You are on page 1of 14

หนา ๑๕

เลม ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๗๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๔ มิถนุ ายน ๒๕๕๓

ระเบียบคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล
วาดวยหลักเกณฑการเปรียบเทียบ
ตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล พ.ศ. ๒๕๕๑

เพื่ อให การดํา เนิ น การเปรีย บเที ย บเปน ไปตามความมุง หมายของกฎหมาย อาศัย อํ านาจ
ตามความในมาตรา ๔๕ แหงพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล พ.ศ. ๒๕๕๑ อัน เปน
กฎหมายที่มีบ ทบัญญัติ บางประการเกี่ยวกับการจํากัด สิทธิแ ละเสรี ภาพของบุคคล ซึ่ง มาตรา ๒๙
ประกอบกับมาตรา ๔๑ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๔๕ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติ
ใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล
ออกระเบียบไว ดังตอไปนี้
ขอ ๑ ระเบียบนี้เรี ยกวา “ระเบีย บคณะกรรมการควบคุม เครื่ องดื่ มแอลกอฮอลวา ดว ย
หลักเกณฑการเปรียบเทียบ ตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล พ.ศ. ๒๕๕๑”
ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ขอ ๓ กรณี มี ป ญ หาเกี่ ย วกั บ การดํ า เนิ น การ หรื อ ระเบี ย บนี้ มิ ไ ด กํ า หนดหลั ก เกณฑ
การดํ า เนิ น การไว ใหค ณะกรรมการควบคุม เปน ผู วินิ จ ฉัย คํ าวิ นิ จฉั ย ของคณะกรรมการควบคุ ม
ใหเปนที่สุด
ขอ ๔ ใหอธิบดีกรมควบคุมโรคเปนผูรักษาการตามระเบียบนี้ และใหมีอํานาจออกระเบียบ
หรือคําสั่งเพื่อปฏิบัติการตามระเบียบนี้
หมวด ๑
บททั่วไป

ขอ ๕ ในระเบียบนี้
“การเปรียบเทียบ” หมายความวา การเปรียบเทียบตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล พ.ศ. ๒๕๕๑ ของผูมีอํานาจเปรียบเทียบ
“ความผิด” หมายความวา บรรดาความผิดที่มีโทษตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล พ.ศ. ๒๕๕๑
หนา ๑๖
เลม ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๗๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๔ มิถนุ ายน ๒๕๕๓
“คณะกรรมการควบคุม” หมายความวา คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล
“คณะอนุกรรมการ” หมายความวา คณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม
แอลกอฮอลแตงตั้ง
“ผูมีอํานาจเปรียบเทียบ” หมายความวา
(๑) คณะกรรมการควบคุม
(๒) คณะอนุกรรมการ พนักงานสอบสวน หรือพนักงานเจาหนาที่ ที่คณะกรรมการควบคุม
มอบหมายใหมีอํานาจดําเนินการเปรียบเทียบ
“สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล
หมวด ๒
อํานาจ หลักเกณฑ และขั้นตอนในการเปรียบเทียบ

ขอ ๖ อํานาจเปรียบเทียบ ใหเปนไปดังตอไปนี้


(๑) คณะกรรมการควบคุม มีอํานาจเปรียบเทียบไดทั่วราชอาณาจักร
(๒) คณะอนุกรรมการ ที่คณะกรรมการควบคุมมอบหมายใหมีอํานาจดําเนินการเปรียบเทียบ
มีอํานาจเปรียบเทียบได เฉพาะทองที่ที่มีเขตอํานาจ ตามที่ระบุในคําสั่งคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล เรื่อง การมอบหมายใหดํา เนิน การเปรีย บเทียบตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่ ม
แอลกอฮอล พ.ศ. ๒๕๕๑
(๓) พนักงานเจาหนาที่ ตามที่ คณะกรรมการควบคุมมอบหมายใหมีอํ านาจเปรียบเทีย บ
ได เ ฉพาะในเขตท อ งที่ ที่ มี อํ า นาจหน า ที่ ดู แ ลและรั บ ผิ ด ชอบในการปฏิ บั ติ ร าชการตามประกาศ
สํานั กนายกรัฐ มนตรี เรื่อ ง แต งตั้ งพนักงานเจ าหนาที่ เพื่ อปฏิบัติ การตามพระราชบัญ ญัติ ควบคุ ม
เครื่องดื่มแอลกอฮอล พ.ศ. ๒๕๕๑
(๔) พนักงานสอบสวน ตามที่คณะกรรมการควบคุมมอบหมายใหมีอํานาจเปรียบเทียบได
ขอ ๗ ใหผูมีอํานาจเปรียบเทียบ ดําเนินการเปรียบเทียบ ใหแลวเสร็จภายในสถานที่ตั้ง
ปกติของสํานักงานที่ตนสังกัด
ในกรณีที่มีความจําเปนจะตองเปรียบเทียบใหเสร็จสิ้นโดยเร็วที่สุด ใหผูมีอํานาจเปรียบเทียบ
ในคดีนั้นดําเนินการเปรียบเทียบนอกสถานที่ตั้งปกติของสํานักงานที่ตนสังกัดได โดยใหใชสถานที่
ของหนวยงานราชการอื่น หรือสถานที่อื่นเปนสถานที่เปรียบเทียบ ทั้งนี้ ใหคํานึงถึงความเหมาะสม
ของสถานที่ดวย
หนา ๑๗
เลม ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๗๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๔ มิถนุ ายน ๒๕๕๓

ขอ ๘ ในการเปรียบเทียบ ใหผูมีอํานาจเปรียบเทียบถือหลักเกณฑและกําหนดเงินคาปรับ


ตามบัญชีอัตราการเปรียบเทียบ (แบบ ปท.๑) ทายระเบียบนี้
ขอ ๙ ในการเปรียบเทียบ กรณีที่ผูตองหาหรือผูกระทําความผิดมิใ ชผูผลิตหรือผูนําเขา
เครื่องดื่ มแอลกอฮอล เมื่อมีเหตุผลพิเศษอัน ควรแกการพิ จารณาลดจํานวนเงิน คา ปรับ ผู มีอํานาจ
เปรียบเทียบอาจกําหนดจํานวนเงินคาปรับแตกตางไปจากที่กําหนดไวในขอ ๘ ก็ได แตตองไมนอยกวา
หนึ่งในสามของจํานวนเงินคาปรับ
เหตุผลพิเศษตามความในวรรคหนึ่ง ใหคํานึงถึงความหนักเบาแหงขอหาและพฤติการณแหง
การกระทําความผิด ความเสียหายที่ไดรับหรือผลกระทบตอผูใชบริการและสังคมโดยรวม ตลอดจนอายุ
ประวัติ ความประพฤติ สติปญญา การศึกษาอบรม สุขภาพ อาชีพ ขนาดการลงทุนของการประกอบ
กิจการ และสิ่งแวดลอมอื่น ๆ ของผูตองหาหรือผูกระทําความผิดประกอบดวย
ขอ ๑๐ กรณีที่ผูตองหาหรือผูกระทําความผิดยินยอมใหดําเนินการเปรียบเทียบ ใหยื่นคํารอง
ขอใหเปรียบเทียบ (แบบ ปท.๒) ตอผูมีอํานาจเปรียบเทียบ
ขอ ๑๑ กรณีที่ผูมีอํานาจเปรียบเทีย บไดรับคํารอ งขอใหเปรียบเทียบตามขอ ๑๐ ใหผู มี
อํานาจเปรียบเทียบดําเนินการ ดังนี้
(๑) หากผู มี อํ า นาจเปรี ย บเที ย บพิ จ ารณาแล ว เห็ น ว า เป น คดี ที่ มี อํ า นาจเปรี ย บเที ย บได
และสมควรเปรี ย บเที ยบ โดยเห็ น ว า ผู ต องหาหรื อผู ก ระทํ าความผิ ดไมค วรถู ก ดํา เนิน คดีท างศาล
หรือไดรับโทษ ถึงจําคุก ใหผูมีอํานาจเปรียบเทียบดําเนินการเปรียบเทียบใหแลวเสร็จโดยไมชักชา
และแจ ง ให ผู ต อ งหาหรื อ ผู ก ระทํ า ความผิ ด นํ า เงิ น ค า ปรั บ มาชํ า ระให แ ล ว เสร็ จ ภายใน ๑๕ วั น
นับแต วัน ที่มี คํา สั่ง ให เปรียบเที ยบ ถา ผูต องหาหรือ ผูก ระทํา ความผิด ไม สามารถชํ าระเงิน คา ปรั บ
ไดภายในกําหนดเวลา ใหผูมอี ํานาจเปรียบเทียบสงเรื่องใหพนักงานสอบสวนดําเนินคดีตอไป
(๒) หากผูมี อํา นาจเปรี ยบเที ยบพิจ ารณาแล วเห็น วา เป น คดีที่ ไม มีอํ านาจเปรีย บเทีย บได
หรือไมสมควรเปรียบเทียบ ใหผูมีอํานาจเปรียบเทียบสงเรื่องใหพนักงานสอบสวนดําเนินคดีตอไป
กรณีที่ไมสมควรเปรียบเทียบตามความใน (๒) ใหผูมีอํานาจเปรียบเทียบพิจารณาจากลักษณะ
หรือพฤติก ารณ ของผูตองหาหรือผู กระทําความผิ ดและการกระทําผิ ด เชน มีก ารกระทํ าความผิ ด
เปนกระบวนการ มีการกระทําผิดซ้ําซาก ผลของความเสียหายที่เกิดขึ้น พฤติการณที่แสดงใหเห็นวา
ผูตองหาหรือผูกระทําความผิดจงใจปฏิบัติอันเปนการฝาฝนตอกฎหมาย
หนา ๑๘
เลม ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๗๔ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๔ มิถนุ ายน ๒๕๕๓
ขอ ๑๒ กรณีที่พนักงานสอบสวนซึ่งมิไดรับมอบอํานาจตามขอ ๖ เปนผูพบเห็นการกระทํา
ความผิ ด และในระหว า งการสอบสวน ผู ต อ งหาหรื อ ผู ก ระทํ า ความผิ ด ยิ น ยอมให เ ปรี ย บเที ย บ
ใหพนักงานสอบสวนสงเรื่องอัน ประกอบดวยสําเนารายงานการสอบสวน คํารองขอใหเปรียบเทียบ
(แบบ ปท.๒) ตามขอ ๑๐ และเอกสารที่เกี่ยวของ มายังผูมีอํานาจเปรียบเทียบ ภายในเจ็ดวันนับแต
วันที่ผูนั้นแสดงความยินยอมใหเปรียบเทียบ
ขอ ๑๓ เมื่อผูตองหาหรือผูกระทําความผิดชําระเงินคาปรับแลว ใหผูมีอํานาจเปรียบเทียบ
ออกใบเสร็ จรั บ เงิ น โดยให ผู ต อ งหาหรื อ ผู ก ระทํ า ความผิ ดลงลายมื อ ชื่อ ไว เ ป น สํ าคั ญ ที่ ต อนล า ง
ของใบเสร็จรับเงินและที่สําเนาใบเสร็จรับเงินนั้นดวย เพื่อแสดงวาผูตองหาหรือผูกระทําความผิดไดรับ
ทราบและตรวจความถูกตองแลว พรอมทั้งสงมอบใบเสร็จรับเงินตนฉบับใหแกผูตองหาหรือผูกระทํา
ความผิดรับไปและใหถือวาคดีอาญาเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
หมวด ๓
การรายงานและการควบคุม

ขอ ๑๔ ใหผูมีอํานาจเปรียบเทียบ จัดทํารายงานการเปรียบเทียบ (แบบ ปท.๓) ดังนี้


(๑) ในกรุงเทพมหานคร ใหจัดทํารายงานการเปรียบเทียบที่เกิดขึ้น ในแตละเดือนเสนอ
สํานักงานภายในวันที่ ๗ ของเดือนถัดไป
(๒) ในเขตจั ง หวั ด อื่ น ให จั ด ทํ า รายงานการเปรี ย บเที ย บที่ เ กิ ด ขึ้ น ในแต ล ะเดื อ นเสนอ
สํานักงานภายในวันที่ ๑๐ ของเดือนถัดไป
ขอ ๑๕ ใหสํานักงานรวบรวมรายงานผลการเปรียบเทียบเพื่อจัดทําสถิติเกี่ยวกับผูตองหา
หรือผู กระทําความผิ ด จํานวนคดีใ นแตละขอหาความผิด จํ านวนเงิน คาปรับ จํานวนเงิน ส งคลั ง
พรอมรายละเอียดอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งปญหาและอุปสรรคหรือขอเสนอแนะ (ถามี) เพื่อเสนอตอ
คณะกรรมการควบคุมทราบตอไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๓


จุรินทร ลักษณวิศิษฏ
รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข
ประธานกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล
(เอกสารแนบทาย)

๑. บัญชีอัตราการเปรียบเทียบแนบทายระเบียบคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอลวาดวย
หลักเกณฑการเปรียบเทียบ ตามพระราชบัญญัตคิ วบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล พ.ศ. ๒๕๕๑ (แบบ ปท.๑)
๒. คํารองขอใหเปรียบเทียบ (แบบ ปท.๒)
๓. แบบรายงานการเปรียบเทียบตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล พ.ศ. ๒๕๕๑ (แบบ ปท.๓)
(แบบ ปท.๑)
บัญชีอัตราการเปรียบเทียบแนบทายระเบียบคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล
วาดวยหลักเกณฑการเปรียบเทียบ
ตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล พ.ศ. ๒๕๕๑

ลําดับ ขอหาความผิด ระวางโทษ อัตราคาปรับกําหนด


ที่ ใหเปรียบเทียบปรับ
มาตรา ฐานความผิด มาตรา อัตราโทษ
ผู ผ ลิ ต หรื อนํ าเ ข าเ ค รื่ อง ดื่ ม
แอลกอฮอล ไม จั ด ให มี บ รรจุ
ภั ณ ฑ ฉลาก พร อมทั้ ง ข อความ จําคุกไมเกิน ๑ ป
มาตรา ๒๖ คํ า เ ตื อ น สํ า ห รั บ เ ค รื่ อ ง ดื่ ม หรือปรับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท
๑ มาตรา ๓๘
แอลกอฮอล ที่ ผ ลิ ต หรื อ นํ า เข า ๑๐๐,๐๐๐ บาท หรือ
หรื อ ไม ดํ าเนิ น การอื่ น ใดตามที่ ทั้งจําทั้งปรับ
คณะกรรมการควบคุมกําหนด

ขายเครื่ องดื่ มแอลกอฮอลใ นวั ด จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท


๒ มาตรา ๒๗ (๑) ห รื อ ส ถ า น ที่ สํ า ห รั บ ป ฏิ บั ติ มาตรา ๓๙ หรือปรับไมเกิน ครั้งที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
พิธีกรรมทางศาสนา ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ
ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
ทั้งจําทั้งปรับ
ขายเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล ใ น
สถานบริ การสาธารณสุ ขของรั ฐ จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท
๓ มาตรา ๒๗ (๒) สถานพยาบาลตามกฎหมาย มาตรา ๓๙ หรือปรับไมเกิน ครั้งที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
ว าด ว ยสถานพยาบาล และร า น ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ
ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
ขายยาตามกฎหมายวาดวยยา ทั้งจําทั้งปรับ

ขายเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล ใ น จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท


๔ มาตรา ๒๗ (๓) สถานที่ราชการ ยกเวน บริเ วณที่ มาตรา ๓๙ หรือปรับไมเกิน ครั้งที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
จัดไวเปนรานคาหรือสโมสร ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ
ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
ทั้งจําทั้งปรับ

ขายเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล ใ น จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท


๕ มาตรา ๒๗ (๔) หอพั กต า มกฎ หมา ยว าด ว ย มาตรา ๓๙ หรือปรับไมเกิน ครั้งที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
หอพัก ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ
ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
ทั้งจําทั้งปรับ

ขายเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล ใ น จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท


๖ มาตรา ๒๗ (๕) ส ถ า น ศึ ก ษ า ต า ม ก ฎ ห ม า ย มาตรา ๓๙ หรือปรับไมเกิน ครั้งที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
วาดวยการศึกษาแหงชาติ ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ
ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
ทั้งจําทั้งปรับ
-๒-

ลําดับ ขอหาความผิด ระวางโทษ อัตราคาปรับกําหนด


ที่ ฐานความผิด มาตรา อัตราโทษ ใหเปรียบเทียบปรับ
มาตรา
ขายเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล ใ นสถานี
บริ ก ารน้ํ า มั น เชื้ อเพลิ ง ตามกฎหมาย จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท
มาตรา ๒๗ วาดวยการควบคุมน้ํามันเชื้อเพลิงหรือ หรือปรับไมเกิน
๗ มาตรา ๓๙ ครัง้ ที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
(๖) ร า นค าในบริ เ วณสถานี บ ริ การน้ํ ามั น ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ
ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
เชื้อเพลิง ทั้งจําทั้งปรับ

ข า ย เ ค รื่ อ ง ดื่ ม แ อ ล ก อ ฮ อ ล ใ น
จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท
มาตรา ๒๗ สวนสาธารณะของทางราชการที ่ จั ด ไว
หรือปรับไมเกิน ครัง้ ที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
๘ (๗) เ พื ่ อ ก า ร พั ก ผ อ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น มาตรา ๓๙
๑๐,๐๐๐ บาท หรือ
โดยทั่วไป ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
ทั้งจําทั้งปรับ

ขายเครื่ อ งดื่ มแอลกอฮอล ใ นสถานที่ จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท


มาตรา ๒๗ อื่ น ที่ รั ฐ มนตรี ป ระกาศกํ า หนดโดย หรือปรับไมเกิน
๙ มาตรา ๓๙ ครัง้ ที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
(๘) ความเห็นชอบของคณะกรรมการ ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ
ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
ทั้งจําทั้งปรับ
ข า ย เ ค รื่ อ ง ดื่ ม แ อ ล ก อ ฮ อ ล
นอกเหนื อจาก วัน. ...... หรือเวลา...
(ที่กําหนด) จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท
๑๐ มาตรา ๒๘ แตมิใหใชบังคับกับการขายของผูผลิ ต มาตรา ๓๙ หรือปรับไมเกิน ครัง้ ที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
ผูนําเขา หรือตั วแทนของผูผลิต หรือผู ๑๐,๐๐๐ บาท หรื อ
ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
นําเขาไปยังผูขายซึ่งไดรับอนุญาตตาม ทั้งจําทั้งปรับ
กฎหมายวาดวยสุรา

จําคุกไมเกิน ๑ ป ครั้งที่ ๑ ๖,๐๐๐ บาท


มาตรา ๒๙ ขายเครื่องดื่มแอลกอฮอลให แกบุคคล หรือปรับไมเกิน
๑๑ (๑) มาตรา ๔๐ ครัง้ ที่ ๒ ๑๒,๐๐๐ บาท
ซึ่งมีอายุต่ํากวายี่สิบปบริบูรณ ๒๐,๐๐๐ บาท หรือ
ครั้งที่ ๓ ๒๐,๐๐๐ บาท
ทั้งจําทั้งปรับ
จําคุกไมเกิน ๑ ป ครั้งที่ ๑ ๖,๐๐๐ บาท
มาตรา ๒๙ ขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล ใหแกบุคคลที่
หรือ ปรับไมเกิน ครัง้ ที่ ๒ ๑๒,๐๐๐ บาท
๑๒ (๒) มีอาการมึนเมาจนครองสติไมได มาตรา ๔๐
๒๐,๐๐๐ บาท หรือ
ครั้งที่ ๓ ๒๐,๐๐๐ บาท
ทั้งจําทั้งปรับ
-๓ -

ลําดับ ขอหาความผิด ระวางโทษ อัตราคาปรับกําหนด


ที่ มาตรา ฐานความผิด มาตรา อัตราโทษ ใหเปรียบเทียบปรับ

จําคุกไมเกิน ๑ ป
๑๓ ขายเครื่องดื่มแอลกอฮอลโดย หรือปรับไมเกิน
มาตรา ๓๐(๑) มาตรา ๔๐ ๒๐,๐๐๐ บาท
ใชเครื่องขายอัตโนมัติ ๒๐,๐๐๐ บาท หรือ
ทั้งจําทั้งปรับ

จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท


ขายเครื่องดื่มแอลกอฮอลโดย หรือปรับไมเกิน
๑๔ มาตรา ๓๐(๒) มาตรา ๔๑ ครัง้ ที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
การเรขาย ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ
ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
ทั้งจําทั้งปรับ

ขายเครื่องดื่มแอลกอฮอลโดย จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท


๑๕ มาตรา ๓๐ (๓) การลดราคาเพื่ อ ประโยชน มาตรา ๔๑ หรือปรับไมเกิน ครัง้ ที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
ในการสงเสริมการขาย ๑๐,๐๐๐ บาท หรื อ
ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
ทั้งจําทั้งปรับ

ขายเครื่องดื่มแอลกอฮอลโดย
ใหหรือเสนอใหสิทธิ ในการเขา
ชมการแข ง ขั น การแสดง การ
ให บริ การ การชิง โชค การชิ ง
รางวัล หรือสิทธิประโยชนอื่นใด จําคุกไมเกิน ๖ เดือน
มาตรา ๓๐ (๔) เป นการต อบแทน แก ผู ซื้ อ มาตรา ๔๑ หรือปรับไมเกิน ๑๐,๐๐๐ บาท
๑๖
เครื่องดื่มแอลกอฮอลหรือ แก ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ
ผู นํ าหี บ ห อ หรื อ สลากหรื อ สิ่ ง ทั้งจําทั้งปรับ
อื่ น ใ ด เ กี่ ย ว กั บ เ ค รื่ อ ง ดื่ ม
แอลกอฮอล ม าแลกเปลี่ ย น
หรือแลกซื้อ
-๔ -

ขอหาความผิด ระวางโทษ อัตราคาปรับกําหนด


ลําดับ
ที่ มาตรา ฐานความผิด มาตรา อัตราโทษ ใหเปรียบเทียบปรับ
ขายเครื่ องดื่ มแอลกอฮอล โดยแจก
แถม ให หรื อแลกเปลี่ ยนกั บ
เครื่องดื่มแอลกอฮอล หรือกับสินคา
อื่ น หรื อการให บริ การ อย างอื่ น
แลวแตกรณี หรือแจกจ ายเครื่องดื่ ม
จําคุกไมเกิน ๖ เดือน
แอลกอฮอล ในลักษณะเปนตัวอยาง
มาตรา ๓๐ (๕) หรือปรับไมเกิน
๑๗ ของเครื่ องดื่ มแอลกอฮอล หรื อเป น มาตรา ๔๑ ๑๐,๐๐๐ บาท
๑๐,๐๐๐ บาท หรือ
การจู ง ใจสาธารณชนให บ ริ โ ภค
ทั้งจําทั้งปรับ
เครื่ องดื่ มแอลกอฮอล รวมถึ งการ
กําหนดเงื่อนไขการขายในลั กษณะที่
เป นการบั งคั บซื้ อเครื่ องดื่ ม
แอลกอฮอลโดยทางตรงหรือทางออม

ขายเครื่องดื่ มแอลกอฮอล โดยวิ ธี จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท


หรือลักษณะอื่นใดตามที่ รัฐมนตรี หรือปรับไมเกิน
๑๘ มาตรา ๓๐ (๖) มาตรา ๔๑ ครัง้ ที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
ประกาศกําหนดโดยคําแนะนําของ ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ
คณะกรรมการ ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
ทั้งจําทั้งปรับ
บริโ ภคเครื่องดื่ มแอลกอฮอลใ น จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท
มาตรา ๓๑ (๑) วั ด หรื อ สถานที่ สํ า หรั บ ปฏิ บั ติ หรือปรับไมเกิน ครัง้ ที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
๑๙ มาตรา ๔๒
พิธีกรรมทางศาสนา เวนแตเป น ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ
ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
สวนหนึ่งของพิธีกรรมทางศาสนา ทั้งจําทั้งปรับ
บริ โภคเครื่ องดื่ มแอลกอฮอล ใ น
สถานบริ ก ารสาธารณสุ ขของรั ฐ จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท
สถานพยาบาลตามกฎหมายวาดวย หรือปรับไมเกิน
๒๐ มาตรา๓๑ (๒) มาตรา ๔๒ ครั้งที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
สถานพยาบาล และรานขายยาตาม ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ
ทั้งจําทั้งปรับ ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
กฎหมายวาดวยยา ยกเวนบริเวณที่
จัดไวเปนที่พักสวนบุคคล
บริ โภคเครื่ องดื่ มแอลกอฮอล ใ น จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท
สถานที่ราชการ ยกเวนบริเวณที่จั ด หรือปรับไมเกิน
๒๑ มาตรา ๓๑ (๓) มาตรา ๔๒ ครัง้ ที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
ไวเปนที่พักสวนบุคคล หรือสโมสร ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ
ทั้งจําทั้งปรับ ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
หรือการจัดเลี้ยงตามประเพณี
-๕-

ขอหาความผิด ระวางโทษ อัตราคาปรับกําหนด


ลําดับ
ที่ มาตรา ฐานความผิด มาตรา อัตราโทษ ใหเปรียบเทียบปรับ

บริ โ ภคเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล ใ น


สถานศึ ก ษาตามกฎหมายว า ด ว ย
การศึกษาแหงชาติ ยกเวนบริเวณที่
จั ด ไว เ ป น ที่ พั ก ส ว นบุ ค คล หรื อ
สโ มส ร หรื อการจั ด เ ลี้ ยง ต าม จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท
๒๒ มาตรา ๓๑ (๔) หรือปรับไมเกิน ครัง้ ที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
ประเพณี หรื อ สถานศึ ก ษาที่ ส อน มาตรา ๔๒
๑๐,๐๐๐ บาท หรือ ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
การผสมเครื่องดื่มแอลกอฮอลและ
ไดรับอนุญาตตามกฎหมาย วาดวย ทั้งจําทั้งปรับ
การศึกษาแหงชาติ

บริ โ ภคเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล ใ น


สถานี บ ริ ก ารน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ตาม
จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท
กฎหมายว าดว ยการควบคุ มน้ํามั น
มาตรา ๓๑ (๕) ครัง้ ที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
๒๓ เชื้ อ เพลิ ง หรื อ ร า นค า ในบริ เ วณ มาตรา ๔๒ หรือปรับไมเกิน
สถานีบริการน้ํามันเชื้อเพลิง ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
ทั้งจําทั้งปรับ

บริ โ ภคเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล ใ น


สวนสาธารณะของทางราชการที่จั ด จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท
๒๔ มาตรา ๓๑ (๖) ไว เ พื่ อ การพั กผ อนของประชาชน มาตรา ๔๒ หรือปรับไมเกิน ครัง้ ที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
โดยทั่วไป ๑๐,๐๐๐ บาท หรือ ครั้งที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
ทั้งจําทั้งปรับ

บริ โ ภคเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล ใ น


จําคุกไมเกิน ๖ เดือน ครั้งที่ ๑ ๓,๐๐๐ บาท
สถานที่ อื่ นที่ รั ฐมนตรี ประกาศ
หรือปรับไมเกิน
๒๕ มาตรา ๓๑ (๗) กํ า ห น ด โ ด ย คํ า แ น ะ นํ า ข อ ง มาตรา ๔๒ ครัง้ ที่ ๒ ๖,๐๐๐ บาท
๑๐,๐๐๐ บาท หรือ
คณะกรรมการ ครัง้ ที่ ๓ ๑๐,๐๐๐ บาท
ทั้งจําทั้งปรับ
-๖-

ลําดับ ขอหาความผิด ระวางโทษ อัตราคาปรับกําหนด


ที่ มาตรา ฐานความผิด มาตรา อัตราโทษ ใหเปรียบเทียบปรับ
การโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล
หรื อแสดงชื่ อหรื อเครื่ องหมายของ
เครื่ องดื่ มแอลกอฮอล อันเป นการ
อวดอ างสรรพคุ ณหรื อจู งใจให ผู อื่ น
ดื่มโดยตรงหรือโดยออม
จํ า คุ ก ไม เ กิ น ๑ ป
การโฆษณาหรือประชาสัมพันธ
ห รื อ ป รั บ ไ ม เ กิ น
ใดๆโดยผูผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล
๕๐๐,๐๐๐บาท หรือ
ที่ ไ ม เป น การให ขอมู ล ข าวสารและ
ทั้งจําทั้งปรับ ครั้งที่ ๑ ๕๐,๐๐๐ บาท
ความรูเชิงสรางสรรคสังคม
.......นอกจากมีโทษ
การโฆษณาหรื อประชาสั มพั นธ ครั้งที่ ๒ ๒๐๐,๐๐๐บาท
ใดๆโดยผูผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล ตามวรรคหนึ่ ง แล ว
มาตรา ๓๒ ครั้งที่ ๓ ๕๐๐,๐๐๐ บาท
๒๖ โดยมี การปรากฏภาพของสิ นค าหรื อ มาตรา ๔๓ ผู ฝ า ฝ น ยั ง มี โ ท ษ เวนแตเปนการโฆษณา
บรรจุภัณฑของเครื่องดื่ มแอลกอฮอล ปรับอีกวันละไมเกิน
โดยผูผลิตหรือผูนําเขา
นั้ น เว นแต เ ป น การปรากฏภาพ ๕๐,๐๐๐บาท ตลอด
เวลาที่ ยัง ฝาฝน หรื อ ใหปรับ ๕๐๐,๐๐๐ บาท
สัญลักษณ ของเครื่องดื่ มแอลกอฮอล
หรื อ สั ญ ลั ก ษณ ข องบริ ษั ท ผู ผ ลิ ต จนกว า จะได ป ฏิ บั ติ
เครื่องดื่มแอลกอฮอล ตามที่ กําหนด ใหถูกตอง
ในกฎกระทรวง
ทั้ ง นี้ ก าร ห า มโ ฆ ษ ณ า ห รื อ
ประชาสั มพั นธ ใ ดๆ มิ ใ ห ใช บั ง คั บ
กั บ การโฆษณาที่ มี ต น กํ า เนิ ด นอก
ราชอาณาจักร
ต อสู ขั ดขวางการปฏิ บั ติ หน าที่ ของ
พนักงานเจาหนาที่ในการที่จะ
(๑) เข าไปในสถานที่ ทําการของ
ผู ผ ลิ ต นํ าเข า หรื อขายเครื่ องดื่ ม
แอลกอฮอล สถานที่ เก็ บเครื่ องดื่ ม
(๑) และ (๒) จําคุก
แอลกอฮอล ในเวลาทํ า การของ
มาตรา ๓๔ ไมเกิน ๑ ปหรือปรับ
๒๗ สถานที่ นั้ น รวมถึ ง เข า ตรวจสอบ มาตรา ๔๔ ๒๐,๐๐๐ บาท
(๑) และ (๒) ไมเกิน ๒๐,๐๐๐ บาท
ยานพาหนะเพื่ อตรวจสอบการปฏิบั ติ
หรือทั้งจําทั้งปรับ
ตามพระราชบัญญัตินี้
(๒) ยึ ด หรื ออายั ด เครื่ องดื่ ม
แอลกอฮอล ของผู ผลิ ต ผู นํ าเข า หรื อ
ผู ขายที่ ฝ าฝ น หรื อ ไม ป ฏิ บั ติ ตาม
พระราชบัญญัตินี้
-๗ -

ลําดับ ขอหาความผิด ระวางโทษ อัตราคาปรับกําหนด


ที่ มาตรา ฐานความผิด มาตรา อัตราโทษ ใหเปรียบเทียบปรับ

(๓)ไม มาให ถ อยคํ าหรื อไม


ยิ นยอมให ถ อยคํ าโดยไม มีเหตุ อั น
สมควรต อพนั กงานเจ า หน าที่ ซึ่ ง
๒๘ (๓) ปรับไมเกิน
มาตรา ๓๔ (๓) ปฏิบัติตามหนาที่ใน (๓) หรือไมสง มาตรา ๔๔ ๒๐,๐๐๐ บาท
๒๐,๐๐๐ บาท
เอกสารหรื อ วั ต ถุ อื่ น ใดมาเพื่ อ
ป ร ะ ก อ บ ก า ร พิ จ า ร ณ า ข อ ง
พนักงานเจาหนาที่เมื่อถูกเรียกให
สงตาม (๓)

บุค คลที่ เกี่ ยวข องไมอํานวยความ


ปรับไมเกิน
๒๙ มาตรา ๓๖ ส ะ ด ว ก ต า ม ส ม ค ว ร ใ น ก า ร มาตรา ๔๔ ๒,๐๐๐ บาท
๒,๐๐๐ บาท
ปฏิบัติงานของพนักงานเจาหนาที่
ตามมาตรา ๓๔
(แบบ ปท. ๒)
คํารองขอใหเปรียบเทียบ

คดีที่................/................
ทําที่..................................................
.......................................................
วันที่.........เดือน......................พ.ศ. .............
ขาพเจา...................................... อายุ..........ป สัญชาติ...............เชื้อชาติ...................
อยูบานเลขที่.............หมูที่........ตรอก/ซอย..................................ถนน............................................
แขวง/ตําบล.........................เขต/อําเภอ...............................จังหวัด...............................................
โทร..............................เปนผูรับมอบอํานาจจาก.............................................................................
ตามหนังสือมอบอํานาจ เลขที่........................ลงวันที่.....เดือน...............พ.ศ. ..........(กรณีนิติบคุ คล)
ไดรับแจงจากผูมีอํานาจเปรียบเทียบวาขาพเจาไดกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตคิ วบคุม
เครื่องดื่มแอลกอฮอล พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา.................มีโทษตามมาตรา................ตองระวางโทษปรับ
.....................บาท ซึ่งเปนความผิดที่สามารถทําการเปรียบเทียบได และผูมีอํานาจเปรียบเทียบคดีพิจารณาแลว
เห็นวาเปนการกระทําความผิดเปนครั้งที่ ........... จึงเปรียบเทียบปรับเปนเงินจํานวน...........................บาท
(.................................................................................................)
ขาพเจารับทราบแลว ขอใหการรับสารภาพวาไดกระทําความผิดจริง และ
(๑) ขา พเจา ยิน ยอมให ผูมีอํ า นาจเปรี ย บเทีย บทํ าการเปรีย บเทียบปรับ เปน เงิน จํ า นวน
.........................บาท (.............................................................................) โดยขาพเจาจะนําเงินคาปรับ
จํานวนนี้มาชําระภายในวันที่...............เดือน..........................................พ.ศ. ....................................
(๒) หากข าพเจ า ไม นํา เงิ น ตามจํ า นวนดั งกลา วตาม (๑) มาชํ าระภายในเวลาที่ กํ า หนด
ใหพนักงานเจาหนาที่ดําเนินคดีตามกฎหมายตอไป
บันทึกนี้ เจาหนาที่ไดอานใหขาพเจาฟงและขาพเจาเขาใจดีแลว เห็นวาถูกตอง จึงลงลายมือชื่อ
ไวเปนสําคัญ

(ลงชื่อ)................................................ผูตองหาหรือผูกระทําความผิด
...............................................
(ลงชื่อ).........................................ผูมีอํานาจเปรียบเทียบ
............................................
(ลงชื่อ).................................................พนักงานเจาหนาที่
.............................................
(แบบ ปท. ๓)
รายงานการเปรียบเทียบตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดืม่ แอลกอฮอล พ.ศ. ๒๕๕๑
ประจําเดือน.............................พ.ศ. ...............
ชื่อหนวยงาน.................................................................................................................................
ชื่อผูตองหาหรือ วัน เดือน ป จํานวนเงิน จํานวนเงิน
ลําดับที่ เลขคดี ขอหา / มาตรา ปญหาและอุปสรรค หมายเหตุ
ผูกระทําความผิด ที่เปรียบเทียบ คาปรับ (บาท) สงคลัง

รวม

ชื่อผูรายงาน.............................................................
ตําแหนง....................................................................
โทรศัพท/โทรสาร............................................................

You might also like