบอกระดับความสูง (reference heights) และลงบันทึก
• ใหทําเครื่องหมายบอกระดับความสูง (reference heights) ในแตละถัง reference heights จะตองมีการ
ตรวจเช็คและลงบันทึกทุกเดือนในสมุดปูมบันทึกตรวจวัด (log) จะตองตรวจเช็ค reference heights
กอนเรือจะสูบถายสินคาเขาเรือ หลังจากจอดที่อูแหง (dry-dock) เรือติดตื้น เรือชน หรือเรือเกิดการ
ปะทะ ซึ่งอาจสงผลกระทบถึงโครงสรางของเรือขนสงน้ํามัน ถา reference heights มีการเปลี่ยนแปลง
ไปจากคาในตาราง จะตองนําคาใหมไปใชกับคาในตารางคํานวณของสินคา (ควรทําเครื่องหมายบอก
ระดับ reference heights ที่ฝาถังใกลเคียงกับตําแหนงที่จะหยอนเครื่องตรวจวัดจํานวนลงในถัง)
• หาจํานวนและบันทึกจํานวนน้ํามันที่ตกตะกอนและน้ําในถังสลอป (slop tanks) ถามี
OBQ = จํานวนบนเรือ

2.3.2 ระหวางการสูบถายสินคา
• คอยเช็คระดับถังใสสินคา ฯลฯ
• คอยเช็คถังอับเฉา (ballast tanks) ที่แยกจากกัน เพื่อตรวจหาการรั่วไหลของน้ํามัน/สินคา
2.3.3 หลังการสูบถายสินคา
• ปลอยเวลาทิ้งไว 30 นาทีเพื่อใหสินคาอยูตัวในแตละถัง กอนที่จะทําการตรวจวัด ทําการตรวจวัดแตละ
ถังตามลําดับของการบรรจุสินคาลงในถัง การตรวจวัดสามารถกระทําเสร็จสิ้นภายใน 30 นาทีของการ
บรรจุสินคาเสร็จแลว ทั้งนี้ เพื่อปลอยใหฟองอากาศผุดออก
ในกรณีที่ถังน้ํามัน มีการติดตั้งดวยตุมวัดหยั่งความลึกสุดความยาวชนิดปด การรอใหน้ํามันอยูตัวอาจ
ไมตองทํา คูมือ ISGOTT บทที่ 11.8.2.3
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

• หาขอมูลและจดบันทึกอัตราการกินน้ําลึกของเรือ ทริมเรือและอัตราการเอียงของเรือ ในที่มีการใช


ตารางทริมเรือและอัตราการเอียงเรือ
• ถายทอยางหรือสายโยงยางทอสินคา (loading arms) และทอบนระวาง เพื่อใหน้ํามันกลับคืนลงสูถัง
• ตรวจสอบถังอับเฉาที่แยกกัน คอฟเฟอรแดมและถังสองชั้น (double bottoms) วา มีน้ํามัน/สินคา/ของ
เหลวปรากฏอยูหรือไม ถาตรวจพบน้ํามัน/สินคา/ของเหลว ปรากฏอยู ใหวัดจํานวนน้ํามัน/สินคาและลง
บันทึกจํานวน(เรือขนสงน้ํามันบางลําเทานั้นที่สามารถตรวจวัดที่วางในถังอับเฉาไดโดยไมตองถอด
สลักฝาแมนโฮลออก ในกรณีนี้ ยกเวนไมตองวัด)
• กําหนดและลงบันทึกจํานวนของน้ํามัน/สินคาและน้ําในถังสลอป
• ตรวจวัด และบันทึกระดับจํานวนของถังสินคาแตละถังลงในแบบรับสินคา (reconciliation sheet)
• วัดอุณหภูมิน้ํามันในถังสินคาแตละถังและบันทึกลงในแบบรับสินคา
2.4 การถายน้ํามันในระหวางเที่ยวบรรทุกน้ํามัน (TRANSFERS DURING LOADED VOYAGE)
ถามีการถายน้ํามันภายใน (internal transfer) ในระหวางเที่ยวเดินเรือ จะตองมีการตรวจวัด ถังน้ํามันทุกถัง กอน
และหลังการถายน้ํามัน
ตองทําการตรวจวัดทุกถัง รวมทั้งถังที่ไมไดเกี่ยวของกับการถายน้ํามันดวยถาเรือขนสงน้ํามันไมมีลิ้นสองลิ้น
ประจําถังที่แยกจากกัน ตองมีการตรวจวัดอุณหภูมิในถังที่มีการถายน้ํามัน ถาใชเครื่องปมจะตองนับจํานวนน้ํา
มันที่คางในเครื่องปมและในทอทางที่ใชสงน้ํามันดวย สินคาที่ถูกถายลงสูถังใหม จะตองไดรับการคํานวณเพื่อ
ใหมั่นใจวาไมมีน้ํามันสูญหายเกิดขึ้น
2.5 ณ เรือของลูกคา/ทาสูบสงสินคาออกจากเรือ (DISCHARGE TERMINAL)
2.5.1 กอนการสงสินคา (PRIOR TO DELIVERY) ขั้นตอนที่ 3&4 การตรวจวัด ณ จุด "C"
ในการสงสินคาแตละครั้ง จะตองปฏิบัติตามวิธีการตาง ๆ ที่กลาวมาขางตน (ไมวาจะสงสินคาเปน
batch หรือทั้งหมด) ถังที่กําหนดวาจะตองสูบสงสินคา (discharged) เทานั้นจึงจะตองตรวจวัดจํานวน
สินคา แตตองมีขอแมวาเรือจะตองติดตั้งลิ้นสองลิ้น (dual valve) ที่แยกจากกัน
ถาลูกคาขอรองใหตรวจทุกถัง จะตองตรวจวัดจํานวนน้ํามันทุกถัง
การตรวจวัดจํานวนสินคา จะตองมีการลงบันทึกทั้งหมด หากมีน้ํามันขาดหรือเกินระหวางการตรวจวัด
ที่จุด "B" และ "C" จะตองลงบันทึกไว ถาจํานวนที่เปลี่ยนแปลงไปมีมากกวาที่ระบุในเอกสารขอตกลง
ในสัญญา จะตองรายงานและทบทวนตามวิธีปฏิบัติวาดวยน้ํามันขาดจํานวน

สําหรับการสงสินคาน้ํามันเปน batch loaded เทานั้น: การตรวจวัด ณ จุด C มีการยกเวนไดถาหากมีขอ


จํากัดในเรื่องเวลาทํางาน ถาลูกคาไมตองการใหมีการตรวจวัด หรือผูแทนของลูกคาปฏิเสธไมตองการ
ลงนามเปนพยานรูเห็นการตรวจวัดของเรือขนสง ในกรณีเชนนี้ จะตองขอหลักฐานยืนยันการปฏิเสธไม
ตองการเปนพยานรูเห็นการตรวจวัดจากฝายผูแทนของลูกคาและตองมีการลงนามเปนหลักฐานใน
ใบรับสินคา BDN/R (Bunker Delivery Note/Receipt)
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

2.5.2 หลังจากการสงสินคา (AFTER DELIVERY)


เมื่อการสูบสงสินคาสิ้นสุดลง (discharge) และเมื่อเก็บทอทางทั้งหมดเรียบรอยแลว ตองใชขั้นตอนเดียว
กันกับการตรวจวัดจํานวนที่กลาวไวในสวนที่ 2.3.1 กอนการสูบสง เพื่อวัดจํานวนและบันทึกตัวเลข
การคํานวณสินคาอยางแมนยํา ระหวางสินคาตนทางและปลายทางทั้งหมด (total out-turn)
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

บทที่ 3.0 – สิ่งที่ตองทําในการตรวจวัดจํานวนสินคาแตละขั้น


3.1 บทนํา:
ในบทตอไปนี้ จะกลาวถึงขั้นตอนโดยเฉพาะ ที่จะตองกระทําในการวัดจํานวนสินคา

3.2 อัลเลจ (ULLAGES) หรืออินเนช (INNAGES)


ตรวจวัด ถังสินคาทุกถังดวยมือ อานและบันทึกการวัดทั้งหมดใหใกลเคียงที่สุดระดับคา 1 มม. หรือ 1/16 นิ้ว ถา
ใชสายวัดเทป/ตุมวัด (rod) ใหอานคาสองครั้ง ถาตัวเลขที่อานไดคาอยูภายใน 3 มม. หรือ 1/8 นิ้ว ใหหาคาเฉลี่ย
จากผลการอานคาทั้งสองครั้ง ถาคาที่อานไดแตกตางกันมากกวา 3 มม. หรือ 1/8 นิ้ว ใหตรวจวัดครั้งที่สามเปน
การยืนยันและลงบันทึกจากผลคาเฉลี่ยของการวัดทั้งสามครั้ง
ในกรณีที่สินคาในถังมีจํานวนนอย การวัดอัลเลจ (ullage) ดวยมือจะไมแนนอนเทาที่ควรและเครื่องวัดอัตโนมัติ
จะทํางานไมไดผล ดังนั้นควรใชวิธีวัดอินเนช (innage) จากกนถังกอน อนึ่ง ควรใชวิธีวัดอินเนชอีกดวยในการ
วัดจํานวนน้ํามันที่มีอยูแลวในถังบนเรือกอนที่จะมีการสูบถายน้ํามันลงเรือ
เมื่อมีการวัดอินเนช จะตองบันทึก reference height ที่เทป ไมควรใชตุมวัดหยั่งความลึก “Sounding rods” เพื่อ
การวัด
ถา reference height ไมอยูภายในคา 5 มม. (1/4 นิ้ว) ใหบันทึกขอบกพรองและรายงานเพื่อสืบหาสาเหตุหรือแก
ปญหาตอไป

สําหรับน้ํามันเชื้อเพลิง การตรวจวัดวิธีอัลเลจ (ullages) ถือวาใหความแมนยํามากกวาวิธีใชสายวัดถวงความลึก


(sounding) อยางไรก็ตาม ถาตารางการวัดของเรือรับรองใหใชวิธีวัดอินเนช ก็ควรจะใชวิธีวัดแบบอินเนช
3.3 อุณหภูมิ
การตรวจวัดอุณหภูมิที่แนนอนเปนสิ่งที่มีความสําคัญอยางยิ่งยวด ตอการกําหนดหาจํานวนของสินคา
ตรวจวัดและบันทึกอุณหภูมิของสินคาในแตละถัง ใหอานคาจากเทอรโมมิเตอรที่ใกลเคียงที่สุดถึง 0.1oC/ 0.2oF
ใชคาอุณหภูมิที่อานจากสวนบน สวนกลาง และสวนลางของถัง ที่มีน้ํามันในถังมากกวา 2 ม. หรือ 7 ฟต และ
คํานวณอุณหภูมิเฉลี่ยของแตละถัง และมากกวา 1 ม. จากผนังของถัง
ในการวัดอุณหภูมิของทอสง สามารถใชอุปกรณในการตรวจวัดจํานวนสินคาสง (delivered quantity) ตาม
ตารางการคํานวณตามบทที่ 7.4
วิธีการวัดอุณหภูมิเพียงครั้งเดียว อาจนํามาใชในกรณีที่มีหลักฐานจากเอกสารแสดงใหเห็นวาไมมีการเปลี่ยน
แปลงในอุณหภูมิตามวิธีของ TMB +/_1.0o C (จะตองแสดงเอกสารยืนยันและรับรองโดย ฝายเทคนิค & ปฏิบัติ
การของ EMMF)
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

3.4 น้ํา (FREE WATER)


การตรวจหาน้ํา ควรใชน้ํายาวัดน้ํา สายวัดเทป MMC (MMC trimode tape) หรือการทดสอบเปนระยะสําหรับ
น้ํามันเชื้อเพลิง

3.4.1 วิธีใชน้ํายาวัดน้ํา (Water Finding Paste):


ตรวจหาน้ําที่ปนอยูในแตละถัง โดยใชน้ํายาวัดน้ําทาที่สายวัดเทปที่ใชหยอนลงในแตละถัง ถาตรวจพบวามีน้ํา
ปนอยู ใหบันทึกความลึกโดยวิธีการใชน้ํายาวัดน้ํา เครื่องมือตรวจชั้นระหวางน้ํา/น้ํามัน (interface detector) หรือ
อุปกรณที่เหมาะสม ถาใชน้ํายาวัดน้ําในของเหลวที่มีความหนืดมาก อาจจะตองใชเวลาเปนนาทีหรือมากกวาจึง
จะแสดงผลของระดับน้ําที่อยูใตน้ํามัน ควรลางตุมถวง (sounding bob) ใหปราศจากน้ํามัน โดยใชน้ํามันใส
(distillate) ที่สะอาดลาง เพื่อใหเห็นสีของน้ํายาวัดน้ํา
สิ่งที่สําคัญคือ ตองปฏิบัติตามคําแนะนําของผูผลิต ทั้งวิธีใชและการจัดเก็บน้ํายาวัดน้ํา ชนิดใดก็ตามที่มีอยูหลาย
ประเภท
3.4.2 สายวัดเทป MMC Trimode:
ใชสายวัดเทปในโมดของการตรวจชั้นระหวางน้ําและบันทึกความลึกที่ระบุวามีน้ํา
3.4.3 วิธีทดสอบเปนระยะ (Periodic Testing Method):
เรือขนสงน้ํามันที่ใชวิธีนี้ จะตองมีระบบถังอับเฉาที่แยกจากกัน (segregated ballast)
การใชวิธีนี้อยางถูกตองจะตองมีใบรับรองกอน และขึ้นอยูกับความปลอดภัยในการสง ระบบ ExxonMobil PQ
กําหนดวา สินคาน้ํามันทั้งหมดที่นําออกสูตลาด ตองผานการทดสอบจํานวนน้ํา ตองมีใบรับรองคุณภาพของถัง
สินคาจากหองทดลองวามีความคงที่มากกวาระยะ 1 เดือน
การสุมตักตัวอยางจากเรือสงน้ํามัน จะตองไดรับการตรวจเช็คแบบขามไปมา (cross-checked) ถึงคุณภาพของถัง
ที่มีใบรับรอง เพื่อใหวิธีนี้ใชไดอยางถูกตอง อยางต่ํา 3% หรือสงสินคา 3 เที่ยว ตอหนึ่งเดือน แลวแตตัวเลขใดจะ
มากกวา จะตองทําการสุมตัวอยางเพื่อตรวจวัดน้ํา ผลของการทดสอบจะตองไดรับการยืนยันใหสอดคลองกับ
ผลคุณภาพของถังสินคาที่วัดครั้งลาสุด +/- 0.2% ถาคาแตกตางกันมากกวา +/- 0.2% จะตองสืบสวนตอไป
3.5 ตัวอยางสินคา
ตัวอยางสินคาที่สูบถายลงเรือ
GPQMS ระบุวา ใหทําการจัดเก็บตัวอยางสินคาทั้งหมดตามเกรด โดยใชวิธีตักตัวอยางแตละชนิดเก็บไวเพื่อวัตถุ
ประสงคในการอางอิง
การจัดสงตัวอยาง
ตัวอยางที่จะจัดสงทุกชนิด ควรไดมาจากการเก็บตัวอยางตามนโยบายการเก็บตัวอยางของ EMMF ใน PQMS
(ในกรณีที่ขอบังคับตามกฎหมายของทองถิ่น หามการใชตัวอยางสุมจากการตักตัวอยางเก็บไว ดังนั้นจะตอง
ปฏิบัติไปตามขอบังคับของทองถิ่น)
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

3.6 ความหนาแนน

หาความหนาแนนที่ไดรับการแนะนํา (หรือความถวง API) ของสินคาแตละชนิดจากทาสูบถาย คนหาวาเปน


ความหนาแนนที่ไดจากบรรยากาศ (density in air) หรือความหนาแนนในสุญญากาศ (density in vacuum)
สําหรับสินคาผสม บกจะเปนผูคํานวณความหนาแนนขึ้นกับสัดสวนการผสม

ไมตองวัดความถวง API หรือความหนาแนนของสินคาบนเรือ สําหรับการสงสินคาเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ

3.7 การคํานวณสินคา

ตามการตรวจวัดที่กลาวมาขณะนี้ เรือควรจะตองใชความระมัดระวังอยางมาก ในการคํานวณจํานวนสินคาแตละ


ถังบนเรือโดยใชตารางคํานวณสินคาที่กําหนดตามบทที่ 5.3. และนําปจจัยแกไขที่เกี่ยวของ (relevant correction
factors) เขามาพิจารณาในการถายสินคา ตองลงบันทึกผลทั้งหมดในรายงานการวัดอัลเลจ (ullage report)

3.8 การนําคาเปรียบเทียบ (RECONCILIATION)

เปรียบเทียบปริมาตรรวมบนถังบกที่ 15oC / 60oF ตามรายงานในใบตราสงสินคา (Bill of Lading - BOL) กับตัว


เลขปริมาตรบรรทุกทั้งหมดของเรือที่ 15oC / 60oF ตัวเลขจํานวนเปรียบเทียบควรอยูภายในคา 0.5% หลังจากใช
VEF หรือ 0.75% ถาไมใช VEF

ถาตัวเลขของจํานวน (quantities)ไมอยูในคาที่กําหนด ใหทําการตรวจสอบตัวเลขของเรือ/บก ใหม การตรวจ


สอบใหมมีคําจํากัดความวา เปนการคํานวณใหมและถาจําเปน อาจจะตองวัดปริมาตรสินคาใหม ถายังมีปญหา
อยู ใหทําหนังสือประทวง (ดูภาคผนวก 7.6) โดยเรือขนสงเปนผูออกจดหมายถึงทา

3.9 VESSEL EXPERIENCE FACTOR (VEF)

สําหรับเรือซึ่งนําคา VEF's มาใช และไดรับคาปรับแกที่ถูกตอง จึงควรใชกับปริมาตรทั้งหมดของเรือ กอนการ


นําคาเปรียบเทียบกับตัวเลขบนบก (ดูในหัวขอ 4.3)

หมายเหตุ: เรือขนสงน้ํามันสวนใหญมักจะพยายามไมใหมีการใช VEF's เนื่องจากการปฏิบัติงานไมถึงเกณฑการ


เดินเรือที่ตั้งไวสําหรับการคํานวน VEF การใช VEF ไมมีการบังคับ แตถานํามาใช ก็จะตองใชรวมกับคาที่ยอม
รับไดของการสูญหายของน้ํามัน (oil loss tolerances)
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

บทที่ 4 – วิธีปฏิบัติเมื่อน้ํามันขาดจํานวน:
4.1 บทนํา
การนําคาเปรียบเทียบ (reconciliation) ระหวางบก-เรือ จะตองกระทําดวยความระมัดระวังอยางมาก และจะตอง
นําปจจัยทุกอยางที่เกี่ยวของในการถายสินคาเขามาประกอบ จํานวนน้ํามันที่ขาดหรือเกินจะตองนํามาคํานวณใน
แตละขั้นตอนของการตรวจวัด ระบุไวในบทที่ 2 ยกเวนการถายจากเรือขนสงไปยังเรือลูกคา
4.2 การนําคาเปรียบเทียบ (RECONCILIATION)
เปรียบเทียบปริมาตรทั้งหมดของบกคิดที่ 15oC / 60oF ตามรายงานใบตราสงสินคา (Bill of Lading - BOL) ดวย
ปริมาตรสินคาในเรือทั้งหมดที่ 15oC / 60oF ตัวเลขจํานวนสินคาที่นํามาเปรียบเทียบจะตองไมตางกันเกิน 0.5%
หลังจากการใช VEF แลวหรือไมเกิน 0.75% ถาไมใช VEF
ตัวเลขเรือ ควรถือตามหลักปฏิบัติที่แมนยําที่สุดและใชอุปกรณการวัดที่มีอยู จะตองใชความเอาใจใสเปนพิเศษ
ในการตรวจวัดสินคาที่ยังคงเหลืออยูบนเรือ reference heights และอุณหภูมิของสินคา เพราะปจจัยสวนใหญ
เหลานี้เปนสาเหตุบอยครั้งที่ทําใหจํานวนปริมาตรของสินคาเกินความเปนจริง
4.3 จดหมายประทวง
หลังการตรวจสอบใหม จะตองสงจดหมายประทวงและนําขอปฏิบัติการรายงานเรื่องน้ํามันขาดจํานวนมาใชเมื่อ
ตัวเลขจํานวนของบก/เรือ ตางกันเกิน 0.5% หลังการใช VEF หรือ 0.75% ถาไมใช VEF
ใหทําการประทวงเปนลายลักษณอักษร กอนที่เรือจะออกจากทาเทียบ (berth)หรือที่ทอดสมอ (anchorage) ราย
ละเอียดของคําแนะนําในการประทวงสินคาขาดจํานวน ไดรวมไวในบทที่ 7.6 "การประทวง"
4.4 VESSEL EXPERIENCE FACTOR (VEF)
จะตองหาคาอยางถูกตองของ Vessel experience factor และนํามาใชในการคํานวณสินคาแตละทาทุกแหงที่ทํา
ได ใชวิธีการคํานวณไดกลาวไวในบทที่ 7.7 อยางไรก็ตาม เปนที่ยอมรับวา เรือที่บรรทุกสินคาไมเต็มที่ในบาง
สภาวะ (multi-parcel หรือ part cargoes) หรือสินคาที่มีความหนืด จะไมสามารถคํานวณหา VEF ได

• เรือบรรทุกเต็มเฉพาะบางถังสินคา (multi-parcel cargo) สามารถใช VEF คํานวณโดยรวมจํานวนทั้งหมด


หารดวยจํานวนปริมาตรของบกทั้งหมด

• เรือบรรทุกสินคาเปนบางสวน (part cargoes) กระจายอยูทุกถัง สามารถใช VEF คํานวณแบบสินคาเต็มถัง

• ถาเรือบรรทุกสินคาแบบถังเดี่ยว (single) หรือไมเต็มถัง (multi-tank parcels)ไมสามารถคํานวณหรือใช


VEF ได เรืออื่นนอกเหนือไปจากที่กลาวขางตน สามารถใช VEF ในการคํานวณสินคาในแตละทา
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

4.5 การบันทึกน้ํามันขาดจํานวนและการรายงาน

ถาน้ํามันทั้งหมดขาดจํานวนมากกวา 0.5% ในกรณีใช VEF หรือ 0.75% ถาไมใช VEF ในขั้นตอนที่ A-B ใหทํา
บันทึกการนําคาเปรียบเทียบ (reconciliation) และรายงานตอฝายบริหารของบริษัทเรือขนสงน้ํามันและตอบริษัท
ExxonMobil Marine Fuels
ถาน้ํามันทั้งหมดขาดจํานวน ในขั้นตอนที่ B-C มากกวา 0.25% ใหทําบันทึกการนําคาเปรียบเทียบ และรายงาน
ตอฝายบริหารและตอบริษัท ExxonMobil Marine Fuels
ถาน้ํามันขาดจํานวนโดยรวมในขั้นตอน A-C ไมควรจะเกิน 0.75% หลังการใช VEF หรือ 1.0% ถาไมใช VEF
ในขั้นตอน A-C ควรทําบันทึกการนําคาเปรียบเทียบ และรายงานตอฝายบริหารของบริษัทเรือขนสงน้ํามันและ
ตอบริษัท ExxonMobil Marine Fuels
คาที่แตกตางทั้งหมดในการตรวจวัด reference heights ถาตางกันมากกวา 5 มม. (1/4 นิ้ว) ควรรายงานตอฝาย
บริหารของบริษัทเรือขนสงน้ํามันและตอบริษัท ExxonMobil Marine Fuels
ในกรณีที่ไมมีอนุประโยคที่ระบุถึงการสูญเสียน้ํามันรวมอยูในสัญญาของเรือ จะเปนกรณีที่เจาของเรือจะขอ
เรียกเงินคืนจาก EMMF สําหรับสินคาที่สูญเสียไป โดยเทียบกับตัวเลขของโรงกลั่นน้ํามัน BOL ดังนั้น จึงไม
ตองมีการรายงานการสูญเสียน้ํามันตอฝายบริหารชั้นสูง เมื่อมีหลักฐานแสดงวามีการจายคาชดเชยจากการ
สูญเสียน้ํามัน

4.6 การคํานวณทางอิเลคทรอนิค/คอมพิวเตอร

การคํานวณสินคาทางอิเลคทรอนิคหรือคอมพิวเตอร สามารถนํามาใชกําหนดจํานวนของน้ํามันที่ไดรับบนเรือ
และจํานวนที่นําสงใหกับลูกคา

ตามประสบการณแสดงใหเห็นวา การใชวิธีการคํานวณดังกลาว สามารถลดเวลาทํางานและความผิดพลาดใน


การคํานวณ

โปรแกรมทั้งหมดจะตองมี:
• ตารางอิเลคทรอนิคอัลเลจ / วัดความลึก ที่ใชโดยเฉพาะกับเรือ
• ใหผลของการคํานวณมีคาเทากับวิธีการคํานวณดวยมือ โดยใชตารางอัลเลจ / วัดความลึก ที่มีการลงนาม
และประทับตราของเรือ
• จัดใหมีการใช password ในการคุมครองตาราง เพื่อไมใหลูกเรือสามารถเขาถึงได
• จัดใหพรอมที่จะใหผูตรวจสอบบัญชี สามารถเขาตรวจสอบได
• ระบบอิเลคทรอนิคของคอมพิวเตอรจะตองมีอุปกรณในการ back up
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

บทที่ 5 – อุปกรณการตรวจวัด
บทนํา
สวนนี้ จะใหรายละเอียดขอกําหนดอยางต่ําของอุปกรณการวัด เพื่อใหมั่นใจวาจะมีการตรวจวัดสินคาอยาง
แมนยํา รายละเอียดเพิ่มเติม หาดูไดจากบทอางอิง
5.1 อุปกรณการวัดแบบติดตั้งอยูกับที่
• จุดอางอิง (Reference Points) ตําแหนงสถานที่ตามตารางคํานวณ (calibration tables) Reference height
จะตองทําเครื่องหมายไวอยางถาวร ติดกับจุดที่ทําการวัด
• อุปกรณการวัดถังแบบอัตโนมัติ (ATG) เครื่อง ATG จะใชกับการตรวจวัดสินคาไดก็ตอเมื่อมีการรอง
เรียน การคํานวณตามขอที่ 6.5. เครื่อง ATG จะตองตรวจวัดแนนอนถึง 5 มม. หรือ 1/4 นิ้ว จะตองเก็บ
รักษาหลักฐานการคํานวณไวอยางเพียงพอ
• ระบบกั้นไอระเหย (Vapour Locks) (ถามี) สามารถใชในการปองกันไมใหไอระเหยรั่วออกมาในขณะ
กําลังวัดอัลเลจหรือตักตัวอยาง จะตองทําตารางคํานวณอิสระตางหาก และไดรับการรับรอง เพื่อที่วาคา
ของการวัดจะสามารถนําไปใชกับตารางคํานวณตนฉบับอัลเลจของเรือ จะตองใชความระวังเปนพิเศษ
เมื่อมีการใชการปรับแตงอยางเดียวกันทั้งในขณะเปดและปดการตรวจวัด ทั้งตอนสูบถายสินคาและตอน
สงสินคา (delivery)
• หลอดวัด Dip Tubes / ทอวัด Sounding Pipes (ถามี) ตองอยูในสภาพใชการไดดี
• เครื่องมือในการอานอุณหภูมิจุดละเอียดแบบรีโมท (Remote reading multipoint
o o
resistance type
Temperature Sensing instruments) (ถาติดตั้ง) จะใหความละเอียดถึง 0.5 C/ 1 F จะมีตารางคํานวณที่พอ
เพียง ตองตรวจเช็คทุกสามเดือน จะตองไมใชเครื่องวัดแบบรีโมทชนิดอานคาไดจุดเดียว
• การตักตัวอยางดวยมือแบบ drip จะตองปฏิบัติตามขอกําหนดของ ISO 8217:05 และ IMO ภาคผนวก VI
ขอแนะนําทางเทคนิคในดานการตักตัวอยาง อางถึงคูมือการตักตัวอยางของ EMMF
• อุปกรณการวัดอุณหภูมิของทอทางแบบดิจิตอล (Digital in line temperature measurement equipment)
สามารถใชในการส
o
งสินo คา ตราบใดที่อุปกรณนั้นใหคาอุณหภูมิเฉลี่ย ณ ชวงเวลาหนึ่ง และมีความ
ละเอียดถึง 0.25 C/ 0.5 F
5.2 อุปกรณการวัดแบบเคลื่อนยาย
• เทปวัด เทปอิเล็คทรอนิค หรือ กานวัด / ตุมวัด และเทป ใหความละเอียดถึง 1 มม./1/16”
• เทอรโมมิเตอรเพื่ออางอิงแบบดิจิตอล (Digital Reference Thermometer)
o o
ใชตรวจเช็คการทํางานของ
เทอรโมมิเตอรเปนประจําทุกเดือน ใหความละเอียดถึง 0.1 C/ 0.2 F ตองสามารถสืบประวัติยอนหลังได
วาผานการรับรองทุกป
• เครื่องตรวจจับชั้นน้ํามัน/น้ํา (Interface Detector) เครื่องตรวจจับอิเล็คทรอนิคส (Electronic detector) (ใช
ทํางานรวมกับ sonic tape) หรือน้ํายาวัดน้ํา
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

• เทอรโมมิเตอรแบบดิจิตอล เทอรโมมิเตอรแบบอิเล็คทรอนิคส – อาจจะใชรวมกับสายวัด


อิเล็คทรอนิค ใหความละเอียดถึง 0.25oC/0.5 oF หมายเหตุ: หามใชปรอทในเทอรโมมิเตอรแกวมาใชวัดใน
เทอรโมมิเตอรที่ใชทํางาน หรือแมแตใชวัดขณะสูบสงก็ไมได (HCP มิถุนายน 2002)
• เครื่องวัด Innage Bob ใชเพื่อหาจํานวนที่เหลืออยูกนถังเมื่อไมสามารถวัดอัลเลจได จะตองใชติดกับสาย
วัดเทปขณะทําการวัด สามารถใชรวมกับสายเทปอัลเลจได แตตองระวังโดยตองอานคาความยาวของตุม
bob ดวย (ไมสนับสนุน)
• กานวัดระดับ (calibration rods) แบบละเอียด (ถามี) ตองหาคาไดถึง “ศูนย” สําหรับตั้งคาใหตรงกับ slip
tubes

5.3 ตารางคํานวณตามขอกําหนด (REQUIRED CALCULATION TABLES)


• ตารางคํานวณ (calibration tables) ที่ไดรับการยอมรับอยางถูกตอง เพื่อใชในการวัดอัลเลจดวยมือแตละถัง
ถึงจุดใกลเคียงที่สุดถึง 5 มม. / 1/4 นิ้ว และจะตองมีการประทับตราในตารางคํานวณและเซ็นกํากับทุก
แผนโดยบริษัทผลิตตารางคํานวณ ถาตารางคํานวณมีคาใกลเคียงที่สุดไมถึง 5 มม. / ¼ นิ้ว ควรแทรกตัว
เลขที่แกไขใหมลงไป
• การแกไขทริมเรือและอัตราการเอียงของเรือ (list) สําหรับตารางอัลเลจ จะตองครอบคลุมขายงานทุก
ลักษณะของทริมเรือและอัตราการเอียงของเรือเมื่อใชงาน
• ASTM-IP ตารางการวัดน้ํามันปโตรเลียมและ ปจจัยการแกปริมาตร(Volume Correction Factors) ตามบท
ที่ 6.1.3
• เรือที่ใชในบริการบรรทุกน้ํามัน จะตองมีตารางการวัด (อัลเลจ/วัดความลึก) ที่มีอายุไมเกินกวา 15 ป เพื่อ
วัตถุประสงคในการปฏิบัติตามขอกําหนด ควรกําหนดใหเรือมีตารางคํานวณใหมเมื่อถึงเวลาเขาอูแหง ใน
การสํารวจพิเศษเปนครั้งที่ 3 ในกรณีการสอบสวนในเรื่องสินคาน้ํามันขาดจํานวน ที่แสดงใหเห็นถึงการ
วัดโดยทั่วไปผิดพลาด เจาของเรืออาจจะถูกขอรองใหคํานวณเรือใหมในโอกาสตอไป
• ตาราง Wedge Tables ถามี
• แบบวาด (Drawings) ที่มีอยูแสดงอยางใหเห็นอยางแมนยํา ถึงตําแหนงที่ติดตั้งเครื่องมือ/อุปกรณ
เซ็นเซอร เครื่องวัดกําลังดัน (pressure gauges) เทอรโมมิเตอร ฯลฯ
5.4 มาตรวัด (METERS)
• เมื่อมีการใชมาตรวัดปริมาตรหรือมวล ที่แมนยํา (calibrated meters) ในการกําหนดปริมาณของน้ํามันที่
สูบสงและสงสินคา (delivered) แลว การตรวจวัดดวยมือและการนําคาเปรียบเทียบ (reconciliation) ก็ไม
มีความจําเปน
• การตรวจสอบยันความถูกตองเปนประจําทุกเดือนของจํานวนตัวเลขที่บรรทุก เทียบกับจํานวนที่วัดได
ดวยมือจากตารางของ เครื่องวัด/เทอรโมมิเตอร/เรือ ควรทําใหแลวเสร็จและลงบันทึก
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

5.4.1 การตั้งคาการวัดปริมาตร
• การตรวจสอบดวยตารางคํานวณ (Calibration) ควรทําทุก 3 เดือน จนกวาความมั่นคงของมาตรวัดจะได
รับการรับรองเปนเวลา 3 ครั้งของการคํานวณ มาตรวัดสามารถเปลี่ยนกลับดวยความถี่ของการคํานวณหก
เดือน ตามมาตรฐานของ API / ISO โดยการใชอัตราการไหล (flow-rate) ปกติขณะใชมิเตอร
• ผูรับเหมาอิสระที่มีใบรับรอง ตองสามารถดําเนินการตรวจวัดได ขอมูลจากการตรวจวัด (Calibration
records) ตองจัดเตรียมใหพรอม สําหรับการตรวจสอบจาก ExxonMobil
• คาวัดที่แมนยําของมาตรวัด (Meter) ตองรักษาใหเปนไปตามคายอมไดดังนี้:
- ประสิทธิภาพโดยรวมของการตรวจวัด (ตรวจสอบแลว) = 0.2 %
- การทดสอบคาเบี่ยงเบน Slow Flow จากปจจัย Full Flow = 0.15%
- คาผิดพลาดสูงสุดที่ไมมีการแกไข (Mechanical Meters เทานั้น) = 0.05%
• มาตรวัด (Meters) จะตองถูกออกแบบและติดตั้งตามคูมือการวัดน้ํามันปโตรเลียมมาตรฐานของ API
Manual of Petroleum Measurement Standards (MPMS) ณ เวลาในขณะติดตั้ง
5.4.2 การตั้งคาวัดการไหลเชิงมวล (Mass Flow Meter Calibration)

• ถาการวัดการไหลเชิงมวลไดรับการวัดยันความถูกตอง เทียบกับการวัดที่ไดรับการรับรองในอารักขาของ
ฝง ในแตละครั้งที่มีการสูบถายบรรจุ การตั้งคาผาน prover loop หรือผาน shop trial จะตองทําทุกครั้งที่อยู
ในระยะซอมเรือ หรืออยางมากไมเกิน 3 ป

• ผูรับเหมาเอกเทศที่ไดรับการรับรอง จะตองดําเนินการตั้งคา หลักฐานการตั้งคาจะตองมีพรอมไวสําหรับผู


ตรวจจาก ExxonMobil

• ความแมนยําของเครื่องวัด จะตองรักษาไวภายในวงเขตของคาที่ยอมรับไดดังตอไปนี้:
- การปฏิบัติการโดยรวมระหวางการตั้งคา (พิสูจนแลว) = 0 2%
- การทดสอบคาเบี่ยงเบน Slow Flow จากปจจัย Full Flow = 0.15%
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

บทที่ 6 – ขอแนะนําในการตรวจวัด
6.1 การคํานวณสินคา
ตารางคํานวณและสูตรการคํานวณปริมาตรน้ํามัน
6.1.1 ตารางการคํานวณสินคาในถัง (TANK CALIBRATION TABLES)
ตารางคํานวณถังสินคา จะแสดงปริมาตรในแตละถัง สอดคลองกับการวัดอินเนชและอัลเลจของแตละ
ถัง ปกติปริมาตรจะบอกหนวยเปนลิตร หรือคิวบิกเมตร คิวบิกฟุต หรือบารเรล
ตารางคํานวณของเรือ (Vessel calibration tables) เรือแตละลําโดยเฉพาะจะตองไดรับการประทับตรา
ทุกแผน ตามที่ไดรับการอนุมัติจากหนวยงานที่มีอํานาจ ถังจะตองไดรับการปรับคาคํานวณใหใกลเคียง
ที่สุดถึงระดับมิลลิเมตร
เอกสารที่ใชในการคํานวณหรือตารางคํานวณจากคอมพิวเตอร (Calibration/computerised work sheets)
จะอนุญาตใหนํามาใชได ก็ตอเมื่อทางเรือสามารถแสดงใหเห็นวาเปนเอกสารที่ถอดแบบมาจากตารางที่
ไดรับการรับรองแลว
หมายเหตุ: ความผิดพลาดของคาในตารางคํานวณ บางครั้งเกิดจากอูเรือ ซึ่งใชวิธีงาย ๆ ในการคํานวณ
ปริมาตรถัง ตัวอยางของความผิดพลาดทางการคํานวณ คือ:
• ใชรูปแบบการลดปริมาตรสําหรับโครงสรางภายในตัวเหมือนกันตลอดความลึกของถัง แทนที่จะ
แบงเปนสวนลดสามโซน คือ ปริมาตรใกลสวนบนและลางของถัง จะมีปริมาตรของโครงสราง
มากกวา
• ใชการประมาณปริมาตรโครงสรางเหล็กของถังแบบหยาบ ๆ แทนที่จะใชการคํานวณปริมาตร
• พิจารณาวาทอทางสินคาในถังวางเปลา ในขณะที่ถังมีสินคาเต็ม
การแกไขการคํานวณที่ผิดพลาดนี้ เรือจะตองจัดใหมีตารางแกไขตามความจําเปน ปฏิบัติตามขอแนะนํา
ที่ใหกับตารางการคํานวณที่แกไขแลว
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

ความผิดพลาดสามารถเกิดได ถาการแกไขทริมเรือและอัตราการเอียงของเรือเปนไปอยางไมระวัง การดู


คาแตละครั้งตองแกไขตามความเหมาะสมกับอัตราการเอียงเรือและทริมเรือเพื่อใหไดตัวเลขการวัดที่
แทจริงซึ่งจะใสตารางคํานวณของถัง การแกทริมและอัตราการเอียงของเรือที่ใหในตารางคํานวณ จะ
ถูกตองก็ตอเมื่อผิวหนาของของเหลว ไดระดับและนิ่ง การแกทริมและอัตราการเอียงเรือจากตาราง
สําหรับของเหลวที่อยูพื้นถังจะใชไดก็ตอเมื่อ ระดับขอบของเหลวนั้นครอบคลุมตลอดทัวพื้นถัง มิ
ฉะนั้นจะตองใชวิธีคํานวณปริมาตรโดยใช "wedge formula" หรือ wedge table
หมายเหตุ: ในเรือขนสงน้ํามัน จุดวัดของถังอยูกึ่งกลางถัง การแกทริมและอัตราการเอียงของเรืออาจไม
ตองทํา ในกรณีเชนนี้ หนวยงานผูรับผิดชอบในการออกใบรับรองการตรวจวัด ตองลงบันทึกไววาไม
ตองมีการแกทริมและอัตราการเอียงของเรือตามตารางคํานวณ

ในตารางโดยปกติควรจะมีคําแนะนําเกี่ยวกับจุดอางอิงของถัง (tank reference points) จากคาความลึก


ของอัลเลจ ถาหาคาของความลึกที่เปลี่ยนแปลง (variation in the reference depth) ได คาอัลเลจที่สังเกต
ไดจะตองถูกปรับใหสอดคลองกับ par 7.1 under หลังจากการสูบถาย - ถังสินคา ถาฝาอัลเลจ ถูกติดตั้ง
ไวที่สวนบนของฝาถัง ควรติด datum plates นอกฝาถัง เพื่อทําใหการตรวจสอบ tank reference heights
เปนระยะงายขึ้น
ความแตกตางทั้งหมดที่ไดจากการตรวจวัด reference heights ที่เกิน 5 มม. (1/4 นิ้ว) ควรรายงานใหฝาย
จัดการของบริษัทเรือขนสงน้ํามันและรายงานใหบริษัท ExxonMobil Marine Fuels
ในบางครั้ง ทอสงที่ผานเขาในถังอาจจะวางเปลาหรือบรรจุสินคาอื่นอยู ดังนั้น การนับจํานวนสินคาจะ
ตองทําใหถูกตอง
6.1.2 ปริมาตรสินคารูป "WEDGE"
ถาพื้นถังมีของเหลวไหลไปมา ครอบคลุมไมทั่วพื้นถังทั้งหมด ของเหลวจะรวมตัวกันเปนรูปลิ่ม
(wedge) ตามที่แสดงในบทที่ 7.2. โดยทั่วไป ถาใชการแกทริมในการวัดอินเนช ผลอินเนชที่ไดจะรับ
ผลเปนเชิงลบที่ไมตรงตามความเปนจริง ถามีตารางคํานวณแบบรูปลิ่มใชอยู ก็ใหใชตารางคํานวณ
ปริมาตรรูปลิ่ม คําแนะนําวิธีใชไดระบุไวพรอมกับตารางคํานวณ
ถาไมมีตารางคํานวณรูปลิ่มใชอยู ก็ใหใชการคํานวณปริมาตรรูปลิ่มโดยใชสูตร "wedge formula" ราย
ละเอียดแสดงไวในบทที่ 7.2. ในสูตรนี้ จะใชทริมเขาไปคํานวณเทานั้น ไมใชอัตราการเอียงเรือ อยาง
ไรก็ตาม ตารางคํานวณแบบรูปลิ่ม แกไขอัตราการเอียงเรือและเปนที่นิยมใชมากกวา ดูตัวอยางในบทที่
7.2 เพื่อดูคําอธิบายวิธีการใชสูตร Wedge Formula

6.1.3 ตารางคํานวณการวัดน้ํามันปโตรเลียม ASTM-IP


ปจจัยการแกไขปริมาตร (VOLUME CORRECTION FACTORS)
• ฉบับลาสุดของ API 11.1 / IP / ASTM 1250 (2004) ระบุการใชพื้นฐานแบบมาตรฐาน ที่ใชใน
เอกสารฉบับนี้
• ตารางคํานวณ: 53B และ 54B สําหรับสินคาทั่วไปหรือฉบับอิมพีเรียล ถาเรือมีการคํานวณ
เปนบารเรล/นิ้ว
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

• การแปลงความหนาแนนที่วัดได (Conversion of Measured Density) ใหเปนความหนาแนนที่


อุณหภูมิมาตรฐาน (Density at Standard temperature) (15°)
การแปลงความหนาแนนที่วัดได ใหเปนความหนาแนนที่ 15°C ใหใชตาราง ASTM-IP 53B การ
แปลงนี้รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงทางปริมาตรของหลอดแกวไฮโดรมิเตอร (glass hydrometer)
ที่เกิดจากอุณหภูมิและการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของเหลวที่เกิดจากอุณหภูมิ
• การแปลงปริมาตรที่วัดไดเปนปริมาตรอุณหภูมิมาตรฐาน (15°)
การแปลงปริมาตรที่วัดไดจากอุณหภูมิเฉลี่ยของน้ํามัน เปนปริมาตรอุณหภูมิที่ 15°C/60° F ใช
ปจจัยการแกปริมาตร (volume correction factors) ตาราง 54B ใสตัวเลขในตารางดวยความหนา
แนน/APi ที่ 15°/60° F และอุณหภูมิเฉลี่ยของสินคาในตารางคํานวณ จะไดคาปจจัยที่จะนํามา
แปลงปริมาตรที่วัดไดใหเปนปริมาตรที่ 15°C
• แปลงปริมาตรเปนน้ําหนักตัน
แปลงปริมาตรสินคาที่ 15°C เปนตัน ใชปจจัยการแกไขในตารางที่ 56
• ความหนาแนน (บก)
หาคาความหนาแนนของสินคาแตละชนิดจากทาสูบถายสินคา (อางถึงขอ 4.1.10) หาขอมูลจาก
ทาสูบถาย วาควรอางวาเปนคาความหนาแนนในบรรยากาศ (density in air) หรือความหนาแนน
ในสุญญากาศ (density in vacuum) เพื่อวัตถุประสงคของการแปลงคา และเพื่อใสลงใน
ตาราง ASTM/IP เพื่อหาปจจัยแกไขปริมาตร (VCF) ซึ่งตองใชความหนาแนนในสุญญากาศ หา
คาความหนาแนนสําหรับการคํานวณน้ําหนักของสินคา จะตองใชความหนาแนนในอากาศมา
คํานวณ (ตาราง 56)
6.2 การระวังความปลอดภัย
การระวังความปลอดภัยในการหยอนอุปกรณการวัดอัลเลจและการตักตัวอยาง
การระวังความปลอดภัยสี่ประเภทในการปฏิบัติการตาง ๆ ไดระบุไวใน ICS/OCIMF/IAPHA
สิ่งพิมพ "คูมือความปลอดภัยระหวางชาติ สําหรับเรือบรรทุกน้ํามันและทาเทียบ (International Safety
Guide for Oil Tankers and Terminals)" (ISGOTT) ฉบับลาสุด
• ใหกาซบนดาดฟามีนอยที่สุด
• ปองกันไมใหอากาศเขาสูสภาพของกาซเฉื่อย
• ระวังกระแสไฟฟาสถิต หลังจากสูบถายสินคาลงสูในแตละถังเสร็จเรียบรอยแลว ปลอยเวลาทิ้ง
ไว 30 นาที เพื่อใหสินคาอยูตัว กอนการวัดในแตละถัง
• ใหใชอุปกรณที่ผานการรับรองเทานั้น
1 คูมือ ISGOTT Manual พิมพโดย บริษัท Witherby & Co จํากัด
ลอนดอน อางอิงที่: ISBN 0 900886 88 9
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

บทที่ 7 – ภาคผนวก
7.1 – REFERENCE HEIGHTS
ควรทําเครื่องหมายบอกระดับความสูง (Reference heights) เพื่อการอางอิงในถังสินคาแตละถัง Reference
heights จะตองมีการตรวจสอบและลงบันทึกเปนประจําทุกเดือนลงในสมุดปูมบันทึกการตรวจวัด (log) จะตอง
มีการตรวจเช็ค Reference heights หลังจากการติดตื้น เรือชนกัน หรือเรือเกิดการปะทะซึ่งอาจสงผลกระทบถึง
โครงสรางของเรือขนสง ถา Reference heights มีการเปลี่ยนแปลงที่ตางไปจากคาในตาราง จะเปนเครื่องชี้วา
โครงสรางของเรือขึ้นอยูกับความเคลื่อนไหวซึ่งสงผลใหเรือตองไดรับการคํานวณใหม เมื่อถึงเวลาเขาอูแหงครั้ง
ตอไป (ปกติเครื่องหมายบอกระดับ Reference heights จะอยูที่ฝาถังใกลตําแหนงที่หยอนเครื่องตรวจลงในถัง)
เพื่อชวยในเรื่องนี้ เรืออาจติดตั้งปายบอกขอมูลและแผนขอมูล (datum brackets and plates) ที่ฝาถัง อางถึง
แผนภูมิซึ่งควรจะอยูที่ตารางอัลเลจของเรือ
7.2 – ที่มาของสูตร WEDGE FORMULA
ตัวอยางการคํานวณปริมาตร
โดยใช WEDGE FORMULA
ทริมเรือ (T) = 3 เมตร
ความยาวระหวางเสนตั้งฉาก (Perpendiculars) (L) = 244 เมตร
ถังสินคา = 2 stbd
ความกวางของถังสินคา (B) = 11.2 เมตร
ความยาวของถังสินคา (1) = 31.6 เมตร
ระยะของ Gauge Hatch จาก
ระยะจุดวัดถึงทายถัง (Y) = 6 เมตร
T 3
Tan = - = --- = 0.012295
L 244

อินเนชที่แทจริง (Actual Innages) (DI) = 0.10 เมตร


อินเนชที่ Aft ทายถังสินคา (D)

D = D1 + ytan = 0.10 + (6 x 0.012295) = 0.17377 เมตร

D2B 0.030196 x 11.2


V = ----- -------------------------- = 13.7 คิวบิกเมตร
2 tan 0.02456
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

7.3 - จํานวนทอทาง:
จํานวนน้ํามันในทอสินคา สามารถสงผลถึงปริมาตรน้ํามันที่ทําการสง (delivered)
เพื่อหลีกเลี่ยงปญหาการขาดจํานวนสินคา จากการที่น้ํามันคั่งคางในทอทาง (line fills) หรือไดน้ํามันเกินจากการ
ถายน้ํามันออกจากทอทาง ดังนั้นควรตองทําการตรวจวัด เพื่อใหมั่นใจวาทอทางทุกทอ ไดรับการถายน้ํามันออก
จนหมดเทาที่จะทําได
การคํานวณจํานวนสินคาในทอทาง สามารถทําไดโดยใชพื้นที่ภายในทอ และนําไปคูณดวยความยาวของทอ
ระหวางลิ้นปดเปด (valves)
ถามีการขาดจํานวนน้ํามันเกินไปกวาคาที่จะยอมได (tolerances) ตามที่กลาวในบทที่ 2 ของคูมือฉบับนี้ ควร
พิจารณานําเรื่องการคํานวณทอทางที่น้ํามันขาดจํานวนไป เนื่องจากการปลอยน้ํามันเขาสูทอหรือการถายออก
จากทอ ถือเปนสวนหนึ่งของวิธีคํานวณจํานวนใหม
7.4 - อุปกรณการตรวจวัดสินคา – การตรวจสอบและบันทึก
จะตองมีการเก็บบันทึกที่ถูกตองและทันสมัย ที่แสดงการวัดที่แมนยําของอุปกรณตาง ๆ บนเรือและจัดใหพรอม
สําหรับการตรวจตราเสมอ
REFERENCE HEIGHTS/DATUM POINTS
ดูที่ขอ 7.1
เครื่องมือที่ใชอางอิง (REFERENCE EQUIPMENT)
• เทอรโมมิเตอรอางอิง - ตองมีใบรับรองที่ถูกตองและไดรับการทดสอบใหมทุกป

• สายเทปวัดดวยมือ - ตองเปนของใหม ที่ยังไมเคยถูกใชมากอน และกําหนดเพื่อใชเปน


ตัวเทปเปรียบเทียบ และทําเครื่องหมายใหอานไดชัดเจนและรับรอง
ตาม APi 3.1A หรือเทียบเทาอยางดีที่สุดมาตรฐานของทองถิ่น
อุปกรณในการทํางาน
• สายเทปวัดอัลเลจดวยมือ - กอนการใชแตละครั้ง ตรวจสอบหาขอบกพรองหรือหาความเสียหาย
เปลี่ยนเปนสายเทปเพื่อการคํานวณใหม ถาเทปเกาเสียหาย
- ตั้งคาทุก 2 เดือน หรือเร็วกวานี้ ถาสภาพการใชงานมีผลตอสายเทป
- ขอผิดพลาดสูงสุด เทียบกับสายเทปอางอิง +/_ 2มม จนถึงความยาว
สุดระยะการทํางานของเทป
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

• อิเล็คทรอนิค ดิจิตอล - ตรวจเช็ควันละครั้งเทียบกับเทอรโมมิเตอรเดี่ยว (ใชปรอทหรืออิเล็ค


เทอรโมมิเตอรชนิด ทรอนิคที่มีคาแมนยําถึง 0.3C/0.5F) ใช API std MPMS บทที่ 7
เคลื่อนยาย ตอนที่ 3

• อิเล็คทรอนิค ดิจิตอล - ตรวจเช็คเดือนละครั้ง เทียบกับอิเล็คทรอนิค เทอรโมมิเตอร


เทอรโมมิเตอร ชนิด สําหรับใชเปรียบเทียบและตรวจเช็คทุกปจากบริษัทอิสระที่รับรอง
เคลื่อนยาย และติดตั้ง การตรวจวัดบันทึกรายละเอียดในสมุดบันทึกการตรวจเช็ค (checks
log) (ใชปรอทหรืออิเล็คทรอนิค ที่มีคาแมนยําถึง 0.3C/0.5F) ใช
API std MPMS บทที่ 7 ตอนที่ 3
• อิเล็คทรอนิค ดิจิตอล - ตรวจเช็คทุกเดือน โดยเทียบกับอิเล็คทรอนิคและตรวจประจําป
เทอรโมมิเตอร ชนิดติดตั้งหรือ โดยเจาหนาที่ของบริษัทตรวจเอกเทศผูไดรับการรับรอง บันทึกราย
ถังเก็บ ละเอียดในสมุดบันทึกการตรวจเช็ค (ใชปรอทหรืออิเล็คทรอนิค ที่
มีคาแมนยําถึง 0.5C/1.0F) ใช API std MPMS บทที่ 7 ตอนที่ 3

สมุดปูมบันทึกอุปกรณการตรวจวัด (MEASURING EQUIPMENT CALIBRATION LOG)


นายเรือประจําเรือมีความรับผิดชอบในการจัดใหมีการเก็บรักษาสมุดปูมบันทึกที่แสดงขอมูลใหมเสมอของ
อุปกรณการตรวจวัดสินคาทุกอยาง
สมุดปูมบันทึกจะตองรวม:
1. คาที่ยอมได:-
เทอรโมมิเตอรแบบดิจิตอล 0.2oC
สายเทปวัดอัลเลจ (อิเล็คทรอนิค/ดวยมือ/2 มม. จนถึงความยาวสุดระยะการทํางานของสายเทป)
2. สถานภาพและใบรับรองอุปกรณตรวจวัดเปรียบเทียบ
3. วันเดือนป ผลการตรวจสอบ และชื่อผูตรวจสอบ
ชื่อและที่อยู ของสถานที่ที่สามารถซื้ออุปกรณมาทดแทนอุปกรณเดิม และสถานที่จะสงอุปกรณคืนกรณี
อุปกรณเสียหรือเครื่องอิเล็คทรอนิควัดไมแมนยํา และจะตองทํารายการไว
7.5 – เครื่องวัดถังแบบอัตโนมัติ (ATG)
การวัดคาอัลเลจแบบอัตโนมัติโดย ATG จะยอมรับไดถาใชเกณฑเหลานี้:-
• ระดับแนวตั้งที่มั่นคงของ ATG support ตองไดรับการรับรอง
• ตองมีการวัดสินคาดวยมือ (Manual gauging) เริ่มแรกอยางนอยสิบเที่ยวสินคาติดตอกัน เพื่อหาความแมน
ยําโดยเปรียบเทียบกับคาที่อานไดจาก ATG กับคาที่ตรวจวัดดวยมือ คาความแมนยําที่ไดตองตางกันไม
เกิน 5 มม. (3/16 นิ้ว) เมื่อทราบถึงความแมนยําของอุปกรณแลว ตองวัดเปรียบเทียบดวยมือ อยางนอยที่
สุดทุก 10 เที่ยวเรือ หรือเดือนละครั้งแลวแตสิ่งใดจะบอยครั้งกวา
• บันทึกเปนลายลักษณอักษรของการคํานวณแบบตรวจวัดดวยมือ/ดวยการคํานวณ ATG จะตองเก็บรักษา
ไวตลอดเวลาที่ยังใชระบบ ATG's ในการวัดสินคา บันทึกลายลักษณอักษรนี้จะตองพรอมที่จะตรวจสอบ
โดยผูตรวจ ถามีการขอรอง
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

• เมื่อทราบถึงคาความแมนยําของ ATG แลวจากวิธีที่กลาวมา คาที่แตกตางกันไมเกิน 5 มม. ควรใชกับการ


อานตามระบบ ATG

• ในกรณีที่มีความแตกตางมากกวา 5 มม. จะตองไดรับการแกไขโดยการปรับตั้งที่ศูนย การปรับแกนี้ จะ


ตองลงบันทึก หลังจากการปรับแกครั้งนี้ จะตองมีการวัดคาเปรียบเทียบระหวางการวัดดวยมือและการ
อานดวย ATG และตองบันทึกการวัดสินคาตอไปอีก 5 เที่ยวเรือ หรือตราบเทาที่จะไดวัด 5 เที่ยวเรือใน
เกณฑความแมนยําภายใน 5 มม.
7.6 – การประทวง (PROTESTS)
ขั้นตอนการเรียกรองคาเสียหายเรื่องสินคา (CARGO CLAIMS PROCEDURE)
การเรียกรองคาเสียหายจากเรือในเรื่องสินคาขาดจํานวน จะเกี่ยวของกับเงินจํานวนมาก เจาของสินคาและผูรับ
จางขนสง จะไดรับผลประโยชนอยางดีที่สุดถาทําตามขั้นตอนประทวงเรื่องสินคาขาดจํานวน ซึ่งไดระบุไวขาง
ลางนี้ โปรดทราบวาจําเปนจะตองมีการประทวง ถาตัวเลขของบกแตกตางจากตัวเลขของเรือ

ปญหาตัวเลขจํานวนมากที่ขัดแยงกัน ระหวางตัวเลขที่เรือไดแกไขกับตัวเลขของบกที่ทาสูบถายและระหวางตัว
เลขที่ทาสูบถายและตัวเลขสินคา (outturn) ที่ทาสงสินคา (discharge ports) ตัวเลขที่ตางกันนี้จะตองทําการสืบ
ถามและยื่นประทวงทันที จะตองสงโทรเลขถึงเจาของสินคาและผูรับจางขนสง นอกจากนั้นจะตองสงคําใหการ
ในเรื่องสถานการณ ถึงเจาของสินคาและสนับสนุนดวยเอกสาร ไดแก สําเนาจดหมายประทวง ใบรับรองการ
ตรวจสอบ แสดงวิธีการคํานวณสินคา รายงานอัลเลจ และคําใหการของพยาน

เพื่อความรวดเร็วในการแกปญหาขอขัดแยงเรื่องการเรียกรองคาเสียหาย ควรปฏิบัติดังนี้:-

1. ถาความแตกตางระหวางเรือ/บกมีอัตรา 0.5% หรือมากกวาหลังจากการใช VEF หรือ 0.75% หรือมาก


กวาโดยไมใช VEF ภายหลังจากการตรวจซ้ําแลว ใหทําหนังสือประทวงกับทาสูบสง เพื่อแจงใหทา
ทราบเรื่องความขัดแยง กอนเรือออกจากทาหรือถอนสมอ

2. โทรเลขแจงขาวไปยังเจาของสินคา ผูรับจางขนสงและทาสูบสง (ยึดถือจํานวนสินคาปลายทาง)

3. เก็บรักษาเอกสารตาง ๆ ใหเจาของสินคาและผูรับจางขนสง ตามที่ตองการขางตน

บันทึกการประทวง

ในทุกกรณีที่มีขอขัดแยงเรื่องตัวเลขการสูบสงไมตรงกัน หรือสินคามีน้ํามากเกินไปซึ่งกําหนดโดยคูมือฉบับนี้
ใหทําหนังสือประทวง โดยใชตัวอยางหรือสิ่งที่คลายกันในขอ 7.6
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

ตัวอยางหนังสือประทวง:
m.v. ............................................
ทา .............................................
วันที่ ............................................

ถึงเจาหนาที่ผูเกี่ยวของ

เรียนเจาหนาที่

หนังสือประทวง
ขาพเจาขอเรียนใหทานทราบวา ตัวเลขชั่วคราว/แกไขใหม ของสินคาที่สูบสงของบก ที่ทานยื่นในวันที่
............................................................... ไมตรงกับการคํานวณของเรือตามรายละเอียดตอไปนี้ :

ตัวเลขสูบสงของเรือ ............................................................. M3 at 15oC


ตัวเลขสูบสงของเรือ หารดวย VEF ........................................................... M3 at 15oC
ตัวเลขสูบสงของบก ............................................................. M3 at 15oC
จํานวนที่ตางกัน ............................................................. M3 at 15oC
อัตราที่ตางกันรอยละ ............................................................. %

ขอทานโปรดตระหนักวา เจาของสินคาของขาพเจา จะตองไดรับแจงใหทราบถึงตัวเลขที่ขัดแยงกันครั้งนี้ และ


เราตองการใหใบตราสงสินคาทางเรือ (Bill of Lading) เปนไปอยางสมบูรณโดยแสดงตัวเลขของเรือ หรือสลัก
หลังอยางเหมาะสมเพื่อแสดงใหเห็นตัวเลขที่ตางกัน เราขอสงวนสิทธิ์ในการยืดเวลาการประทวงครั้งนี้ตอไปจน
ถึงวันกําหนดใหมภายหนา

นายเรือ m.v. สําหรับการรับเทานั้น


คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

7.7 –ขั้นตอนการคํานวณ VESSEL EXPERIENCE FACTORS


การคํานวณ VESSEL EXPERIENCE FACTORS – การสูบสง
หมายเหตุ: การคํานวณคาของ VESSEL EXPERIENCE FACTORS – การสงสินคา (Discharged proceeds) ทําใน
ลักษณะคลายกัน

วิธีนี้ เฉพาะเรือที่มีสัดสวนการสูบสงภายใน ±0.3% ของคาเฉลี่ยของอัตราสวน จะรวมในการคํานวณของ


Vessel Experience Factors การคํานวณปกติมีดังนี้ :

ขั้นตอน (a) รายการรับเขาใน VLRs เกณฑตอไปนี้เปนเหตุผลที่ไมนับรวมในขายของรายการ :

• เที่ยวเรือแรกหลังจากออกจากอูแหง
• สิ่งที่ทําใหเรือเบาขึ้น
• เที่ยวเรือที่ใบตราสงสินคา (Bills of Lading) ยึดถือการตรวจวัดบนเรือ
• เที่ยวเรือกอนที่จะมีการแกไขเรือ ซึ่งสงผลตอขีดความสามารถในการบรรทุก
สินคาของเรือ

ขั้นตอน (b) คํานวณหาคาเฉลี่ย r ของรายการ VLRs

ขั้นตอน (c) คํานวณหาคา 0.3% ของคาเฉลี่ย

ขั้นตอน (d) ลบ VLR นอกขายใหโดย


r±0.003r คากําหนดอยูในขั้นตอน (c)

ขั้นตอน (e) คํานวณใหม หาคาเฉลี่ยใหมของ r1.

ขั้นตอน (f) คํานวณใหม 0.3% ของคาเฉลี่ยใหม

ขั้นตอน (9g) รายงาน:

• Vessel Experience Factors = r1 ในขั้นตอน (e)


• ระยะคาละเอียด Vessel Experience Factors = ± คาที่กําหนดในขั้นตอน (f)
คูมือตรวจวัดสินคาน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับการเดินเรือ - พิมพครั้งที่ 6: 1Q 2008
ทบทวน & รับรองโดยผูดูแล HCP: Edwin D Carlson 1Q 2008
___________________________________________________________________________

ตัวอยางการคํานวณ
ขั้นตอน (a) รายการขอมูลที่ได:

เที่ยวเรือที่ อัตราสวนเรือบรรทุก (VLR)


1 0.9998
2 1.0120
3 1.0010
4 1.0027
5 1.0022
6 1.0054
7 1.0008
8 0.9990
9 0.9975
10 0.9985

ขั้นตอน (b) คํานวณหาคาเฉลี่ยใน 10 เที่ยว = 1.0019

ขั้นตอน (c) คํานวณหาคา 0.3% ของ 1.0019 = 0.003

ขั้นตอน (d) ลบ VLRs ที่อยูนอกชวงระยะ 1.0019 ± 0.003 นั่นคือ 0.9989 ถึง 1.0049 ดังนั้น VLR
สําหรับเที่ยวเรือที่ 2, 6, 9 และ 10 จะถูกลบออกไป

ขั้นตอน (e) คํานวณใหมหาคาเฉลี่ย r1 ของหกเที่ยวที่เหลือ VLRs = 1.0009

ขั้นตอน (f) คํานวณใหมคา 0.3% ของ 1.0009 = 0.003

ขั้นตอน (g) รายงาน:

• The Vessel Experience Factors = คาเฉลี่ย r1 คํานวณหาใน


ขั้นตอน (e) = 1.0009

ระยะคาละเอียดของ The Vessel Experience Factors = ± 0.003

You might also like