You are on page 1of 80

คู‹มือปฏิบัติงาน

เกี่ยวกับการเปรียบเทียบในคดีความผิด
ตามพระราชบัญญัติแร‹ พ.ศ. ๒๕๖๐

1
2
คำนำ

คู่่�มืือปฏิิบััติิงานเกี่่�ยวกัับการเปรีียบเทีียบโดยคณะกรรมการเปรีียบเทีียบตามพระราชบััญญััติิแร่่
พ.ศ. ๒๕๖๐ จัั ด ทำขึ้้� น ภายใต้้ ง บประมาณ โครงการเพิ่่� ม ประสิิ ท ธิิ ภ าพการกำกัั บ ดูู แล และส่่งเสริิ ม
การประกอบการเหมืืองแร่่ ตามแนวอุุตสาหกรรมวิิถีีใหม่่ “เหมืืองแร่่ดีีคู่่�ชุุมชน” ประจำปีี พ.ศ. ๒๕๖๖
เพื่่�อใช้้เป็็นแนวทางพื้้�นฐานประกอบการปฏิิบััติิงานเปรีียบเทีียบ สำหรัับความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่
พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยมีีเป้้ า หมายเพื่่� อ ให้้ เ จ้้ า หน้้ า ที่่� กลุ่่� มอุุ ตส าหกรรมพื้้� น ฐานและการเหมืื อ งแร่่
สำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััด ตลอดจนเจ้้าหน้้าที่่�หน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้อง ได้้แก่่ สำนัักงานอุุตสาหกรรม
พื้้� น ฐานและการเหมืื อ งแร่่เขต และกรมอุุ ตส าหกรรมพื้้� น ฐานและการเหมืื อ งแร่่ ได้้ ใช้้ เ ป็็ น แนวทาง
ในการดำเนิิ น การเปรีียบเทีี ย บการกระทำความผิิ ด ตามพระราชบัั ญ ญัั ติิ แร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ให้้ เ ป็็ น ไป
ในทิิศทางเดีียวกััน และเป็็นไปตามห้้วงระยะเวลาของการดำเนิินการ
คู่่� มืื อ ฉบัั บนี้้� ไ ด้้ ร วบรวมขั้้� น ตอนและวิิ ธีีก ารปฏิิ บัั ติิ ใ นการดำเนิิ น การเปรีียบเทีี ย บ ตั้้� ง แต่่เมื่่� อ พบ
การกระทำความผิิ ด การรวบรวมเอกสาร การดำเนิิ น การเปรีียบเทีี ย บ จนเสร็็ จสิ้้� น กระบวนการ
พร้้อมมีีตััวอย่่างคดีีความ และเอกสารหลัักฐานประกอบการพิิจารณา เพื่่�อเป็็นไปตามพระราชบััญญััติิแร่่
พ.ศ. ๒๕๖๐ และระเบีียบกระทรวงอุุ ตส าหกรรม ว่่าด้้ ว ยการเปรีียบเทีี ย บในคดีีความผิิ ด
ตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ ตลอดจนกฎหมายอื่่�นที่่�เกี่่�ยวข้้อง
คณะทำงานหวัั ง เป็็ น อย่่างยิ่่� ง ว่่า คู่่� มืื อ ฉบัั บนี้้� จ ะเป็็ น ประโยชน์์ แ ก่่เจ้้ า หน้้ า ที่่� ผู้้� ปฏิิ บัั ติิ ง าน
ให้้มีีความรู้้�ความเข้้าใจอย่่างถููกต้้อง มีีการดำเนิินการที่่�เป็็นระบบและมีีบรรทััดฐานเดีียวกัันต่่อไป

นายวิิษณุุ ทัับเที่่�ยง
หััวหน้้าผู้้�ตรวจราชการกระทรวงอุุตสาหกรรม
ประธานคณะทำงานฯ

3
สารบััญ
หน้้าที่่�
คำนำ ๓
สารบััญ ๔
บทที่่� ๑ หลัักกฎหมายที่่�เกี่่�ยวข้้อง ๖
๑. หลัักกฎหมายอาญาทั่่�วไป ๖
๑.๑ โทษทางอาญา ๖
๑.๒ อายุุความอาญา ๗
๑.๓ โครงสร้้างความรัับผิิดทางอาญา ๗
๒. หลัักกฎหมายวิิธีีพิิจารณาความอาญา ๗
๒.๑ ผู้้�ต้้องหาในคดีีอาญา ๗
๒.๒ เขตอำนาจศาล ๗
๒.๓ คดีีอาญาเลิิกกััน ๘
๒.๔ การเปรีียบเทีียบในคดีีอาญา ๙
๓. ความผิิดทางอาญาตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๙
๓.๑ การจำแนกกลุ่่�มความผิิดทางอาญาตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๙
๓.๒ พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่� ๑๐
๓.๓ ความรัับผิิดของผู้้�แทนนิิติิบุุคคล ๑๐
๓.๔ ความรัับผิิดของผู้้�สนัับสนุุน ๑๐
๓.๕ คณะกรรมการเปรีียบเทีียบ ๑๑
๓.๖ วิิธีีพิิจารณาการเปรีียบเทีียบ ๑๑

บทที่่� ๒ ความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๒

4
หน้้าที่่�
บทที่่� ๓ ขั้้�นตอนการปฏิิบััติิงานการเปรีียบเทีียบ ๑๗
ผัังขั้้�นตอนการเปรีียบเทีียบตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๑

บทที่่� ๔ ตััวอย่่างการดำเนิินการด้้านเอกสารและแบบฟอร์์ม ๒๒
(๑) แบบฟอร์์มและเอกสารที่่�ใช้้เมื่่�อพบการกระทำผิิด การรายงานผู้้�บัังคัับบััญชา ๒๔
และการรวบรวมพยานหลัักฐาน
(๒) แบบฟอร์์มและเอกสารในขั้้�นตอนสรุุปรายงานการตรวจสอบส่่งคณะกรรมการ ๔๑
เปรีียบเทีียบ การเชิิญประชุุมคณะกรรมการ และการวิินิิจฉััยของคณะกรรมการ
(๓) แบบฟอร์์มและเอกสารในขั้้�นตอนแจ้้งผลการเปรีียบเทีียบ การรัับชำระค่่าปรัับ ๕๑
การบัันทึึกผลการเปรีียบเทีียบ และการรายงานผล

บทที่่� ๕ หลัักกฎหมายและแนวปฏิิบััติิตามหนัังสืือตอบข้้อหารืือหรืือหนัังสืือสั่่�งการที่่�ผ่่านมา
และประเด็็นที่่�ผู้้�ปฏิิบััติิงานพึึงให้้ความสำคััญ ๕๙
๕.๑ หลัักกฎหมายและแนวปฏิิบััติิตามหนัังสืือตอบข้้อหารืือหรืือหนัังสืือสั่่�งการที่่�ผ่่านมา ๕๙
๕.๒ ประเด็็นที่่�ผู้้�ปฏิิบััติิงานพึึงให้้ความสำคััญ ๖๐

บรรณานุุกรม ๖๒
ภาคผนวก ๖๓
คณะผู้้�จััดทำ ๗๘

5
บทที่่�

หลัักกฎหมายที่่�เกี่่�ยวข้้อง
กรณีีมีีการฝ่่ า ฝืื น หรืื อ ไม่่ปฏิิ บัั ติิ ต ามกฎหมาย บุุ คค ลนั้้� น จะมีีความรัั บ ผิิ ด ทางอาญา เมื่่� อ กฎหมายนั้้� น
กำหนดเป็็นความผิิดและกำหนดโทษทางอาญาไว้้ และเมื่่�อมีีการกระทำความผิิดในทางอาญาเกิิดขึ้้�นจะต้้องมีีการนำตััว
ผู้้�กระทำผิิดมาลงโทษตามกฎหมาย เพื่่�อเป็็นการป้้องปรามการกระทำความผิิดหรืือมิิให้้มีีการกระทำความผิิดเกิิดขึ้้น� อีีก
ซึ่่�งโทษที่่�จะลงแก่่ผู้้�กระทำความผิิดนั้้�นมีีทั้้�งโทษที่่�มุ่่�งบัังคัับเอากัับชีีวิิตหรืือเสรีีภาพของบุุคคล เช่่น ประหารชีีวิิต
จำคุุก หรืือกัักขััง ส่่วนโทษที่่�มุ่่�งบัังคัับเอากัับทรััพย์์สิิน เช่่น ปรัับ หรืือริิบทรััพย์์ “โทษปรัับ” จึึงเป็็นโทษที่่�จะลงแก่่
ผู้้�กระทำความผิิดประเภทหนึ่่�งที่่�บััญญััติิไว้้ในประมวลกฎหมายอาญา ที่่�มุ่่�งบัังคัับเอากัับทรััพย์์สิินของผู้้�กระทำผิิด
และโทษปรัับถือื เป็็นโทษที่่มีี� บััญญััติไิ ว้้ในความผิิดต่่าง ๆ จำนวนมาก ทั้้�งที่่เ� ป็็นโทษปรัับสถานเดีียว หรืือที่่เ� ป็็นทั้้�งโทษจำคุุก
และปรัับ
การชำระเงิินค่่าปรัับนั้้�นมีีทั้้�งกรณีีที่่�ชำระค่่าปรัับก่่อนที่่�จะมีีการฟ้้องผู้้�กระทำความผิิดต่่อศาล และหลัังจาก
ที่่�ศาลได้้มีีคำพิิพากษาแล้้ว ซึ่่�งการชำระค่่าปรัับก่่อนที่่�จะมีีการฟ้้องผู้้�กระทำความผิิดต่่อศาลนั้้�น จะเป็็นการชำระ
ค่่าปรัับตามที่่�เจ้้าพนัักงานกำหนด หรืือตามที่่�คณะกรรมการเปรีียบเทีียบตามกฎหมายนั้้�นกำหนด ในการชำระค่่าปรัับ
ก่่อนที่่�จะมีีการฟ้้องผู้้�กระทำความผิิดต่่อศาลไม่่ว่่าจะเกิิดจากการเปรีียบเทีียบของเจ้้าพนัักงานหรืือคณะกรรมการ
เปรีียบเทีียบนั้้�น ผลของการชำระค่่าปรัับทำให้้คดีีอาญาเลิิกกัันและทำให้้สิิทธิินำคดีีอาญามาฟ้้องในความผิิดดัังกล่่าว
เป็็นอัันระงัับ
๑. หลัักกฎหมายอาญาทั่่�วไป
๑.๑ โทษทางอาญา
ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๑๘ ได้้กำหนดโทษไว้้ ๕ สถาน คืือ ประหารชีีวิิต จำคุุก กัักขััง
ปรัับ ริิบทรััพย์์สิิน
(๑) โทษประหารชีีวิิต กฎหมายกำหนดให้้ดำเนิินการด้้วยวิิธีีฉีีดยาหรืือสารพิิษให้้ตาย
(๒) โทษจำคุุ ก ให้้ เริ่่� ม แต่่วัั น มีีคำพิิ พ ากษา แต่่ถ้้ า ผู้้�ต้้ อ งคำพิิ พ ากษาถููกคุุ มขัั ง ก่่อนศาลพิิ พ ากษา
ให้้หัักจำนวนวัันที่่�ถููกคุุมขัังก่่อนศาลพิิพากษาออกจากระยะเวลาจำคุุก
(๓) โทษกัักขััง เป็็นโทษจำกััดเสรีีภาพในร่่างกายแต่่เบากว่่าโทษจำคุุก ผู้้�ต้้องโทษกัักขัังจะถููกกัักตััวไว้้
ในสถานที่่�กัักขัังซึ่่�งมิิใช่่เรืือนจำ หรืือเป็็นโทษที่่�เปลี่่�ยนจากโทษจำคุุกมาเป็็นกัักขัังแทน กรณีีหากผู้้�กระทำความผิิด
ซึ่่�งมีีโทษจำคุุก และในคดีีนั้้�นศาลจะลงโทษจำคุุกไม่่เกิินสามเดืือน ถ้้าไม่่ปรากฏว่่าผู้้�นั้้�นได้้รัับโทษจำคุุกมาก่่อน
หรืือปรากฏว่่าได้้รัับโทษจำคุุกมาก่่อนแต่่เป็็นโทษสำหรัับความผิิดที่่�ได้้กระทำโดยประมาท หรืือความผิิดลหุุโทษ
ศาลจะให้้ลงโทษกัักขัังไม่่เกิินสามเดืือนแทนโทษจำคุุกนั้้�นก็็ได้้
(๔) โทษปรัับ ผู้้�ใดต้้องโทษปรัับ ผู้้�นั้้�นจะต้้องชำระเงิินตามจำนวนที่่�กำหนดไว้้ในคำพิิพากษาต่่อศาล
กรณีีไม่่ชำระค่่าปรัับภายในสามสิิบวัันนัับแต่่วัันที่่�ศาลพิิพากษา ศาลจะยึึดทรััพย์์สิินเพื่่�อใช้้ค่่าปรัับ หรืือสั่่�งให้้กัักขััง
แทนค่่าปรัับ แต่่ถ้้าศาลเห็็นว่่าผู้้�นั้้�นจะหลีีกเลี่่�ยงไม่่ชำระค่่าปรัับ ศาลจะสั่่�งเรีียกประกัันหรืือจะสั่่�งให้้กัักขัังผู้้�นั้้�น
แทนค่่าปรัับไปก่่อนก็็ได้้
(๕) โทษริิบทรััพย์สิ์ นิ ได้้แก่่ ทรััพย์์สินิ ซึ่ง่� บุุคคลได้้ใช้้ หรืือมีีไว้้เพื่่�อใช้้ในการกระทำความผิิด หรืือทรััพย์์สินิ
ซึ่่�งบุุคคลได้้มาโดยได้้กระทำความผิิด เว้้นแต่่เป็็นทรััพย์์สิินของผู้้�อื่่�นซึ่่�งมิิได้้รู้้�เห็็นเป็็นใจด้้วยในการกระทำความผิิด
6
๑.๒ อายุุความอาญา
มาตรา ๙๕ แห่่งประมวลกฎหมายอาญา ที่่� บัั ญ ญัั ติิ ว่่ า “ในคดีีอาญา ถ้้ า มิิ ไ ด้้ ฟ้้ อ งและได้้ ตัั ว
ผู้้�กระทำความผิิดมายัังศาลภายในกำหนดดัังต่่อไปนี้้� นัับแต่่วัันกระทำความผิิด เป็็นอัันขาดอายุุความ
(๑) ยี่่�สิิบปีี สำหรัับความผิิดต้้องระวางโทษประหารชีีวิิต จำคุุกตลอดชีีวิิต หรืือจำคุุกยี่่�สิิบปีี
(๒) สิิบห้้าปีี สำหรัับความผิิดต้้องระวางโทษจำคุุกกว่่าเจ็็ดปีีแต่่ยัังไม่่ถึึงยี่่�สิิบปีี
(๓) สิิบปีี สำหรัับความผิิดต้้องระวางโทษจำคุุกกว่่าหนึ่่�งปีีถึึงเจ็็ดปีี
(๔) ห้้าปีี สำหรัับความผิิดต้้องระวางโทษจำคุุกกว่่าหนึ่่�งเดืือนถึึงหนึ่่�งปีี
(๕) หนึ่่�งปีี สำหรัับความผิิดต้้องระวางโทษจำคุุกตั้้�งแต่่หนึ่่�งเดืือนลงมาหรืือต้้องระวางโทษอย่่างอื่่�น…”
๑.๓ โครงสร้้างความรัับผิิดทางอาญา
การจะวิินิิจฉััยความรัับผิิดทางอาญานั้้�น ต้้องพิิจารณาหลัักเกณฑ์์ตามโครงสร้้างความรัับผิิดทางอาญา
ซึ่่�งประกอบด้้วย ๓ ส่่วน ตามลำดัับ คืือ
๑) การพิิจารณาว่่ามีีการกระทำครบองค์์ประกอบความผิิดตามที่่�กฎหมายบััญญััติิไว้้
- องค์์ประกอบภายนอก เป็็นองค์์ประกอบของความผิิดแต่่ละฐาน ประกอบด้้วย (๑) ผู้้�กระทำ
(๒) การกระทำ (๓) ผลของการกระทำ (๔) ความสััมพัันธ์์ระหว่่างการกระทำและผล
- องค์์ประกอบภายใน เป็็นสิ่่ง� ที่่อ� ยู่่ภ� ายในจิิตใจของบุุคคล เป็็นส่่วนสำคััญในการกำหนดความรัับผิิด
ของบุุคคล โดยหลัักแล้้วบุุคคลจะต้้องรัับผิิดเมื่่�อได้้กระทำโดยเจตนา เว้้นแต่่กฎหมายบััญญััติิให้้ต้้องรัับผิิดเมื่่�อได้้กระทำ
โดยประมาท หรืือกฎหมายบััญญััติโิ ดยแจ้้งชััดให้้ต้อ้ งรัับผิิดแม้้ได้้กระทำโดยไม่่มีีเจตนา การกระทำ ให้้หมายความรวมถึึง
การให้้เกิิดผลอัันหนึ่่�งอัันใดขึ้้�นโดยงดเว้้นการที่่�จัักต้้องกระทำเพื่่�อป้้องกัันผลนั้้�นด้้วย
๒) การกระทำนั้้�น ๆ ไม่่มีีกฎหมายยกเว้้นความผิิด
๓) การกระทำนั้้�นไม่่มีีกฎหมายยกเว้้นโทษ
๒. หลัักกฎหมายวิิธีีพิิจารณาความอาญา
๒.๑ ผู้้�ต้้องหาในคดีีอาญา
ผู้้�ต้้องหา ตามประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณาความอาญามาตรา ๒ (๒) หมายถึึง บุุคคลผู้้�ถููกกล่่าวหา
ว่่าได้้กระทำความผิิด แต่่ยัังไม่่ได้้ถููกฟ้้องต่่อศาล จากความหมายของผู้้�ต้้องหาดัังกล่่าว จะเห็็นได้้ว่่าผู้้�ต้้องหานั้้�น
เป็็นเพีียงผู้้�ต้้องสงสััยว่่าได้้กระทำความผิิดเท่่านั้้�น แต่่การที่่�เขาจะกระทำความผิิดจริิงหรืือไม่่นั้้�น ยัังต้้องมีีการพิิสููจน์์
ข้้อเท็็จจริิงและพยานหลัักฐานต่่าง ๆ ตามองค์์ประกอบความผิิดที่่�ถููกกล่่าวหา
จำเลย ตามประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณาความอาญามาตรา ๒ (๓) หมายถึึง บุุคคล ซึ่่�งถููกฟ้้อง
ยัังศาลแล้้วโดยข้้อหาว่่าได้้กระทำความผิิด
๒.๒ เขตอำนาจศาล
เมื่่�อพบการกระทำผิิดต้้องดำเนิินคดีีอาญา ภายในอายุุความต่่อศาลที่่�มีีเขตอำนาจ ตามมาตรา ๒๒
แห่่งประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณาความอาญา ที่่�บััญญััติิว่่า “เมื่่�อความผิิดเกิิดขึ้้�น อ้้างหรืือเชื่่�อว่่าได้้เกิิดขึ้้�นในเขตอำนาจ
ของศาลใด ให้้ชำระที่่�ศาลนั้้�น แต่่ถ้้า
(๑) เมื่่�อจำเลยมีีที่่�อยู่่� หรืือถููกจัับในท้้องที่่�หนึ่่�งหรืือเมื่่�อเจ้้าพนัักงานทำการสอบสวนในท้้องที่่�หนึ่่�ง
นอกเขตของศาลดัังกล่่าวแล้้ว จะชำระที่่�ศาลซึ่่�งท้้องที่่�นั้้�น ๆ อยู่่�ในเขตอำนาจก็็ได้้
(๒) เมื่่� อ ความผิิ ด เกิิ ด ขึ้้� น นอกราชอาณาจัั ก รไทยให้้ ช ำระคดีีนั้้� น ที่่� ศ าลอาญา ถ้้ า การสอบสวน
ได้้กระทำลงในท้้องที่่�หนึ่่�งซึ่่�งอยู่่�ในเขตของศาลใด ให้้ชำระที่่�ศาลนั้้�นได้้ด้้วย”
7
๒.๓ คดีีอาญาเลิิกกััน
เมื่่�อคดีีอาญาเลิิกกัันตามประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณาความอาญา มาตรา ๓๗ ทำให้้สิิทธิินำคดีีอาญา
มาฟ้้องเป็็นอัันระงัับไปตามมาตรา ๓๙ (๓)
คดีีอาญาเลิิกกัันได้้ ดัังต่่อไปนี้้�
(๑) ในคดีีมีีโทษปรัับสถานเดีียว เมื่่�อผู้้�กระทำผิิดยิินยอมเสีียค่่าปรัับในอััตราอย่่างสููงสำหรัับความผิิดนั้้�น
แก่่พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�ก่่อนศาลพิิจารณา
(๒) ในคดีีความผิิดที่่�เป็็นลหุุโทษหรืือความผิิดที่่�มีีอััตราโทษไม่่สููงกว่่าความผิิดลหุุโทษหรืือคดีีอื่่�น
ที่่�มีีโทษปรัับสถานเดีียวอย่่างสููงไม่่เกิินหนึ่่�งหมื่่�นบาท หรืือความผิิดต่่อกฎหมายเกี่่�ยวกัับภาษีีอากรซึ่่�งมีีโทษปรัับ
อย่่างสููงไม่่เกิินหนึ่่�งหมื่่�นบาท เมื่่�อผู้้�ต้้องหาชำระค่่าปรัับตามที่่�พนัักงานสอบสวนได้้เปรีียบเทีียบแล้้ว
(๓) ในคดีีความผิิ ด ที่่� เ ป็็ น ลหุุ โ ทษหรืื อ ความผิิ ด ที่่� มีีอัั ต ราโทษไม่่สููงกว่่าความผิิ ด ลหุุ โ ทษหรืื อ
คดีีที่่� มีี โทษปรัั บสถ านเดีียวอย่่างสููงไม่่เกิิ น หนึ่่� ง หมื่่� น บาท ซึ่่� ง เกิิ ด ในกรุุ ง เทพมหานครเมื่่� อ ผู้้�ต้้ อ งหาชำระค่่าปรัั บ
ตามที่่�นายตำรวจประจำท้้องที่่�ตั้้�งแต่่ตำแหน่่งสารวััตรขึ้้�นไป หรืือนายตำรวจชั้้�นสััญญาบััตรผู้้�ทำการในตำแหน่่งนั้้�น ๆ
ได้้เปรีียบเทีียบแล้้ว
(๔) ในคดีีซึ่่� ง เปรีียบเทีี ย บได้้ ต ามกฎหมายอื่่� น เมื่่� อ ผู้้�ต้้ อ งหาได้้ ช ำระค่่าปรัั บต ามคำเปรีียบเทีี ย บ
ของพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�แล้้ว
นอกจากนั้้�น ตามมาตรา ๓๘ ยัังกำหนดว่่า ถ้้าความผิิดตามอนุุมาตรา (๒) (๓) และ (๔) แห่่งมาตราก่่อน
ถ้้าเจ้้าพนัักงานดัังกล่่าวในมาตรานั้้�นเห็็นว่่าผู้้�ต้้องหาไม่่ควรได้้รัับโทษถึึงจำคุุก ให้้มีีอำนาจเปรีียบเทีียบดัังนี้้�
(๑) ให้้กำหนดค่่าปรัับซึ่่�งผู้้�ต้้องหาจะพึึงชำระ ถ้้าผู้้�ต้้องหาและผู้้�เสีียหายยิินยอมตามนั้้�น เมื่่�อผู้้�ต้้องหา
ได้้ชำระเงิินค่่าปรัับตามจำนวนที่่�เจ้้าหน้้าที่่�กำหนดให้้ภายในเวลาอัันสมควรแต่่ไม่่เกิินสิิบห้้าวัันแล้้ว คดีีนั้้�นเป็็นอััน
เสร็็จเด็็ดขาด
ถ้้าผู้้�ต้้องหาไม่่ยิินยอมตามที่่�เปรีียบเทีียบ หรืือเมื่่�อยิินยอมแล้้ว ไม่่ชำระเงิินค่่าปรัับภายในเวลากำหนด
ในวรรคก่่อน ให้้ดำเนิินคดีีต่่อไป
(๒) ในคดีีมีีค่่าทดแทน ถ้้าผู้้�เสีียหายและผู้้�ต้้องหายิินยอมให้้เปรีียบเทีียบให้้เจ้้าหน้้าที่่�กะจำนวน
ตามที่่�เห็็นควรหรืือตามที่่�คู่่�ความตกลงกััน
กรณีีคดีีอาญาเลิิกกันั ตามมาตรา ๓๗ (๑) นั้้�น เป็็นกรณีีที่่คดีี � อาญานั้้�นมีีโทษปรัับสถานเดีียว เมื่่อ� ผู้้�กระทำผิิด
ยิินยอมเสีียค่่าปรัับในอััตราอย่่างสููงสำหรัับความผิิดนั้้�นแก่่พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�ก่่อนศาลพิิจารณา ย่่อมแสดงให้้เห็็น
อยู่่�ในตััวว่่าผู้้�กระทำผิิดได้้ยอมรัับผิิดและยอมรัับโทษเต็็มตามที่่�กฎหมายบััญญััติิไว้้ คดีีจึึงไม่่จำเป็็นที่่�จะต้้องดำเนิินการ
อะไรอีีก มาตรา ๓๗ (๑) จึึงบััญญััติิให้้คดีีอาญาเลิิกกัันทัันทีี และย่่อมส่่งผลให้้สิิทธิินำคดีีอาญามาฟ้้องระงัับไป
แต่่ในกรณีีตามมาตรา ๓๗ (๒) (๓) และ (๔) นั้้�น เป็็นกรณีีที่่คดีี � อาญาเลิิกกันั เพราะผู้้�ต้้องหาชำระค่่าปรัับ
ตามคำเปรีียบเทีียบของเจ้้าพนัักงาน ซึ่่�งหาใช่่เป็็นกรณีีที่่�ผู้้�ต้้องหายอมรัับผิิดและยอมรัับโทษเต็็มตามที่่�กฎหมายบััญญััติิ
เหมืือนดัังกรณีีตามมาตรา ๓๗ (๑) ไม่่ หากแต่่เป็็นกรณีีที่่�ผู้้�ต้้องหาและผู้้�เสีียหายยิินยอมเลิิกคดีีกัันตามคำเปรีียบเทีียบ
ของเจ้้าพนัักงาน กฎหมายจึึงบััญญััติิหลัักเกณฑ์์และวิิธีีการเปรีียบเทีียบเอาไว้้ในมาตรา ๓๘

8
๒.๔ การเปรีียบเทีียบในคดีีอาญา
ต้้องทำตามหลัักเกณฑ์์ในมาตรา ๓๘ ตามประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณาความอาญา ดัังนี้้�
(๑) เจ้้าพนัักงานผู้้�มีีอำนาจเปรีียบเทีียบเห็็นว่่าผู้้�ต้้องหาควรได้้รัับโทษจำคุุก ดัังนั้้�น ถ้้าเจ้้าพนัักงาน
เห็็นว่่าไม่่ควรเปรีียบเทีียบ ซึ่่ง� อาจเป็็นไปตามนโยบายเพื่่�อการปราบปรามก็็อาจไม่่เปรีียบเทียี บ โดยส่่งให้้พนัักงานอััยการ
ฟ้้องร้้องต่่อศาล เพื่่�อให้้ศาลลงโทษจำคุุกจำเลย แต่่เมื่่�อฟ้้องศาลแล้้ว ศาลอาจใช้้ดุลุ พิินิจิ ปรัับจำเลยโดยไม่่ลงโทษจำคุุกก็ไ็ ด้้
(๒) ในคดีีมีีค่่าทดแทน เจ้้าพนัักงานจะกำหนดค่่าปรัับที่่�ผู้้�ต้้องหาจะพึึงชำระ โดยทั้้�งผู้้�ต้้องหาและ
ผู้้�เสีียหายยิินยอมด้้วยทั้้�งสองฝ่่าย ถ้้าฝ่่ายใดไม่่ยิินยอมจะเปรีียบเทีียบไม่่ได้้ ถ้้ายิินยอมทั้้�งสองฝ่่าย เจ้้าพนัักงาน
จะกำหนดให้้ผู้้�ต้อ้ งหานำค่่าปรัับมาชำระภายใน ๑๕ วััน ถ้้าชำระเรีียบร้้อยคดีีก็็เสร็็จเด็็ดขาด ถ้้าไม่่ชำระ คดีีก็็ยังั ไม่่เลิิกกันั
ต้้องดำเนิินคดีีต่่อไป
ทั้้�งนี้้� ต้้องพิิจารณาตามกฎหมายเฉพาะในเรื่่�องนั้้�น ๆ ประกอบกัับประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณา
ความอาญาข้้างต้้นด้้วย

๓. ความผิิดทางอาญาตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐


พระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็็นการปรัับปรุุงกฎหมาย ที่่�เกี่่�ยวกัับการบริิหารจััดการแร่่ โดยนำ
พระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๑๐ และพระราชบััญญััติิพิิกััดอััตราค่่าภาคหลวงแร่่ พ.ศ. ๒๕๐๙ มารวมไว้้ในฉบัับเดีียวกััน
เพื่่�อกำหนดนโยบายการบริิหารจััดการแร่่ให้้เกิิดดุุลยภาพได้้ดีียิ่่ง� ขึ้้น� โดยเพิ่่�มหลัักการสำคััญ ได้้แก่่ การกำหนดหลัักเกณฑ์์
การอนุุญาตและการกำกัับดููแลการทำเหมืืองให้้เหมาะสมกัับประเภทและขนาดของเหมืือง การกำหนดหลัักการ
มีีส่่วนร่่วมให้้องค์์กรปกครองส่่วนท้้องถิ่่�นและชุุมชนมีีส่่วนในการบริิหารจััดการมากขึ้้�น และการกำหนดโทษทางอาญา
เพิ่่�มมากขึ้้�นไปด้้วย
พระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ มีีบทบััญญััติิเกี่่�ยวกัับการกระทำความผิิดและบทกำหนดโทษทางอาญา
เพื่่�อลงโทษแก่่ผู้้�กระทำความผิิดที่่�เกี่่�ยวกัับแร่่ แต่่เนื่่�องจากการลงโทษทางอาญาเป็็นการกระทำที่่�เป็็นการกระทบ
กระเทืือนต่่อสิิทธิิและเสรีีภาพของบุุคคลจึึงต้้องมีีกฎหมายมารองรัับและให้้อำนาจไว้้ ดังั นั้้�น จึึงต้้องนำหลัักการ แนวคิิด
และทฤษฎีีต่่าง ๆ ที่่�เกี่่�ยวข้้องกัับการลงโทษผู้้�กระทำความผิิดทางอาญามาปรัับใช้้และให้้เหตุุผลในการกำหนด
บทลงโทษแก่่ผู้้�กระทำความผิิดตามกฎหมายว่่าด้้วยแร่่ให้้เกิิดความเหมาะสม
๓.๑ การจำแนกกลุ่่�มความผิิดทางอาญาตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐
สามารถจำแนกความผิิดโดยพิิจารณาจากความรุุนแรงของอััตราโทษที่่�จะลงแก่่ผู้้�กระทำความผิิด
โดยสรุุปได้้ดัังนี้้�
๑) กลุ่่�มความผิิดที่่�มีีโทษจำคุุกเกิิน ๖ เดืือน อาทิิเช่่น สำรวจแร่่โดยไม่่ได้้รัับอนุุญาต (มาตรา ๓๘)
ทำเหมืืองโดยไม่่ได้้รับั อนุุญาต (มาตรา ๕๒) ไม่่ฟื้้�นฟููสภาพพื้้�นที่่ท� ำเหมืืองตามแผนฟื้้�นฟูู พััฒนา ใช้้ประโยชน์์ และเฝ้้าระวััง
ผลกระทบต่่อคุุณภาพสิ่่ง� แวดล้้อมและสุุขภาพของประชาชนระหว่่างทำเหมืืองและหลัังปิิดเหมืือง (มาตรา ๖๘ (๘)) ฯลฯ
๒) กลุ่่� มค วามผิิ ด ที่่� มีี โทษจำคุุ ก ไม่่เกิิ น ๖ เดืื อ น และสามารถทำการเปรีียบเทีี ย บได้้ อาทิิ เช่่น
พบโบราณวััตถุุหรืือซากดึึกดำบรรพ์์ไม่่แจ้้งต่่อเจ้้าพนัักงานอุุตสาหกรรมแร่่ประจำท้้องที่่� (มาตรา ๓๔) ผู้้�ถืืออาชญาบััตร
สำรวจแร่่ไม่่ปฏิิบััติิตามหลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ และเงื่่�อนไขเกี่่�ยวกัับการสำรวจแร่่ (มาตรา ๔๑ วรรคสาม) ผู้้�ถืืออาชญาบััตร
ผููกขาดสำรวจแร่่ไม่่ยื่่�นรายงานผลการสำรวจภายในระยะเวลาที่่�กำหนด และไม่่ยื่่�นรายงานผลการสำรวจทั้้�งหมด
ภายใน ๓๐ วัั น ก่่อนอาชญาบัั ต รผููกขาดสำรวจแร่่สิ้้� น อายุุ (มาตรา ๔๔) ผู้้�ถืื อ อาชญาบัั ต รพิิ เ ศษ
ไม่่ยื่่�นรายงานผลการสำรวจภายในระยะเวลาที่่�กำหนด และไม่่ยื่่�นรายงานผลการสำรวจทั้้�งหมดภายใน ๓๐ วััน
ก่่อนอาชญาบััตรพิิเศษสิ้้�นอายุุ (มาตรา ๕๐) ไม่่จััดทำรายงานหรืือจััดทำรายงานเท็็จเกี่่�ยวกัับการซื้้�อ ขาย ครอบครอง
เก็็บ แต่่ง ประกอบโลหกรรม หรืือใช้้แร่่ ตามหลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ และเงื่่�อนไขที่่�กำหนด (มาตรา ๑๐๑ วรรคสอง) ฯลฯ
9
๓) กลุ่่�มความผิิดที่่มีี� โทษปรัับสถานเดีียว คืือ การนำทรััพย์์สินิ หรืือของกลางไปใช้้หรืือแสวงหาประโยชน์์
(มาตรา ๑๕๑ วรรคสอง)
การกำหนดความรัั บ ผิิ ด ทางอาญาในกฎหมายว่่าด้้ ว ยแร่่เป็็ น การลงโทษผู้้�กระทำความผิิ ด
ที่่�ฝ่่าฝืืนมาตรการทางกฎหมายหรืือคำสั่่�งของเจ้้าพนัักงานที่่�รััฐกำหนดขึ้้�น กฎหมายว่่าด้้วยแร่่มีีจุุดประสงค์์เพื่่�อควบคุุม
หรืือป้้องกัันความเสีียหายอัันจะก่่อให้้เกิิดกัับบุุคคล สััตว์์ พืืช และสิ่่�งแวดล้้อม มากกว่่าการมุ่่�งเน้้นการลงโทษ
ผู้้�กระทำความผิิดแต่่เพีียงอย่่างเดีียว กำหนดให้้ความผิิดเกืือบทุุกฐานความผิิดมีีโทษจำคุุกรวมอยู่่ด้� ว้ ย ซึ่ง่� อาจเป็็นสาเหตุุหลััก
ที่่� ท ำให้้ เ กิิ ด อุุ ป สรรคต่่อการประกอบกิิ จก ารที่่� เ กี่่� ย วกัั บ แร่่ และในความผิิ ด บางฐานที่่� ส ามารถเปรีียบเทีี ย บได้้
หากผู้้�ประกอบการถููกลงโทษปรัั บ ในทางอาญา ถ้้ า การลงโทษไม่่สอดคล้้ อ งระหว่่างอัั ต ราโทษกัั บ รายได้้ ข อง
ผู้้�กระทำความผิิดก็็อาจทำให้้เกิิดความไม่่เท่่าเทีียมกัันระหว่่างผู้้�ประกอบการที่่�มีีรายได้้น้้อยและผู้้�ประกอบการที่่�ร่่ำรวย
ทำให้้ผู้้�ประกอบการที่่ร่่� ำรวยไม่่เกรงกลััวต่่อการกระทำความผิิดที่่เ� กิิดขึ้้น� หรืือเกิิดความไม่่เป็็นธรรมและเกิิดความเหลื่่อ� มล้้ำ
ต่่อการบัังคัับใช้้กฎหมายระหว่่างผู้้�ประกอบการที่่เ� ป็็นนิิติบุิ คค ุ ลหรืือบุุคคลธรรมดา อัันเนื่่�องมาจากการกำหนดบทลงโทษปรัับ
ที่่�มีีอััตราตายตััวหรืือกรณีีการกำหนดค่่าปรัับต่่ำเกิินควร หากผู้้�ประกอบการต้้องทำตามกฎหมายจะต้้องเสีียค่่าใช้้จ่่าย
มากกว่่าค่่าปรัับ ก็็อาจทำให้้ผู้้�ประกอบการเลืือกทางฝ่่าฝืืนกฎหมายโดยการเสีียค่่าปรัับแทน ดัังนั้้�น การกำหนดโทษ
ให้้มีีความสอดคล้้องกัับการกระทำความผิิดที่่�เกิิดขึ้้�นให้้มีีความเหมาะสมจึึงมีีความสำคััญอย่่างมากในการกำหนด
การลงโทษความผิิดทางอาญาในกฎหมายว่่าด้้วยแร่่
๓.๒ พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�
“พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�” ตามความหมายของพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ซึ่่�งนิิยามไว้้ในมาตรา ๔
หมายถึึง เจ้้าพนัักงานอุุตสาหกรรมแร่่ประจำท้้องที่่�และเจ้้าพนัักงานซึ่่�งรััฐมนตรีีแต่่งตั้้�งให้้ปฏิิบััติิตามพระราชบััญญััติินี้้�
โดยมีีอำนาจหน้้าที่่ต� ามที่่ก� ำหนดไว้้ในมาตรา ๑๔๓ และมาตรา ๑๔๖ กำหนดให้้พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่ต� ามพระราชบััญญััติแิ ร่่
พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็็ น เจ้้ า พนัั ก งานตามประมวลกฎหมายอาญา เพื่่� อ ประโยชน์์ ใ นการจัั บกุุ มผู้้�ก ระทํํ า ความผิิ ด
ตามพระราชบััญญััติินี้้� ให้้พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�เป็็นพนัักงาน ฝ่่ายปกครอง หรืือตํํารวจตามประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณา
ความอาญา
๓.๓ ความรัับผิิดของผู้้�แทนนิิติิบุุคคล
พระราชบััญญััติแิ ร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้้กำหนดไว้้ในมาตรา ๑๘๑ ว่่า “ในกรณีีผู้้�กระทำความผิิดเป็็นนิิติบุิ คค ุ ล
ถ้้าการกระทำความผิิดของนิิติิบุุคคลนั้้�น เกิิดจากการสั่่�งการหรืือการกระทำของกรรมการ หรืือผู้้�จััดการ หรืือบุุคคลใด
ซึ่่�งรัับผิิดชอบในการดำเนิินงานของนิิติิบุุคคลนั้้�น หรืือในกรณีีที่่�บุุคคลดัังกล่่าวมีีหน้้าที่่�ต้้องสั่่�งการหรืือกระทำการ
และละเว้้นไม่่สั่่�งการหรืือไม่่กระทำการจนเป็็นเหตุุให้้นิิติิบุุคคลนั้้�นกระทำความผิิด ผู้้�นั้้�นต้้องรัับโทษตามที่่�บััญญััติิ
ไว้้สำหรัับความผิิดนั้้�น ๆ ด้้วย” เช่่น ผู้้�แทนนิิติิบุุคคลของบริิษััทจำกััด คืือ กรรมการผู้้�จััดการ ผู้้�แทนนิิติิบุุคคล
ของห้้างหุ้้�นส่่วนจำกััด คืือ หุ้้�นส่่วนผู้้�จััดการ หรืือบุุคคลใดซึ่่�งรัับผิิดชอบการดำเนิินการใด ๆ ของนิิติิบุุคคลนั้้�น เช่่น
ผู้้�ได้้ รัั บม อบหมายจากนิิ ติิ บุุ คค ลให้้ มีี อำนาจหน้้ า ที่่� รัั บ ผิิ ด ชอบในเรื่่� อ งนั้้� น ที่่� เ ป็็ น ผู้้�แสดงเจตนาผ่่านนิิ ติิ บุุ คค ล
ที่่�ได้้ดำเนิินการสั่่�งการหรืือกระทำการ หรืือมีีหน้้าที่่�ต้้องสั่่�งการหรืือกระทำการได้้ละเว้้นไม่่สั่่�งการหรืือไม่่กระทำการ
จนเป็็นเหตุุให้้เกิิดการกระทำความผิิด ต้้องรัับผิิดเป็็นการส่่วนตััวร่่วมกัับนิิติิบุุคคลสำหรัับความผิิดนั้้�นๆ ด้้วย
๓.๔ ความรัับผิิดของผู้้�สนัับสนุุน
พระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้้กำหนดไว้้ในมาตรา ๑๗๗ ว่่า “ผู้้�สนัับสนุุนหรืือผู้้�ได้้รัับผลตอบแทน
จากการกระทำความผิิ ด ตามพระราชบัั ญ ญัั ติิ นี้้� ต้้ อ งระวางโทษเช่่นเดีียวกัั บตัั ว การในความผิิ ด นั้้� น ” ดัั ง นั้้� น
หากความรัับผิิดของตััวการเป็็นความผิิดที่่�สามารถเปรีียบเทีียบได้้ก็็สามารถเปรีียบเทีียบกัับผู้้�สนัับสนุุนได้้เช่่นเดีียวกััน

10
๓.๕ คณะกรรมการเปรีียบเทีียบ
พระราชบััญญััติแิ ร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้้กำหนดไว้้ในมาตรา ๑๗๘ ว่่า “บรรดาความผิิดตามพระราชบััญญััตินี้้ิ �
ที่่�มีีโทษจำคุุกไม่่เกิินหกเดืือนหรืือมีีโทษปรัับสถานเดีียว ให้้คณะกรรมการเปรีียบเทีียบมีีอำนาจเปรีียบเทีียบได้้
ตามระเบีียบที่่� รัั ฐ มนตรีีกำหนดเมื่่� อ ผู้้�ต้้ อ งหาได้้ ช ำระเงิิ น ค่่าปรัั บต ามจำนวนที่่� เ ปรีียบเทีี ย บภายในสามสิิ บวัั น
นัับแต่่วัันที่่�มีีการเปรีียบเทีียบแล้้ว ให้้ถืือว่่าคดีีเลิิกกัันตามบทบััญญััติิแห่่งประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณาความอาญา”
ซึ่่� ง เมื่่� อ พนัั ก งานเจ้้ า หน้้ า ที่่� ห รืื อ พนัั ก งานสอบสวน พบหรืื อ ตรวจพบการกระทำความผิิ ด ที่่� มีี โทษตามที่่� ก ำหนด
ในมาตรา ๑๗๘ ก็็ให้้ส่่งเรื่่�องให้้เจ้้าพนัักงานอุุตสาหกรรมแร่่ประจำท้้องที่่�ในท้้องที่่�เกิิดเหตุุ เพื่่�อดำเนิินการส่่งเรื่่�อง
ให้้คณะกรรมการเปรีียบเทีียบดำเนิินการพิิจารณาเปรีียบเทีียบ
มาตรา ๑๗๙ ได้้กำหนดให้้คณะกรรมการเปรีียบเทีียบความผิิดประกอบด้้วยบุุคคล ดัังนี้้�
(๑) กรณีีการกระทำความผิิดเกิิดขึ้้�นในเขตกรุุงเทพมหานคร คณะกรรมการเปรีียบเทีียบ ประกอบด้้วย
ผู้้�แทนสำนัักงานอััยการสููงสุุดเป็็นประธานกรรมการ ผู้้�แทนสำนัักงานตำรวจแห่่งชาติิเป็็นกรรมการ และผู้้�แทน
กรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่เป็็นกรรมการและเลขานุุการ
(๒) กรณีีการกระทำความผิิดเกิิดขึ้้�นในเขตจัังหวััดอื่่�น คณะกรรมการเปรีียบเทีียบ ประกอบด้้วย อััยการ
จัังหวััดซึ่่�งเป็็นหััวหน้้าที่่�ทำการอััยการจัังหวััดเป็็นประธานกรรมการ ผู้้�บัังคัับการตำรวจภููธรจัังหวััดเป็็นกรรมการ
และเจ้้าพนัักงานอุุตสาหกรรมแร่่ประจำท้้องที่่�เป็็นกรรมการและเลขานุุการ
๓.๖ วิิธีีพิิจารณาการเปรีียบเทีียบ
เป็็นไปตามระเบีียบกระทรวงอุุตสาหกรรมว่่าด้้วยการเปรีียบเทีียบในคดีีความผิิดตามพระราชบััญญััติแิ ร่่
พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑

11
บทที่่�

ความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐
พระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็็นกฎหมายที่่�มีีบทบััญญััติิว่่าด้้วยความผิิดและโทษรวมอยู่่�ด้้วย การกระทำ
ที่่�ถืือเป็็นความผิิดและโทษตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ จะเป็็นความผิิดทั้้�งทางแพ่่งและอาญา โดยความรัับผิิด
ทางแพ่่งได้้กำหนดไว้้ใน หมวด ๑๓ ความรัับผิิดทางแพ่่ง และความผิิดทางอาญา แบ่่งออกเป็็นส่่วนหลััก ๆ คืือ
๑) บรรดาความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่่�มีีบทกำหนดโทษตามหมวด ๑๕ ที่่�มีีโทษจำคุุก
ไม่่เกิินหกเดืือนหรืือมีีโทษปรัับสถานเดีียว คณะกรรมการเปรีียบเทีียบมีีอำนาจเปรีียบเทีียบได้้ตามระเบีียบที่่�รััฐมนตรีี
กำหนด ตามแสดงในตารางที่่� ๒. ๑ และ
๒) บรรดาความผิิดตามพระราชบััญญััติแิ ร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่่ไ� ม่่อยู่่ใ� นอำนาจของคณะกรรมการเปรีียบเทีียบ ตาม ๑)
ต้้องส่่งพนัักงานสอบสวนท้้องที่่�ที่่�เกิิดเหตุุเพื่่�อดำเนิินคดีี
นอกจากนั้้� น มาตรา ๑๘๐ ยัั ง กำหนดเพิ่่� ม เติิ ม ในกรณีีที่่� ค วามผิิ ด ตามพระราชบัั ญ ญัั ติิ แร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐
ได้้กระทำในเขตควบคุุมแร่่ตามมาตรา ๒๒ วรรคหนึ่่�ง หรืือฝ่่าฝืืนหลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ หรืือมาตรการที่่�กำหนดในประกาศ
ตามมาตรา ๒๒ วรรคสอง ผู้้�ฝ่่าฝืืนต้้องระวางโทษสำหรัับความผิิดนั้้�น ๆ เป็็นสองเท่่า
และกรณีีผู้้�กระทำความผิิดเป็็นนิิติิบุุคคล ถ้้าการกระทำความผิิดของนิิติิบุุคคลนั้้�นเกิิดจากการสั่่�งการหรืือ
การกระทำของกรรมการ หรืือผู้้�จััดการ หรืือบุุคคลใดซึ่่�งรัับผิิดชอบในการดำเนิินงานของนิิติิบุุคคลนั้้�น หรืือในกรณีีที่่�
บุุคคลดัังกล่่าวมีีหน้้าที่่�ต้้องสั่่�งการหรืือกระทำการและละเว้้นไม่่สั่่�งการหรืือไม่่กระทำการจนเป็็นเหตุุให้้นิิติิบุุคคลนั้้�น
กระทำความผิิด ผู้้�นั้้�นต้้องรัับโทษตามที่่�บััญญััติิไว้้สำหรัับความผิิดนั้้�น ๆ ด้้วย ตามที่่�กำหนดไว้้ในมาตรา ๑๘๑
สำหรัับการพิิจารณาอายุุความของการกระทำความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ไม่่ได้้กำหนดไว้้
ดัังนั้้�น จึึงต้้องพิิจารณาตามหมวด ๙ มาตรา ๙๕ แห่่งประมวลกฎหมายอาญา ซึ่่�งกำหนดอายุุความไว้้ดัังนี้้�
(๑) อายุุความยี่่�สิิบปีี สำหรัับความผิิดต้้องระวางโทษประหารชีีวิิต จำคุุกตลอดชีีวิิต หรืือจำคุุกยี่่�สิิบปีี
(๒) อายุุความสิิบห้้าปีี สำหรัับความผิิดต้้องระวางโทษจำคุุกกว่่าเจ็็ดปีีแต่่ยัังไม่่ถึึงยี่่�สิิบปีี
(๓) อายุุความสิิบปีี สำหรัับความผิิดต้้องระวางโทษจำคุุกกว่่าหนึ่่�งปีีถึึงเจ็็ดปีี
(๔) อายุุความห้้าปีี สำหรัับความผิิดต้้องระวางโทษจำคุุกกว่่าหนึ่่�งเดืือนถึึงหนึ่่�งปีี
(๕) อายุุความหนึ่่�งปีี สำหรัับความผิิดต้้องระวางโทษจำคุุกตั้้�งแต่่หนึ่่�งเดืือนลงมาหรืือต้้องระวางโทษอย่่างอื่่�น

12
ตารางที่่� ๒.๑ ตารางแจกแจงรายละเอีียดการกระทำความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่่�อยู่่�ในอำนาจของ
คณะกรรมการเปรีียบเทีียบ

ความผิิด ฐานความผิิด บทกำหนดโทษ/อััตราโทษ อายุุความ


ตามมาตรา (ปีี)
๓๓ ยึึดถืือหรืือครอบครองพื้้�นที่่�ในเขตเหมืืองแร่่ ม. ๑๕๔ จำคุุกไม่่เกิิน ๑ เดืือน หรืือ ๑
โดยไม่่มีีสิิทธิิโดยชอบด้้วยกฎหมาย ปรัับไม่่เกิิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
๓๔ ไม่่แจ้้งการพบโบราณวััตถุุ ซากดึึกดำบรรพ์์ ม. ๑๕๔ จำคุุกไม่่เกิิน ๑ เดืือน หรืือ ๑
แร่่หรืือสิ่่�งที่่�มีีโครงสร้้างทางธรณีีวิิทยา ปรัับไม่่เกิิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
ที่่�มีีลัักษณะทางกายภาพเป็็นพิิเศษ
อัันมีีคุุณค่่าเกี่่ย� วกัับการศึึกษาวิิจัยั หรืืออนุุรักษ์
ั ์
๔๑ ฝ่่าฝืืนหรืือไม่่ปฏิิบััติิตามหลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ ม. ๑๕๖ จำคุุกไม่่เกิิน ๒ เดืือน หรืือ ๕
วรรคสาม และเงื่่�อนไขเกี่่�ยวกัับการสำรวจแร่่ ตามที่่� ปรัับไม่่เกิิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
รััฐมนตรีีประกาศกำหนด รวมทั้้�งเงื่่�อนไข
ที่่�กำหนดไว้้ในอาชญาบััตรสำรวจแร่่
๔๓ ฝ่่าฝืืนหรืือไม่่ปฏิิบััติิตามเงื่่�อนไขที่่�กำหนดไว้้ ม. ๑๕๗ จำคุุกไม่่เกิิน ๓ เดืือน หรืือ ๕
วรรคสาม ในอาชญาบััตรผููกขาดสำรวจแร่่ ปรัับไม่่เกิิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท หรืือ
ทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
๔๓ ฝ่่าฝืืนหรืือไม่่ปฏิิบััติิตามหลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ ม. ๑๕๗ จำคุุกไม่่เกิิน ๓ เดืือน หรืือ ๕
วรรคสี่่� และเงื่่�อนไขเกี่่�ยวกัับการสำรวจแร่่ ตามที่่� ปรัับไม่่เกิิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท หรืือ
รััฐมนตรีีประกาศกำหนด รวมทั้้�งเงื่่�อนไข ทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
ที่่�กำหนดไว้้ในอาชญาบััตรผููกขาดสำรวจแร่่
๔๔ ไม่่ยื่่�นรายงานผลการดำเนิินงานและ ม. ๑๕๗ จำคุุกไม่่เกิิน ๓ เดืือน หรืือ ๕
การสำรวจตามอาชญาบััตรผููกขาดสำรวจแร่่ ปรัับไม่่เกิิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท หรืือ
ภายในระยะเวลาและตามแบบที่่�อธิิบดีี ทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
กำหนด
๔๗ ฝ่่าฝืืนหรืือไม่่ปฏิิบััติิตามเงื่่�อนไขที่่�กำหนดไว้้ ม. ๑๕๘ จำคุุกไม่่เกิิน ๖ เดืือน หรืือ ๕
วรรคสาม ในอาชญาบััตรพิิเศษ ปรัับไม่่เกิิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท หรืือ
ทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
๔๗ ฝ่่าฝืืนหรืือไม่่ปฏิิบััติิตามหลัักเกณฑ์์ วิิธีีการ ม. ๑๕๘ จำคุุกไม่่เกิิน ๖ เดืือน หรืือ ๕
วรรคสี่่� และเงื่่�อนไขเกี่่�ยวกัับการสำรวจแร่่ ตามที่่� ปรัับไม่่เกิิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท หรืือ
รััฐมนตรีีประกาศกำหนด รวมทั้้�งเงื่่�อนไข ทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
ที่่�กำหนดไว้้ในอาชญาบััตรพิิเศษ

13
ความผิิด ฐานความผิิด บทกำหนดโทษ/อััตราโทษ อายุุความ
ตามมาตรา (ปีี)
๔๘ ฝ่่าฝืืนหรืือไม่่ปฏิิบััติิตามเงื่่�อนไขและ ม. ๑๕๘ จำคุุกไม่่เกิิน ๖ เดืือน หรืือ ๕
วรรคหนึ่่�ง ข้้อผููกพัันที่่�กำหนดไว้้ในอาชญาบััตรพิิเศษ ปรัับไม่่เกิิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท หรืือ
ทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
๕๐ ไม่่ยื่่�นรายงานผลการดำเนิินงานและ ม. ๑๕๘ จำคุุกไม่่เกิิน ๖ เดืือน หรืือ ๕
การสำรวจตามอาชญาบััตรพิิเศษ ปรัับไม่่เกิิน ๒๐๐,๐๐๐ บาท หรืือ
ภายในระยะเวลาและตามแบบที่่�อธิิบดีี ทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
กำหนด
๖๘ ปิิดกั้้�น ทำลาย ทางหลวงหรืือทางน้้ำ ม. ๑๖๐ (๒) จำคุุกไม่่เกิิน ๒ เดืือน หรืือ ๕
(๔) สาธารณะโดยไม่่ได้้รัับอนุุญาต ปรัับไม่่เกิิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
และปรัับอีีกไม่่เกิินวัันละ ๕๐,๐๐๐ บาท
ตลอดระยะเวลาที่่�ไม่่ได้้ปฏิิบััติิให้้ถููกต้้อง
หรืือหยุุดการกระทำนั้้�น
๖๘ ทดน้้ำหรืือชัักน้้ำจากทางน้้ำสาธารณะ ม. ๑๖๐ (๒) จำคุุกไม่่เกิิน ๒ เดืือน หรืือ ๕
(๕) โดยไม่่ได้้รัับอนุุญาต ปรัับไม่่เกิิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
และปรัับอีีกไม่่เกิินวัันละ ๕๐,๐๐๐ บาท
ตลอดระยะเวลาที่่�ไม่่ได้้ปฏิิบััติิให้้ถููกต้้อง
หรืือหยุุดการกระทำนั้้�น
๖๘ ทิ้้�งหรืือยอมให้้ผู้้�อื่่�นนำมููลดิินทรายทิ้้�ง ม. ๑๖๐ (๒) จำคุุกไม่่เกิิน ๒ เดืือน หรืือ ๕
(๖) ออกนอกเขตเหมืืองแร่่ โดยไม่่ได้้รัับอนุุญาต ปรัับไม่่เกิิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
และปรัับอีีกไม่่เกิินวัันละ ๕๐,๐๐๐ บาท
ตลอดระยะเวลาที่่�ไม่่ได้้ปฏิิบััติิให้้ถููกต้้อง
หรืือหยุุดการกระทำนั้้�น
๖๘ ไม่่แจ้้งพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�โดยพลััน กรณีีที่่� ม. ๑๖๐ (๔) จำคุุกไม่่เกิิน ๒ เดืือน หรืือ ๕
(๑๑) หลัักหมายเขตเหมืืองแร่่หรืือหมุุดหลัักฐาน ปรัับไม่่เกิิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
การแผนที่่� ที่่�ทำไว้้สููญหายหรืือถููกทำลาย
๖๘ ไม่่รายงานการทำเหมืืองให้้ถููกต้้อง ม. ๑๖๐ (๔) จำคุุกไม่่เกิิน ๒ เดืือน หรืือ ๕
(๑๒) ตามความเป็็นจริิงตามหลัักเกณฑ์์และ ปรัับไม่่เกิิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
วิิธีีการที่่�อธิิบดีีประกาศกำหนด
๗๑ ยอมให้้ผู้้�อื่่�นรัับช่่วงการทำเหมืือง ม. ๑๖๑ จำคุุกไม่่เกิิน ๒ เดืือน หรืือ ๕
โดยไม่่ได้้รัับอนุุญาต ปรัับไม่่เกิิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ

14
ความผิิด ฐานความผิิด บทกำหนดโทษ/อััตราโทษ อายุุความ
ตามมาตรา (ปีี)
๗๒ โอนประทานบััตร โดยไม่่ได้้รัับอนุุญาต ม. ๑๖๑ จำคุุกไม่่เกิิน ๒ เดืือน หรืือ ๕
ปรัับไม่่เกิิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
๙๔ ขุุดหาแร่่รายย่่อยโดยไม่่ได้้รัับอนุุญาต ม. ๑๖๒ จำคุุกไม่่เกิิน ๑ เดืือน หรืือ ๑
วรรคหนึ่่�ง ปรัับไม่่เกิิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
๙๔ ฝ่่าฝืืนหรืือไม่่ปฏิิบััติิตามเงื่่�อนไขที่่� ม. ๑๖๒ จำคุุกไม่่เกิิน ๑ เดืือน หรืือ ๑
วรรคสอง เจ้้าพนัักงานท้้องถิ่่�นกำหนด ในการป้้องกััน ปรัับไม่่เกิิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
มิิให้้เกิิดผลกระทบต่่อสิ่่ง� แวดล้้อมอัันเกิิดจาก
การขุุดหาแร่่รายย่่อย
๙๕ ร่่อนแร่่โดยไม่่ได้้รัับอนุุญาต ม. ๑๖๒ จำคุุกไม่่เกิิน ๑ เดืือน หรืือ ๑
วรรคหนึ่่�ง ปรัับไม่่เกิิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ

๙๕ ฝ่่าฝืืนหรืือไม่่ปฏิิบััติิตามวิิธีีการร่่อนแร่่ ม. ๑๖๒ จำคุุกไม่่เกิิน ๑ เดืือน หรืือ ๑


วรรคสอง ที่่รั� ัฐมนตรีีประกาศกำหนด ปรัับไม่่เกิิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
๙๖ ฝ่่าฝืืนหรืือไม่่ปฏิิบััติิตามข้้อบััญญััติิท้้องถิ่่�น ม. ๑๖๒ จำคุุกไม่่เกิิน ๑ เดืือน หรืือ ๑
เกี่่ย� วกัับการขุุดหาแร่่รายย่่อยและการร่่อนแร่่ ปรัับไม่่เกิิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
๙๗ ซื้้�อแร่่ ขายแร่่ ครอบครองแร่่ หรืือขนแร่่ ม. ๑๖๓ จำคุุกไม่่เกิิน ๖ เดืือน หรืือ ๕
ที่่�ยัังมิิได้้มีีการชำระค่่าภาคหลวงแร่่ ปรัับตั้้�งแต่่ ๑ เท่่าถึึง ๕ เท่่าของมููลค่่าแร่่
หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
๑๐๑ ไม่่จััดทำรายงานการซื้้�อ การขาย ม. ๑๖๕ จำคุุกไม่่เกิิน ๒ เดืือน หรืือ ๕
วรรคสอง การครอบครองการเก็็บ การแต่่งแร่่ ปรัับไม่่เกิิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรืือ
การประกอบโลหกรรม หรืือการใช้้แร่่ ทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
ตามที่่�อธิิบดีีประกาศกำหนด หรืือรายงาน
เป็็นเท็็จ
๑๐๔ ไม่่แจ้้งการนำแร่่เข้้าหรืือส่่งออกนอก ม. ๑๖๖ (๓) จำคุุกไม่่เกิิน ๒ เดืือน หรืือ ๕
(๓) ราชอาณาจัักรหรืือเขตไหล่่ทวีีป ปรัับไม่่เกิิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
ซึ่่�งชนิิด สภาพและปริิมาณแร่่ ที่่�รััฐมนตรีี
ประกาศกำหนด
๑๐๗ ฝ่่าฝืืนหรืือไม่่ปฏิิบััติิตามหลัักเกณฑ์์และ ม. ๑๖๑ จำคุุกไม่่เกิิน ๒ เดืือน หรืือ ๕
วิิธีีการที่่�รััฐมนตรีีประกาศกำหนดเกี่่�ยวกัับ ปรัับไม่่เกิิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
การแต่่งแร่่

15
ความผิิด ฐานความผิิด บทกำหนดโทษ/อััตราโทษ อายุุความ
ตามมาตรา (ปีี)
๑๑๒ ฝ่่าฝืืนหรืือไม่่ปฏิิบััติิตามหลัักเกณฑ์์และ ม. ๑๖๑ จำคุุกไม่่เกิิน ๒ เดืือน หรืือ ๕
วิิธีีการที่่�รััฐมนตรีีประกาศกำหนดเกี่่�ยวกัับ ปรัับไม่่เกิิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
การประกอบโลหกรรม
๑๑๖ โอนใบอนุุญาตแต่่งแร่่ หรืือโอนใบอนุุญาต ม. ๑๖๑ จำคุุกไม่่เกิิน ๒ เดืือน หรืือ ๕
ประกอบโลหกรรม โดยไม่่ได้้รัับอนุุญาต ปรัับไม่่เกิิน ๖๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
๑๒๒ ทำลาย ดััดแปลง เคลื่่�อนย้้าย ถอน ม. ๑๕๔ จำคุุกไม่่เกิิน ๑ เดืือน หรืือ ๑
หลัักหมายเขตเหมืืองแร่่ หรืือหมุุดหลัักฐาน ปรัับไม่่เกิิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
การแผนที่่� โดยไม่่ได้้รัับอนุุญาต
๑๔๓ ขััดขวางหรืือไม่่อำนวยความสะดวก ม. ๑๗๒ จำคุุกไม่่เกิิน ๑ เดืือน หรืือ ๑
(๒) แก่่พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่� หรืือไม่่ปฏิิบััติิตาม ปรัับไม่่เกิิน ๓๐,๐๐๐ บาท หรืือทั้้�งจำทั้้�งปรัับ
คำสั่่�งพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�
๑๕๑ นำทรััพย์์สินิ หรืือของกลางที่่ไ� ด้้รับม
ั อบหมาย ม. ๑๗๓ ระวางโทษปรัับจำนวน ๒ เท่่า ๑
วรรคสอง ให้้เป็็นผู้้�เก็็บรัักษาไปใช้้หรืือแสวงหา ของประโยชน์์ที่่�ได้้รัับจากการใช้้หรืือ
ประโยชน์์ แสวงหาประโยชน์์

16
บทที่่�

ขั้้�นตอนการปฏิิบััติิงานการเปรีียบเทีียบ
เมื่่�อพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่� พบการกระทำความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ให้้พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�
ที่่�พบการกระทำความผิิดและผู้้�ที่่�เกี่่�ยวข้้องในกระบวนการเปรีียบเทีียบมีีหน้้าที่่�ดำเนิินการตามขั้้�นตอน ดัังนี้้�
๑. พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่ที่� พ่� บการกระทำความผิิด ทั้้�งจากสำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััด หรืือสำนัักงานอุุตสาหกรรม
พื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่เขต หรืือกรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่ แล้้วแต่่กรณีี มีีหน้้าที่่�ดำเนิินการ
รวบรวมผลการตรวจสอบข้้อเท็็จจริิง บัันทึึกการจัับกุุม (ถ้้ามีี) พร้้อมข้้อมููลพยานหลัักฐานหรืือเอกสารอื่่�น ๆ (ที่่�จำเป็็น)
กรณีีผู้้�กระทำความผิิดเป็็นนิิติบุิ คค ุ ลจะต้้องนำความตามมาตรา ๑๘๑ แห่่งพระราชบััญญััติแิ ร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาพิิจารณาด้้วย
และกรณีีพบของกลางที่่�มีีไว้้เป็็นความผิิด หรืือที่่�ใช้้ในการกระทำความผิิด หรืือมีีไว้้เพื่่�อใช้้กระทำความผิิด ให้้ดำเนิินการ
ตามคู่่�มืือการปฏิิบััติิงานเกี่่�ยวกัับของกลางการกระทำความผิิด และในส่่วนขั้้�นตอนดำเนิินการเปรีียบเทีียบให้้ปฏิิบััติิ
ตามแนวทาง ดัังนี้้�
๑.๑ กรณีีพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่พ� บการกระทำความผิิด เป็็นพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่ใ� นท้้องที่่เ� กิิดเหตุุ และอยู่่ใ� นสัังกััด
สำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััดที่่�ประทานบััตร อาชญาบััตร หรืือใบอนุุญาตตั้้�งอยู่่� ให้้เสนอเรื่่�องต่่อผู้้�บัังคัับบััญชา
ตามสายงาน เพื่่�อพิิจารณาตามข้้อ ๒
๑.๒ กรณีีพนัั ก งานเจ้้ า หน้้ า ที่่� พ บการกระทำความผิิ ด มิิ ไ ด้้ เ ป็็ น พนัั ก งานเจ้้ า หน้้ า ที่่� ใ นท้้ อ งที่่� เ กิิ ด เหตุุ
ให้้เสนอเรื่่�องตามสายบัังคัับบััญชาเพื่่�อส่่งเรื่่�องให้้สำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััดที่่�มีีพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�ในท้้องที่่�เกิิดเหตุุ
สัังกััดอยู่่� เพื่่�อดำเนิินการตามข้้อ ๖ ของระเบีียบกระทรวงอุุตสาหกรรมว่่าด้้วยการเปรีียบเทีียบในคดีีความผิิด
ตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ ต่่อไป
การพิิจารณาว่่าพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�ใดเป็็นพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�ในท้้องที่่�เกิิดเหตุุ ให้้เป็็นไปตามแนวทาง ดัังนี้้�
๑.๒.๑ กรณีีพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�ในสัังกััด กรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่ พบการกระทำ
ความผิิด โดยความผิิดเกิิดขึ้้�นในเขตจัังหวััดอื่่�นที่่�มิิใช่่กรุุงเทพมหานคร ในกรณีีนี้้�พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�ในสัังกััดสำนัักงาน
อุุตสาหกรรมจัังหวััดในท้้องที่่ค� วามผิิดเกิิด อ้้างหรืือเชื่่อ� ว่่าได้้เกิิดขึ้้น� ในเขตอำนาจ เป็็นพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่ใ� นท้้องที่่เ� กิิดเหตุุ เช่่น
กรณีีฐานความผิิดที่่�เกี่่�ยวกัับประทานบััตร อาชญาบััตร หรืือใบอนุุญาต สำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััด
ที่่�ประทานบััตร อาชญาบััตร หรืือใบอนุุญาตตั้้�งอยู่่� เป็็นพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�ในท้้องที่่�เกิิดเหตุุ
หรืือกรณีีความผิิดที่่�ไม่่ได้้ยึึดโยงกัับประทานบััตร อาชญาบััตร หรืือใบอนุุญาต เช่่น ความผิิดตามมาตรา
๑๕๑ วรรคสอง สำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััดที่่�พบการกระทำความผิิดเกิิดขึ้้�นในเขตอำนาจ เป็็นพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�
ในท้้องที่่�เกิิดเหตุุ
๑.๒.๒ กรณีีพนัั ก งานเจ้้ า หน้้ า ที่่� ใ นสัั ง กัั ด สำนัั ก งานอุุ ตส าหกรรมพื้้� น ฐานและการเหมืื อ งแร่่เขต
พบการกระทำความผิิด โดยการกระทำความผิิดเกิิดขึ้้น� ในเขตจัังหวััดที่่อ� ยู่่ใ� นความรัับผิิดชอบของสำนัักงานอุุตสาหกรรม
พื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่เขต ในกรณีีนี้้� พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่ใ� นสัังกััดสำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััดในท้้องที่่ค� วามผิิดเกิิด
อ้้างหรืือเชื่่�อว่่าได้้เกิิดขึ้้�นในเขตอำนาจ เป็็นพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�ในท้้องที่่�เกิิดเหตุุ เช่่น
กรณีีฐานความผิิดที่่�เกี่่�ยวกัับประทานบััตร อาชญาบััตร หรืือใบอนุุญาต สำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััด
ที่่�ประทานบััตร อาชญาบััตร หรืือใบอนุุญาตตั้้�งอยู่่� เป็็นพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�ในท้้องที่่�เกิิดเหตุุ

17
หรืือกรณีี ความผิิดที่่ไ� ม่่ได้้ยึึดโยงกัับประทานบััตร อาชญาบััตร หรืือใบอนุุญาต อุุตสาหกรรมจัังหวััด เช่่น
ความผิิดตามมาตรา ๑๕๑ วรรคสอง อุุตสาหกรรมจัังหวััดที่่�พบการกระทำความผิิดเกิิดขึ้้�นในเขตอำนาจ เป็็นพนัักงาน
เจ้้าหน้้าที่่�ในท้้องที่่�เกิิดเหตุุ
๑.๒.๓ กรณีีความผิิ ด ที่่� ไ ด้้ ก ระทำในหลายจัั ง หวัั ด หรืื อ ความผิิ ด ส่่วนหนึ่่� ง กระทำในจัั ง หวัั ด หนึ่่� ง
แต่่อีีกส่่วนหนึ่่�งกระทำในอีีกจัังหวััดหนึ่่�ง หรืือเป็็นความผิิดที่่�ได้้กระทำต่่อเนื่่�องกัันหลายจัังหวััด ในกรณีีนี้้� พนัักงาน
เจ้้าหน้้าที่่�ในสัังกััดสำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััด ในจัังหวััดที่่�คณะกรรมการเปรีียบเทีียบมีีอำนาจเปรีียบเทีียบคดีีนั้้�น
ตามข้้อ ๑๑ วรรคสอง ของระเบีียบกระทรวงอุุตสาหกรรมว่่าด้้วยการเปรีียบเทียี บในคดีีความผิิดตามพระราชบััญญััติแิ ร่่
พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็็นพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�ในท้้องที่่�เกิิดเหตุุ
๒. สำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััดที่่ป� ระทานบััตร อาชญาบััตร หรืือใบอนุุญาตตั้้�งอยู่่� หรืือจัังหวััดที่่ค� ณะกรรมการ
เปรีียบเทีียบมีีอำนาจเปรีียบเทีียบนั้้�น แล้้วแต่่กรณีีได้้รัับเรื่่�องตาม ๑.๑ หรืือ ๑.๒ ให้้อุุตสาหกรรมจัังหวััดสั่่�งการ
ให้้พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�ในสัังกััดกลุ่่�มอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่ ตรวจสอบทำความเห็็นเพื่่�อพิิจารณา
ดำเนิินการตามข้้อ ๖ ของระเบีียบกระทรวงอุุตสาหกรรมว่่าด้้วยการเปรีียบเทีียบในคดีีความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่
พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ ต่่อไป แล้้วแต่่กรณีี
๓. พนัั ก งานเจ้้ า หน้้ า ที่่� ต ามข้้ อ ๒ ดำเนิิ น การตรวจสอบแล้้ ว เสร็็ จส ามารถทำความเห็็ น โดยเสนอเรื่่� อ ง
ตามสายการบัังคัับบััญชาจนถึึงอุุตสาหกรรมจัังหวััด พิิจารณาตามอำนาจหน้้าที่่� ดัังนี้้�
๓.๑ กรณีีพบว่่าข้้อมููลของพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่ที่� พ่� บการกระทำความผิิดส่่งมายัังไม่่เพีียงพอ หรืือมีีข้้อสงสััยเกี่่ย� วกัับ
การกระทำความผิิด ให้้เสนอเรื่่�องตามสายการบัังคัับบััญชาจนถึึงอุุตสาหกรรมจัังหวััด ดำเนิินการตรวจสอบข้้อมููล
เพิ่่�มเติิมหรืือคืืนเรื่่�อง หากเห็็นว่่าการกระทำดัังกล่่าวไม่่เป็็นความผิิด
๓.๒ กรณีีพบว่่าการกระทำความผิิดดัังกล่่าวมีีโทษจำคุุกเกิินหกเดืือน ให้้เสนอเรื่่�องตามสายการบัังคัับบััญชา
จนถึึงอุุตสาหกรรมจัังหวััด ดำเนิินการแจ้้งความร้้องทุุกข์์กล่่าวโทษต่่อพนัักงานสอบสวนที่่�เป็็นที่่�ตั้้�งของที่่�เกิิดเหตุุ
ทำสำนวนการสอบสวนการกระทำความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐
๓.๓ กรณีีพบว่่ามีีพยานหลัักฐานเพีียงพอและการกระทำเป็็นความผิิดสามารถดำเนิินการเปรีียบเทีียบได้้
ให้้ จัั ด ทำบัั น ทึึกคำให้้ ก ารของผู้้�กล่่าวหา (แบบ พร. ๗๐๑) โดยเนื้้� อ หาจะต้้ อ งครบถ้้ ว น ครอบคลุุ มทุุ กม าตรา
ของการกระทำความผิิ ด ตามแสดงตัั ว อย่่างในบทที่่� ๔ (หน้้ า ๓๓) และเสนอเรื่่� อ งตามสายการบัั ง คัั บ บัั ญ ชา
จนถึึงอุุตสาหกรรมจัังหวััด เพื่่�อพิิจารณา ดัังนี้้�
๓.๓.๑ ลงนามหนัังสืือแจ้้งการกระทำความผิิดและแจ้้งสิิทธิิเปรีียบเทีียบตามพระราชบััญญััติิแร่่
พ.ศ. ๒๕๖๐ ภายในระยะเวลาที่่�กำหนดโดยทางไปรษณีีย์์ลงทะเบีียนตอบรัับ
๓.๓.๒ ลงนามหนัั ง สืื อ ถึึง กรมอุุ ตส าหกรรมพื้้� น ฐานและการเหมืื อ งแร่่ เพื่่� อ ตรวจสอบประวัั ติิ
การกระทำความผิิดตามกฎหมายว่่าด้้วยแร่่ที่่ผ่่� านมาของผู้้�ต้้องหาหรืือตรวจสอบในระบบฐานข้้อมููล ของกรมอุุตสาหกรรม
พื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่
๔. กรณีีผู้้�ต้้องหาไม่่มารัับทราบข้้อกล่่าวหาตามกำหนดเวลาที่่�แจ้้งในหนัังสืือ หรืือตามระยะเวลาที่่�ขยายให้้
ตามสมควร ให้้รวบรวมเอกสารหลัักฐานเสนอเรื่่อ� งตามสายการบัังคัับบััญชาจนถึึงอุุตสาหกรรมจัังหวััด เพื่่�อลงนามหนัังสืือ
แจ้้งความร้้องทุุกข์์กล่่าวโทษต่่อพนัักงานสอบสวนในท้้องที่่�ที่่�มีีเขตอำนาจ
๕. กรณีีผู้้�ต้้องหามารัับทราบข้้อกล่่าวหาภายในระยะเวลาที่่ก� ำหนด ให้้พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่จั� ัดทำบัันทึึกคำให้้การ
ของผู้้�ต้้ อ งหา (แบบ พร. ๗๐๒) โดยเนื้้� อ หาจะต้้ อ งครบถ้้ ว นครอบคลุุ มทุุ กม าตราของการกระทำความผิิ ด
ตามแสดงตัั ว อย่่างในบทที่่� ๔ (หน้้ า ๔๐) โดยให้้ ก ระทำต่่อหน้้ า ผู้้�ต้้ อ งหาและให้้ ผู้้�ต้้ อ งหาลงลายมืื อ ชื่่� อ ไว้้
พร้้อมลงลายมืือชื่่�อในสำเนาบััตรประชาชน หรืือสำเนาทะเบีียนบ้้าน หรืือสำเนาหนัังสืือรัับรองนิิติิบุุคคลที่่�มีีอายุุ
ไม่่เกิิน ๓ เดืือน นัับจากวัันที่่�ออกหนัังสืือรัับรองฯ แล้้วแต่่กรณีี

18
๖. พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�รวบรวมพยานหลัักฐานเพื่่�อเสนอต่่อคณะกรรมการเปรีียบเทีียบ โดยจะต้้องเสนอ
ความเห็็น ประกอบด้้วย ข้้อเท็็จจริิงและพยานหลัักฐานที่่�สามารถพิิสููจน์์ได้้ว่่ามีีการกระทำที่่�ครบองค์์ประกอบความผิิด
ข้้อพิิจารณาเรื่่อ� งอายุุความ ข้้อเท็็จจริงิ ที่่เ� ป็็นประโยชน์์ในการกำหนดอััตราโทษปรัับ รวมทั้้�งจำนวนค่่าปรัับ ที่จ่� ะเสนอให้้
คณะกรรมการเปรีียบเทีียบพิิจารณา
๗. เมื่่� อ คณะกรรมการเปรีียบเทีี ย บโดยเจ้้ า พนัั ก งานอุุ ตส าหกรรมแร่่ประจำท้้ อ งที่่� ใ นฐานะกรรมการ
และเลขานุุการ ได้้รัับเรื่่�องจากพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่� หรืือพนัักงานสอบสวนแล้้วแต่่กรณีี ให้้พิิจารณาเปรีียบเทีียบ
ให้้แล้้วเสร็็จโดยไม่่ชัักช้้า
๗.๑ กรณีีรัับเรื่่�องจากพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่� ให้้ตรวจสอบเอกสารหลัักฐานให้้เป็็นไปตามข้้อ ๘ ของระเบีียบ
กระทรวงอุุตสาหกรรมว่่าด้้วยการเปรีียบเทีียบในคดีีความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑
๗.๒ กรณีีรัับเรื่่อ� งจากพนัักงานสอบสวนให้้ตรวจสอบเนื้้�อหาสาระของข้้อกล่่าวหาและคำรัับสารภาพยิินยอม
ให้้เปรีียบเทีียบ เอกสารพยานหลัักฐานให้้มีีเนื้้�อหาสาระสำคััญตามข้้อ ๘ ของระเบีียบกระทรวงอุุตสาหกรรมว่่าด้้วย
การเปรีียบเทีียบในคดีีความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยไม่่จำเป็็นต้้องใช้้แบบฟอร์์ม
พร. ๗๐๑ และ พร. ๗๐๒
๘. การประชุุมของคณะกรรมการเปรีียบเทีียบ เจ้้าพนัักงานอุุตสาหกรรมแร่่ประจำท้้องที่่� ในฐานะกรรมการและ
เลขานุุการ สามารถเสนอความเห็็นต่่อที่่�ประชุุมได้้ตามแนวทาง ดัังนี้้�
๘.๑ กรณีีเห็็นว่่ามีีการกระทำที่่�เป็็นความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ แต่่ไม่่อยู่่�ในอำนาจของ
คณะกรรมการเปรีียบเทีียบในการเปรีียบเทีียบ สามารถเสนอคณะกรรมการเปรีียบเทีียบ ให้้มีีมติิไม่่เปรีียบเทีียบ
๘.๒ กรณีีเห็็นว่่าผู้้�ต้้องหาควรถููกฟ้้องร้้องดำเนิินคดีีในชั้้�นศาล สามารถเสนอคณะกรรมการเปรีียบเทีียบ
ให้้มีีมติิไม่่เปรีียบเทีียบ
๘.๓ กรณีีเห็็นว่่าการกระทำนั้้�นไม่่เข้้าข่่ายความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ สามารถเสนอ
คณะกรรมการเปรีียบเทีียบ ให้้มีีมติิไม่่เปรีียบเทีียบ
๘.๔ กรณีีเห็็นว่่าการกระทำนั้้�นเข้้าข่่ายความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ และอยู่่�ในอำนาจ
คณะกรรมการเปรีียบเทีียบ สามารถเสนอความเห็็นคณะกรรมการเปรีียบเทีียบ ให้้มีีการเปรีียบเทีียบ โดยเสนอจำนวน
ค่่าปรัับที่่�จะกำหนดพร้้อมทั้้�งเหตุุผล โดยคำนึึงถึึงความหนัักเบาและพฤติิการณ์์แห่่งการกระทำความผิิด รวมถึึง
ประวััติิการกระทำความผิิดตามกฎหมายว่่าด้้วยแร่่ที่่�ผ่่านมาของผู้้�ต้้องหาด้้วย
๙. การพิิจารณาของคณะกรรมการเปรีียบเทีียบ
๙.๑ กรณีีไม่่เปรีียบเทีียบตามความเห็็นที่่�เสนอในข้้อ ๘.๑-๘.๓ หรืือในกรณีีอื่่�น ๆ ให้้คณะกรรมการ
เปรีียบเทีียบแจ้้งผลการพิิจารณาให้้พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่� หรืือพนัักงานสอบสวน แล้้วแต่่กรณีี
๙.๒ กรณีีเปรีียบเทีียบตามความเห็็นที่่�เสนอในข้้อ ๘.๔ ให้้จััดทำบัันทึึกการเปรีียบเทีียบคดีีความผิิด
ตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ (แบบ พร. ๗๐๓) ให้้คณะกรรมการเปรีียบเทีียบแจ้้งผลการพิิจารณาให้้พนัักงาน
เจ้้าหน้้าที่่� เพื่่�อดำเนิินการต่่อไปโดยด่่วนที่่�สุุด
๙.๓ จััดทำรายงานการประชุุม โดยเนื้้�อหาต้้องสอดคล้้องกัับมติิที่่�ประชุุม
๑๐. สำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััดดำเนิินการแจ้้งผลการเปรีียบเทีียบ
๑๐.๑ กรณีีไม่่เปรีียบเทีียบตามความเห็็นที่่�เสนอในข้้อ ๘.๑ หรืือ ๘.๒ ให้้แจ้้งความร้้องทุุกข์์กล่่าวโทษ
ต่่อพนัักงานสอบสวนในท้้องที่่�ที่่�รัับผิิดชอบเพื่่�อดำเนิินคดีีความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐

19
๑๐.๒ กรณีีไม่่เปรีียบเทีี ย บตามความเห็็ น ที่่� เ สนอในข้้ อ ๘.๓ ให้้ มีี หนัั ง สืื อ แจ้้ ง ผลให้้ ผู้้�ต้้ อ งหาทราบ
จำหน่่ายเรื่่� อ งดัั ง กล่่าวออกจากสารบบคดีีเปรีียบเทีีย บ และจัั ด ทำบัั น ทึึกเรื่่� อ งราวการกระทำความผิิ ด ที่่� เ กิิ ด ขึ้้� น
และรายงานอธิิบดีีกรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่เพื่่�อทราบ แต่่หากเห็็นว่่าอาจเป็็นความผิิดตามกฎหมายอื่่�น
และหน่่วยงานที่่� เ กี่่� ย วข้้ อ งไม่่ได้้ ร่่ วมทำการตรวจสอบด้้ ว ย ให้้ จัั ด ทำหนัั ง สืื อ แจ้้ ง ต่่อหน่่วยงานนั้้� น เพื่่� อ ทราบและ
ดำเนิิ น การตามมติิ ค ณะรัั ฐ มนตรีี เมื่่�อวัั น ที่่� ๓๐ เมษายน ๒๕๓๔ เรื่่� อ ง เจ้้ า หน้้ า ที่่� ไ ม่่ดำเนิิ น คดีีแก่่ผู้้�กระทำผิิด
ทุุกตััวบทกฎหมาย กรณีีมีีการกระทำผิิดกฎหมายหลายฉบัับ
๑๐.๓ กรณีีเปรีียบเทีียบให้้มีีหนัังสืือไปรษณีีย์์ลงทะเบีียนตอบรัับ แจ้้งให้้ผู้้�ต้อ้ งหามาชำระค่่าปรัับตามจำนวน
ที่่�คณะกรรมการทำการเปรีียบเทีียบกำหนด ณ สำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััดในท้้องที่่�ที่่�เกิิดเหตุุ ภายในระยะเวลา
ที่่�กำหนดสามสิิบวัันนัับแต่่วัันที่่�มีีการเปรีียบเทีียบ (วัันที่่�คณะกรรมการมีีมติิ) ตามความในมาตรา ๑๗๘ วรรคสอง
แห่่งพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ (ระยะเวลาชำระค่่าปรัับไม่่อาจขยายได้้ เนื่่�องจากเป็็นระยะเวลาที่่�กำหนด
ในกฎหมาย)
๑๑. กรณีีผู้้�ต้้องหาไม่่มาชำระค่่าปรัับภายในกำหนดเวลาตามที่่�แจ้้งในหนัังสืือ ให้้สำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััด
รวบรวมเอกสารที่่�เกี่่�ยวข้้องดำเนิินการร้้องทุุกข์์กล่่าวโทษต่่อพนัักงานสอบสวนที่่�เป็็นที่่�ตั้้�งท้้องที่่�เกิิดเหตุุ สำหรัับกรณีี
การเปรีียบเทียี บซึ่ง่� ได้้รับั เรื่่อ� งมาจากพนัักงานสอบสวนให้้แจ้้งผลการไม่่มาชำระค่่าปรัับ พร้้อมคืืนเรื่่อ� งพนัักงานสอบสวน
เพื่่�อดำเนิินคดีีต่่อไป
๑๒. กรณีีผู้้�ต้้องหามาชำระค่่าปรัับภายในกำหนดตามที่่�แจ้้งในหนัังสืือ ให้้ดำเนิินการดัังนี้้�
๑๒.๑ เจ้้าหน้้าที่่�การเงิินและบััญชีีรัับชำระค่่าปรัับตามจำนวนเงิินค่่าปรัับที่่�เปรีียบเทีียบ โดยใช้้แบบ
พร. ๑๐๗ เป็็นใบเสร็็จรัับเงิิน และลงรายละเอีียดในใบเสร็็จรัับเงิินให้้สอดคล้้องกัับ แบบ พร. ๗๐๔ และเมื่่�อเจ้้าหน้้าที่่�
การเงิินและบััญชีีได้้นำเงิินค่่าปรัับในการเปรีียบเทีียบส่่งคลัังแล้้ว ให้้บัันทึึกข้้อมููลการนำเงิินส่่งคลัังในแบบ พร. ๗๐๔
พร้้อมรายงานให้้กรรมการและเลขานุุการทราบ
๑๒.๒ การรัับเงิิน การเก็็บรัักษาเงิิน และการนำเงิินค่่าปรัับในการเปรีียบเทีียบส่่งคลัังให้้ถืือปฏิิบััติิ
ตามระเบีียบว่่าด้้ ว ยการนั้้� น และให้้ ผู้้�รัั บ เงิิ น ค่่าปรัั บ ออกใบเสร็็ จรัั บ เงิิ น ให้้ แ ก่่ผู้้�ต้้ อ งหา และให้้ ผู้้�ต้้ อ งหาหรืื อ
ผู้้�ได้้รัับมอบอำนาจให้้มาชำระค่่าปรัับลงลายมืือชื่่�อไว้้เป็็นหลัักฐานในคู่่�ฉบัับใบเสร็็จรัับเงิินซึ่่�งพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�
เก็็บรัักษาไว้้ด้้วย
๑๒.๓ เมื่่� อ กรรมการและเลขานุุ ก ารคณะกรรมการเปรีียบเทีี ย บได้้ รัั บ รายงานการนำเงิิ น ค่่าปรัั บ
ในการเปรีียบเทีียบส่่งคลัังแล้้ว ให้้ลงนามในความเห็็นแบบ พร. ๗๐๔ ข้้อ ๖ และส่่งให้้เจ้้าหน้้าที่่�ผู้้�นำเงิินค่่าเปรีียบเทีียบ
ส่่งคลััง บัันทึึกตามแบบ พร. ๗๐๔ ข้้อ ๗ จากนั้้�นให้้เสนออุุตสาหกรรมจัังหวััด เพื่่�อทำความเห็็น
๑๒.๔ เมื่่�ออุุตสาหกรรมจัังหวััดได้้รัับแจ้้งจากเจ้้าหน้้าที่่�ผู้้�นำเงิินค่่าเปรีียบเทีียบส่่งคลัังในแบบ พร. ๗๐๔
ข้้อ ๗ แล้้วให้้อุุตสาหกรรมจัังหวััด ทำความเห็็นตามแบบ พร. ๗๐๔ ข้้อ ๘ ว่่า “ตรวจสอบแล้้วคดีีเลิิกกัันตามบทบััญญััติิ
แห่่งประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณาความอาญา” แล้้วดำเนิินการดัังนี้้�
(๑) จััดทำแบบรายงานผลการเปรีียบเทีียบคดีีความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐
(แบบ พร. ๗๐๕) พร้้อมแนบแบบ พร. ๗๐๑ พร. ๗๐๒ พร. ๗๐๓ และ พร. ๗๐๔ เสนออธิิบดีีกรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐาน
และการเหมืืองแร่่ทราบภายในวัันที่่� ๑๐ ของเดืือนถััดไป
(๒) จััดทำบััญชีีสารบบคดีีเปรีียบเทีียบ (แบบ พร. ๗๐๖) พร้้อมรวบรวมเอกสารที่่�เกี่่�ยวข้้อง
ไว้้ในแฟ้้มหมวดหมู่่�การดำเนิินคดีีของสำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััดเพื่่�อไว้้ตรวจสอบ

20
พนักงานเจาหนาที่ (กพร. สรข. สอจ.)
พบการกระทำความผิด

พนักงานเจาหนาที่รวบรวมขอมูลการกระทำความผิด
กรณีพบของกลาง - บันทึกการจับกุม (ถามี) อุตสาหกรรมจังหวัดที่เปนที่ตั้งที่เกิดเหตุหรือผูรับมอบอำนาจ
ใหดำเนินการตามคูมือการปฏิบัติงานเกี่ยวกับของกลาง - ยึดอายัดของกลางการกระทำความผิด (ถามี) แจงความรองทุกขตอพนักงานสอบสวน
- รวบรวมพยานหลักฐานหรือเอกสารอื่น ๆ ที่จำเปน

พนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบและพิจารณา ผลการพิจารณา
- กรณีเปนพนักงานเจาหนาที่ในทองที่เกิดเหตุใหเสนอเรื่องตามสายบังคับ - กรณีการกระทำความผิดมีโทษจำคุกเกินหกเดือนไมสามารถเปรียบเทียบ
บัญชาเพื่อใหอุตสาหกรรมจังหวัดที่เปนทองที่เกิดเหตุพิจารณา ปรับได ใหพนักงานเจาหนาที่รวบรวมเอกสารหลักฐานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
พนักงานเจาหนาที่ - กรณีไมเปนพนักงานเจาหนาที่ในทองที่เกิดเหตุใหเสนอเรื่องตามสายบังคับ เพื่อแจงความรองทุกขตอพนักงานสอบสวน
- รวมเรื่องไวตรวจสอบ บัญชาสงเรื่องใหอุตสาหกรรมจังหวัดที่เปนทองที่เกิดเหตุพิจารณา

ผลการพิจารณา อุตสาหกรรมจังหวัดที่เปนทองที่เกิดเหตุดำเนินการ
- การกระทำสังกลาวไมเปนความผิด - มอบหมายใหพนักงานเจาหนาที่ เปนผูก ลาวหา เพือ่ ตรวจสอบและพิจารณา
ดำเนินการ จัดทำบันทึกคำใหการผูกลาวหา (พร. ๗๐๑) จัดทำบันทึก
คำใหการผูตองหา (พร. ๗๐๒) ตรวจสอบประวัติการกระทำความผิด และ
รวบรวมเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวของ
ผลการพิจารณา - พิจารณาตรวจสอบเอกสารหลักฐานตาง ๆ พรอมบันทึกที่เกี่ยวของถูกตอง
- กรณีพยานหลักฐานไมเพียงพอ หรือมีขอสงสัย มอบหมายใหพนักงาน ครบถวนหรือไม
เจาหนาที่ดำเนินการรวบรวมเอกสารเพิ่มเติม - พิจารณาความผิดสามารถเปรียบเทียบปรับไดหรือไม

กรณีการกระทำความผิดสามารถดำเนินการเปรียบเทียบได พนักงาน
เจาหนาที่ดำเนินการ จัดทำสำนวนพรอมรวบรวมเอกสารประกอบ ผลการพิจารณา
ผลการพิจารณา
เสนอตอคณะกรรมการเปรียบเทียบ - ผูตองหาไมมารับทราบขอกลาวหาตามกำหนดเวลาที่แจงในหนังสือ
- ผูตองหามารับทราบขอกลาวหาตามกำหนดเวลาที่แจงในหนังสือ
- บันทึกผูกลาวหา (แบบ พร. ๗๐๑) หรือไมลงนามในบันทึก พร. ๗๐๒ หรือไมยินยอมยื่นเอกสารประกอบ
พรอมลงนามในบันทึก พร. ๗๐๒ และยื่นเอกสารประกอบตามที่
- บันทึกคำใหการผูตองหา (แบบ พร. ๗o๒) ตามที่กำหนดครบถวน
กำหนดครบถวน
- ประวัติการกระทำความผิดผูตองหา - พนักงานเจาหนาที่รวบรวมเอกสารหลักฐานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
- รวบรวมเรื่องเสนอคณะกรรมการเปรียบเทียบเพื่อพิจารณา
- พยานหลักฐานอื่น ๆ (ตามที่จำเปน) เพื่อแจงความรองทุกขตอพนักงานสอบสวน
- จัดทำหนังสือแจงผูต อ งหามารับทราบขอกลาวหาภายในระยะเวลาทีก่ ำหนด

คณะกรรมการเปรียบเทียบดำเนินการเปรียบเทียบโดยไมชักชา ผลการพิจารณา
พนักงานสอบสวนพิจารณาความผิดอยูในอำนาจของคณะกรรมการ
- กรรมการและเลขานุการรวบรวม เอกสารหลักฐาน สำนวนการกระทำ - กรณีมีความเห็นวาผูตองหาควรถูกฟองดำเนินคดีในชั้นศาล และ
เปรียบเทียบตาม พ.ร.บ. แร พ.ศ. ๒๕๖๐
ความผิด พรอมแนวทางการเปรียบเทียบ และเอกสารอื่น ๆ (ตามที่จำเปน) - มีมติไมเปรียบเทียบ
เสนอตอคณะกรรมการเพื่อนัดประชุมพิจารณา - พนักงานเจาหนาที่รวบรวมเอกสารหลักฐานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
เพื่อแจงความรองทุกขตอพนักงานสอบสวน

ผลการพิจารณา คณะกรรมการประชุมพิจารณา ผลการพิจารณา


- เขาขายการกระทำความผิดตาม พ.ร.บ. แร พ.ศ. ๒๕๖๐ และอยูในอำนาจ - กรณีเอกสารไมครบถวนสมบูรณแจงใหเจาของเรื่องรวบรวมเพิ่มเติม - ไมเขาขายการกระทำความผิดตาม พ.ร.บ. แร พ.ศ. ๒๕๖๐
ของคณะกรรมการเปรียบเทียบ - เขาขายการกระทำความผิดตาม พ.ร.บ. แร พ.ศ. ๒๕๖๐ หรือไม - มีมติไมเปรียบเทียบ
- มีมติเปรียบเทียบ - การกระทำความผิดอยูในอำนาจของคณะกรรมการเปรียบเทียบหรือไม - แจงผลการเปรียบเทียบใหพนักงานเจาหนาที่ หรือพนักงานสอบสวน
แลวแตกรณี พรอมเอกสารที่เกี่ยวของ เพื่อแจงผูตองหาทราบ
- จำหนายออกจากสารบบคดีเปรียบเทียบ
- รายงานอธิบดี กพร.
คณะกรรมการประชุมพิจารณา
- รวมกันตรวจสอบพฤติการณแหงการกระทำความผิด ประวัติการกระทำ
ความผิด และพิจารณากำหนดคาปรับ ตรวจสอบ
- ถาหากสันนิษฐานไดวาเปนความผิดตามกฎหมายอื่นและหนวยงาน
ที่เกี่ยวของไมไดรวมทำการตรวจสอบดวย ใหจัดทำหนังสือแจง
ตอหนวยงานนั้น เพื่อทราบและดำเนินการตามอำนาจหนาที่ตอไป
คณะกรรมการมีมติเปรียบเทียบ
- จัดทำบันทึกการเปรียบเทียบความผิดตาม พ.ร.บ. แร พ.ศ. ๒๕๖๐
(แบบ พร. ๗๐๓) พรอมรายงานการประชุม
- แจงผลการเปรียบเทียบใหพนักงานเจาหนาที่ พรอมเอกสารที่เกี่ยวของ

ผลการพิจารณา อุตสาหกรรมจังหวัดที่เปนทองที่ที่เกิดเหตุดำเนินการ ผลการพิจารณา


- ผูตองหามาชำระคาปรับตามจำนวนที่คณะกรรมการทำการเปรียบเทียบ - แจงเปนหนังสือใหผูตองหามาชำระคาปรับตามจำนวนที่คณะกรรมการ - ผูตองหาไมมาชำระคาปรับตามจำนวนที่คณะกรรมการ
ภายในระยะเวลาที่กำหนด (๓๐ วันนับแตวันที่มีการเปรียบเทียบ) ทำการเปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่กำหนด (๓๐ วันนับแตวันที่มี ทำการเปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่กำหนด
การเปรียบเทียบ)

ดำเนินการ ดำเนินการ
- กรรมการและเลขานุการลงขอมูลรายละเอียดผลของคดีในแบบ พร. ๗๐๔ - กรรมการและเลขานุการจัดทำแบบรายงานผลการเปรียบเทียบคดีความผิด
- เจาหนาที่การเงินและบัญชีรับชำระคาปรับตามแบบ พร. ๑๐๗ ตาม พ.ร.บ. แร พ.ศ. ๒๕๖๐ (แบบ พร. ๗๐๕) พรอมแนบแบบ พร. ๗๐๑
และบันทึกขอมูลการนำเงินสงคลังในแบบ พร. ๗๐๔ พร. ๗๐๒ พร. ๗๐๓ และ พร. ๗๐๔ รายงานอธิบดี กพร. ทราบ
- อุตสาหกรรมลงนามในความเห็น แบบ พร. ๗๐๔ ขอ ๘ วา ภายในวันที่ ๑๐ ของเดือนถัดไป
“ตรวจสอบแลว คดีเลิกกันตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมาย - จัดทำบัญชีสารบบคดีเปรียบเทียบ (แบบ พร. ๗๐๖) พรอมรวบรวมเอกสาร
วิธีพิจารณาความอาญา” ที่เกี่ยวของไวในแฟมหมวดหมูการดำเนินคดี

ผลการพิจารณา
- ใหถือวาคดีเลิกกันตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญานับแตวันที่ผูตองหาชำระคาปรับ

สิ้นสุดการดำเนินการเปรียบเทียบ
ตาม พ.ร.บ. แร พ.ศ. ๒๕๖๐

21
บทที่่�

ตััวอย่่างการดำเนิินการด้้านเอกสารและแบบฟอร์์ม
ตััวอย่่างการใช้้แบบฟอร์์มและการจััดทำเอกสารการเปรีียบเทีียบเพื่่�อให้้การรวบรวมพยานหลัักฐานของพนัักงาน
เจ้้าหน้้าที่่�ครบถ้้วนถููกต้้อง ครอบคลุุมสาระสำคััญขององค์์ประกอบความผิิดทางอาญาที่่�กฎหมายกำหนดไว้้สำหรัับ
ฐานความผิิดนั้้�น ๆ และใช้้เป็็นพยานหลัักฐานประกอบการพิิจารณาเปรีียบเทีียบของคณะกรรมการเปรีียบเทีียบ
ตามมาตรา ๑๗๙ ประกอบมาตรา ๑๗๘ แห่่งพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ดัังนั้้�น เพื่่�อให้้การใช้้แบบฟอร์์มต่่าง ๆ
เป็็นไปในทิิศทางเดีียวกััน รวมถึึงมีีรููปแบบเอกสารที่่�เป็็นตััวอย่่างในการดำเนิินการ เพื่่�อลดข้้อผิิดพลาดในการ
ใช้้แบบฟอร์์มและอำนวยความสะดวกในการดำเนิินการด้้านเอกสารของพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่� จึึงกำหนดแบบฟอร์์มและ
เอกสารออกเป็็น ๒ ประเภทหลััก ๆ ดัังนี้้�
๑. แบบฟอร์์มตามกฎหมาย ซึ่่�งมีีรููปแบบที่่�ชััดเจนตามประกาศกรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่
ที่่�มีีการใช้้บัังคัับตามกฎหมาย ดัังนี้้�
๑) บัันทึึกคำให้้การของผู้้�กล่่าวหา (พร. ๗๐๑)
๒) บัันทึึกคำให้้การของผู้้�ต้้องหา (พร. ๗๐๒)
๓) บัันทึึกการเปรีียบเทีียบคดีีความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ (พร. ๗๐๓)
๔) แบบบัันทึึกการเปรีียบเทีียบคดีี (พร. ๗๐๔)
๕) รายงานผลการเปรีียบเทีียบคดีีความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ (พร. ๗๐๕)
๖) บััญชีีสารบบคดีีเปรีียบเทีียบ (พร. ๗๐๖)
๗) ใบเสร็็จรัับเงิิน (พร. ๑๐๗)
๒. ตััวอย่่างสำหรัับเอกสารที่่�ใช้้ในการปฏิิบััติิงาน เช่่น ตััวอย่่างหนัังสืือ/บัันทึึกฯ/เอกสารต่่าง ๆ ซึ่่�งกฎหมาย
ไม่่ได้้กำหนดไว้้ แต่่มีีความจำเป็็นเพื่่�อให้้มีีพยานหลัักฐานที่่�ครบถ้้วน และเพื่่�อประโยชน์์ในการดำเนิินการตามขั้้�นตอน
ทั้้�งนี้้� เนื่่�องจากไม่่มีีการกำหนดรููปแบบและเนื้้�อหาในแบบฟอร์์มที่่�แน่่นอน ดัังนั้้�น พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�ผู้้�ดำเนิินการ
สามารถนำตััวอย่่างไปปรัับใช้้ได้้ตามความเหมาะสม ดัังนี้้�
๑) บัันทึึกการจัับกุุม แผนที่่�เกิิดเหตุุ และบััญชีีของกลางการจัับกุุม (ถ้้ามีีการจัับกุุมผู้้�ต้้องหา)
๒) หนัังสืือรายงานการจัับกุุม (ถ้้ามีีการจัับกุุมผู้้�ต้้องหา)
๓) บัันทึึกการตรวจสอบ/การกล่่าวโทษ และแผนที่่�เกิิดเหตุุการตรวจสอบ/การกล่่าวโทษ (กรณีีตรวจสอบ
พบการกระทำความผิิดที่่�ไม่่มีีการจัับกุุมผู้้�ต้้องหา)
๔) บััตรบัันทึึกรายการชัักตััวอย่่างแร่่ (ถ้้ามีีการชัักตััวอย่่างแร่่)
๕) หนัังสืือรายงานการตรวจพบการกระทำความผิิดตาม พ.ร.บ. แร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ (กรณีีไม่่มีีการจัับกุมผู้้�ต้ ุ อ้ งหา
และเป็็นฐานความผิิดที่่�สามารถเปรีียบเทีียบได้้)
๖) หนัังสืือขอตรวจสอบประวััติิผู้้�ต้้องหาเกี่่�ยวกัับการกระทำความผิิดตามกฎหมายว่่าด้้วยแร่่
๗) หนัั ง สืื อ แจ้้ ง การกระทำความผิิ ด และแจ้้ ง สิิ ท ธิิ เ ปรีียบเทีี ย บตามพระราชบัั ญ ญัั ติิ แร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐
(กรณีีแจ้้งผู้้�ต้้องหาที่่�เป็็นบุุคคลธรรมดา หรืือผู้้�ต้้องหาที่่�เป็็นนิิติิบุุคคล และผู้้�แทนนิิติิบุุคคล)
22
๘) หนัังสืือสรุุปรายงานการตรวจสอบของพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�
๙) หนัังสืือเชิิญประชุุมคณะกรรมการเปรีียบเทีียบ
๑๐) ระเบีียบวาระการประชุุมคณะกรรมการเปรีียบเทีียบ
๑๑) บัันทึึกรายงานการประชุุมคณะกรรมการเปรีียบเทีียบ
๑๒) หนัังสืือแจ้้งผลการพิิจารณาเปรีียบเทีียบคดีีของคณะกรรมการเปรีียบเทีียบ ถึึงพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�
๑๓) หนัังสืือแจ้้งผลการพิิจารณาเปรีียบเทีียบคดีีของคณะกรรมการเปรีียบเทีียบ ถึึงพนัักงานสอบสวน
(กรณีีรัับเรื่่�องคดีีมาจากพนัักงานสอบสวน)
๑๔) หนัังสืือแจ้้งผลการเปรีียบเทีียบและให้้ผู้้�ต้้องหามาชำระค่่าปรัับ
๑๕) หนัังสืือรายงานผลการเปรีียบเทีียบ ถึึงกรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่

แบบฟอร์์มตามกฎหมายและเอกสารที่่�ใช้้ในการปฏิิบััติิงานตามรายการที่่�กล่่าวมาข้้างต้้น ปรากฏรายละเอีียด
ตามตััวอย่่าง ซึ่่�งเรีียงลำดัับตามขั้้�นตอนการปฏิิบััติิงานจากบทที่่� ๓ ดัังต่่อไปนี้้�

23
(๑) แบบฟอร์์มและเอกสารที่่�ใช้้เมื่่�อพบการกระทำผิิด การรายงานผู้้�บัังคัับบััญชา และการรวบรวม
พยานหลัักฐาน

24
25
26
27
28
29
30
31
32
ตััวอย่่างการบัันทึึกคำให้้การผู้้�กล่่าวหา (แบบ พร. ๗๐๑)

33
34
35
36
37
38
39
ตััวอย่่างการบัันทึึกคำให้้การผู้้�กล่่าวหา (แบบ พร. ๗๐๒)

40
(๒) แบบฟอร์์ ม และเอกสารในขั้้� น ตอนสรุุ ป รายงานการตรวจสอบส่่ ง คณะกรรมการเปรีียบเทีียบ
การเชิิญประชุุมคณะกรรมการ และการวิินิิจฉััยของคณะกรรมการ

41
42
43
44
45
46
47
48
49
ตััวอย่่างการบัันทึึกคำให้้การผู้้�กล่่าวหา (แบบ พร. ๗๐๓)

50
(๓) แบบฟอร์์ ม และเอกสารในขั้้� น ตอนแจ้้ ง ผลการเปรีียบเทีียบ การรัั บ ชำระค่่ า ปรัั บ การบัั น ทึึ ก
ผลการเปรีียบเทีียบ และการรายงานผล

51
52
53
54
55
56
57
58
บทที่่�

หลัักกฎหมายและแนวปฏิิบััติิตามหนัังสืือตอบข้้อหารืือ
หรืือหนัังสืือสั่่�งการที่่�ผ่่านมา
และประเด็็นที่่�ผู้้�ปฏิิบััติิงานพึึงให้้ความสำคััญ
๕.๑ หลัักกฎหมายและแนวปฏิิบััติิตามหนัังสืือตอบข้้อหารืือหรืือหนัังสืือสั่่�งการที่่�ผ่่านมา
๕.๑.๑ แนวปฏิิบััติิกรณีีเจ้้าหน้้าที่่�พบการกระทำความผิิดตามกฎหมายหลายฉบัับ นอกเหนืือจากความผิิด
ที่่�ตนเองรัับผิิดชอบ
เพื่่�อป้้องกัันมิิให้้เจ้้าหน้้าที่่ท� ำหน้้าที่่ต� ามกฎหมายที่่ต� นรัับผิิดชอบเท่่านั้้�น โดยไม่่คำนึึงถึึงการกระทำความผิิด
ตามกฎหมายอื่่น� คณะรััฐมนตรีีจึึงได้้มีีมติิเห็็นชอบเป็็นหลัักปฏิิบัติั ใิ ห้้เมื่่อ� มีีการจัับกุมุ หรืือดำเนิินคดีีแก่่ผู้้�กระทำความผิิด
ตามกฎหมายที่่�ตนเองรัับผิิดชอบ และพบว่่าเป็็นกรณีีความผิิดตามกฎหมายอื่่�นด้้วย ให้้เจ้้าหน้้าที่่�นั้้�นรีีบแจ้้งเจ้้าหน้้าที่่�
ตำรวจเพื่่�อดำเนิินคดีีทัันทีี และแจ้้งประสานไปยัังหน่่วยงานที่่มีี� อำนาจหน้้าที่่ใ� ห้้ทราบเพื่่�อดำเนิินการในส่่วนที่่เ� กี่่ย� วข้้องต่่อไป
รายละเอีียดตามเอกสารภาคผนวกที่่� ๓
๕.๑.๒ หลัักกฎหมายเกี่่�ยวกัับผู้้�ต้้องหาจะตั้้�งตััวแทนให้้มารัับผิิดอาญาแทนตนมิิได้้
กรมอัั ย การ (สำนัั ก งานอัั ย การสููงสุุ ด ในปัั จจุุ บัั น ) ได้้ มีี หนัั ง สืื อ ตอบข้้ อ หารืื อ ต่่อกรมทรัั พ ยากรธรณีี
กระทรวงอุุตสาหกรรม สรุุปได้้ว่่า การเปรีียบเทีียบคดีีอาญานั้้�นจะต้้องกระทำต่่อผู้้�ต้้องหาโดยตรง ซึ่่�งผู้้�ต้้องหา
จะตั้้� ง ตัั ว แทนให้้ ม ารัั บ ผิิ ด ทางอาญาแทนตนมิิ ไ ด้้ ก ารที่่� มีีก ารเปรีียบเทีี ย บปรัั บผู้้�รัั บม อบอำนาจของผู้้�ต้้ อ งหา
จึึงเป็็นการเปรีียบเทีียบที่่�ไม่่ชอบด้้วยกฎหมาย รายละเอีียดตามเอกสารภาคผนวกที่่� ๔
๕.๑.๓ การลงนามประทัับตรานิิติิบุุคคลในเอกสารเกี่่�ยวกัับการเปรีียบเทีียบปรัับ
กรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่ ได้้เคยตอบข้้อหารืือเป็็นหลัักกฎหมายว่่า กรณีีมีีผู้้�ลงนาม
ในเอกสารเป็็นผู้้�กระทำการแทนนิิติิบุุคคลต้้องมีีการตรวจสอบว่่ามีีอำนาจกระทำการแทนนิิติิบุุคคลถููกต้้องครบถ้้วน
ตามกฎหมายหรืือไม่่ และต้้องตรวจสอบตามกฎหมายอำนาจและต้้องตรวจสอบการกระทำการอัันผููกพัันนิิติิบุุคคล
นั้้�นด้้วย เช่่น ในกรณีีที่่�มีีข้้อจำกััดว่่าการกระทำการใด ๆ ซึ่่�งสามารถผููกพัันนิิติิบุุคคลได้้จะต้้องประทัับตราฯ นั้้�น
หากมีีข้้อเท็็จจริิงปรากฏว่่าไม่่มีีการประทัับตราฯ การกระทำนั้้�นไม่่มีีผลผููกพัันนิิติิบุุคคล คดีีอาญานั้้�นจึึงไม่่เลิิกกััน
ตามประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณาความอาญา รายละเอีียดตามเอกสารภาคผนวกที่่� ๖
๕.๑.๔ การเปรีียบเทีียบในกรณีีความผิิดที่่�เป็็นลัักษณะหลายกรรมต่่างกััน
กรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่ ได้้มีีหนัังสืือตอบข้้อหารืือเกี่่ย� วกัับความผิิดตามพระราชบััญญััติแิ ร่่
พ.ศ. ๒๕๑๐ ซึ่่�งเป็็นหลัักการที่่�สามารถนำมาปรัับใช้้กัับพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้้ โดยได้้วางหลัักไว้้ว่่า
การกระทำความผิิ ด ในลัั ก ษณะต่่างกรรมต่่างกระทงมิิ ใช่่เป็็ น การกระทำกรรมเดีียวผิิ ด กฎหมายหลายบท
จึึงต้้องทำการเปรีียบเทีียบปรัับแยกเป็็นรายกรรมไป เช่่น

59
กรณีีที่่� ๑ ความผิิดเกี่่�ยวกัับการขนแร่่โดยไม่่ได้้รัับอนุุญาตถืือได้้ว่่าผู้้�ต้้องหามีีเจตนาเป็็นผู้้�ครอบครองด้้วย
จึึงมีีความผิิดฐานมีีแร่่ไว้้ในครอบครองโดยไม่่ได้้รับั อนุุญาตด้้วย เพราะหากไม่่มีีไว้้ก็ย่่็ อมขนไปมิิได้้ การกระทำของผู้้�ต้้องหา
จึึงเป็็ น ความผิิ ด ทั้้� ง มีีแร่่และขนแร่่โดยไม่่ได้้ รัั บ อนุุ ญ าต เป็็ น ความผิิ ด สองกรรม สองกระทงต่่างกัั น จึึงต้้ อ ง
ทำการเปรีียบเทีียบแยกเป็็นรายกรรมไป รายละเอีียดตามเอกสารภาคผนวกที่่� ๕
กรณีีที่่� ๒ การไม่่ส่่งรายงานการทำเหมืืองประจำเดืือนมากกว่่าหนึ่่�งเดืือน ถืือเป็็นการกระทำความผิิด
หลายกรรมต่่างกััน ต้้องเปรีียบเทีียบทุุกกรรมความผิิด รายละเอีียดตามเอกสารภาคผนวกที่่� ๗
๕.๑.๕ การเปรีียบเทีียบความผิิดกรณีีประทานบััตรมีีผู้้�รัับช่่วงการทำเหมืือง
กรมอุุ ตส าหกรรมพื้้� น ฐานและการเหมืื อ งแร่่ ได้้ เ คยตอบข้้ อ หารืื อ เป็็ น หลัั กก ฎหมายว่่า
ผู้้�กระทำความผิิ ด ในขณะที่่� มีีก ารรัั บช่่ วงการทำเหมืื อ งของประทานบัั ต รนั้้� น ๆ คืื อ ผู้้�รัั บช่่ วงการทำเหมืื อ ง
ดัังนั้้�นผู้้�ถืือประทานบััตรจึึงไม่่ใช่่ผู้้�กระทำความผิิดอัันจะต้้องได้้รัับโทษทางอาญา หากเปรีียบเทีียบปรัับคดีีดัังกล่่าว
จึึงไม่่ทำให้้คดีีอาญาเลิิกกัันตามประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณาความอาญา รายละเอีียดตามเอกสารภาคผนวกที่่� ๘

๕.๒ ประเด็็นที่่�ผู้้�ปฏิิบััติิงานพึึงให้้ความสำคััญ
๕.๒.๑ ความผิิ ด ที่่� จ ะเปรีียบเทีี ย บได้้ ต้้ อ งอยู่่� ใ นอำนาจเปรีียบเทีี ย บของคณะกรรมการเปรีียบเทีี ย บ
ตามฐานความผิิดที่่�สามารถเปรีียบเทีียบได้้ตามมาตรา ๑๗๘ แห่่งพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐
๕.๒.๒ องค์์ประกอบของการกระทำความผิิดจะต้้องพิิจารณาจากข้้อเท็็จจริิง
๕.๒.๓ ความผิิ ด ที่่� จ ะเปรีียบเทีี ย บได้้ จ ะต้้ อ งปรากฏตัั ว ผู้้�ต้้ อ งหา ซึ่่� ง ผู้้�ต้้ อ งหายิิ น ยอมให้้ เ ปรีียบเทีี ย บ
เป็็นหนัังสืือหรืือบัันทึึกยิินยอม (แบบ พร. ๗๐๒) โดยไม่่มีีเงื่่�อนไข การรัับสารภาพแบบมีีเงื่่�อนไข เช่่น รัับสารภาพผิิด
แต่่ทำไปโดยรู้้�เท่่าไม่่ถึึงการณ์์ หรืือไม่่มีีเจตนา เป็็นต้้น
๕.๒.๔ ผู้้�กล่่าวหาต้้องจััดทำบัันทึึกคำให้้การของผู้้�ต้้องหา (แบบ พร. ๗๐๒) โดยให้้กระทำต่่อหน้้าผู้้�ต้้องหา
และให้้ผู้้�ต้้องหาลงลายมืือชื่่�อไว้้
๕.๒.๕ กรณีีพนัักงานสอบสวนได้้ส่่งเรื่่�องมายัังเจ้้าพนัักงานอุุตสาหกรรมแร่่ประจำท้้องที่่� แจ้้งว่่าความผิิด
ตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ที่่�พบหรืือตรวจพบหรืือพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�ได้้แจ้้งความร้้องทุุกข์์กล่่าวโทษไว้้
อยู่่�ในอำนาจของคณะกรรมการเปรีียบเทีียบ พนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�จะต้้องดำเนิินการตามคู่่�มืือปฏิิบััติิงานเกี่่�ยวกัับ
การเปรีียบเทีียบ หรืือระเบีียบที่่�เกี่่�ยวข้้อง เพื่่�อจััดทำสำนวนเสนอคณะกรรมการเปรีียบเทีียบพิิจารณาต่่อไป
๕.๒.๖ กรณีีผู้้�ต้้องหาไม่่มาใช้้สิิทธิิเปรีียบเทีียบภายในระยะเวลาที่่�กำหนดหรืือมาใช้้สิิทธิิ แต่่ไม่่ยิินยอม
ให้้ เ ปรีียบเทีี ย บ และปรากฏภายหลัั ง ว่่าผู้้�ต้้ อ งหารัั บส ารภาพและยิิ น ยอมเปรีียบเทีี ย บในชั้้� น พนัั ก งานสอบสวน
กรณีีดัังกล่่าวสำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััดสามารถรัับเรื่่�องจากพนัักงานสอบสวนไว้้พิิจารณาเพื่่�อเปรีียบเทีียบได้้
๕.๒.๗ กระบวนการเปรีียบเทีียบของคณะกรรมการเปรีียบเทีียบตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐
ตามระเบีียบกระทรวงอุุตสาหกรรมว่่าด้้วยการเปรีียบเทีียบในคดีีความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑ จะกระทำต่่อหน้้าผู้้�ต้้องหาหรืือไม่่ก็็ได้้
๕.๒.๘ เมื่่อ� คณะกรรมการได้้ประชุุมและมีีมติิเปรีียบเทีียบแล้้วให้้ส่่งเรื่่อ� งพร้้อมรายละเอีียดต่่าง ๆ ให้้พนัักงาน
เจ้้าหน้้าที่่�หรืือพนัักงานสอบสวนโดยด่่วนที่่�สุุด เพื่่�อพนัักงานเจ้้าหน้้าที่่�จะได้้ดำเนิินการแจ้้งผู้้�ต้้องหาให้้มาชำระค่่าปรัับ
ภายในสามสิิบวันั นัับแต่่วัันที่่มีีก
� ารเปรีียบเทีียบ การกำหนดวัันให้้ผู้้�ต้อ้ งหาทราบในหนัังสืือมิิให้้นับวั ั นั แรกที่่มีีก
� ารเปรีียบเทีียบ
และต้้องมีีการชี้้�แจงว่่าระยะเวลาที่่�กำหนดไม่่สามารถที่่�จะขยายออกไปได้้ เนื่่�องจากเป็็นระยะเวลาที่่�กฎหมายกำหนด
ถ้้าวัันสุุดท้้ายเป็็นวัันหยุุดราชการให้้เลื่่�อนเป็็นวัันทำการถััดไป

60
๕.๒.๙ การแจ้้งเป็็นหนัังสืือให้้ผู้้�ต้อ้ งหาชำระค่่าปรัับ ให้้แจ้้งโดยไปรษณีีย์์ด่่วนพิิเศษ และลงทะเบีียนตอบรัับ
๕.๒.๑๐ การพิิจารณาทบทวนการเปรีียบเทียี บ ให้้ทบทวนการเปรีียบเทียี บภายในกำหนดเวลาชำระค่่าปรัับ
๕.๒.๑๑ การชำระค่่าปรัับผู้้�ต้้องหาต้้องชำระค่่าปรัับให้้ครบถ้้วนครั้้�งเดีียวภายในระยะเวลาที่่�กำหนด
หากเลยระยะเวลาที่่�กำหนดแล้้วจะไม่่สามารถรัับชำระค่่าปรัับได้้ ให้้เจ้้าพนัักงานอุุตสาหกรรมแร่่ประจำท้้องที่่�หรืือ
ผู้้�รัับมอบอำนาจดำเนิินการแจ้้งความร้้องทุุกข์์กล่่าวโทษต่่อพนัักงานสอบสวนที่่�เป็็นที่่�ตั้้�งของที่่�เกิิดเหตุุทำสำนวน
การสอบสวนการกระทำความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐ เพื่่�อส่่งพนัักงานอััยการดำเนิินการฟ้้องร้้อง
ต่่อศาลต่่อไป
๕.๒.๑๒ กรณีีผู้้�ต้้องหาไม่่มาชำระค่่าปรัับภายในกำหนด ต่่อมาประสงค์์จะให้้พนัักงานสอบสวนส่่งเรื่่�อง
เพื่่� อ เปรีียบเทีี ย บอีีกครั้้� ง กรณีีนี้้� ใ ห้้ ส ำนัั ก งานอุุ ตส าหกรรมจัั ง หวัั ด คืื น เรื่่� อ งให้้ พ นัั ก งานสอบสวนดำเนิิ น คดีีต่่อไป
เนื่่�องจากไม่่สามารถรัับเรื่่�องเพื่่�อพิิจารณาเปรีียบเทีียบได้้อีีก เว้้นแต่่เรื่่�องที่่�พนัักงานสอบสวนส่่งเรื่่�องให้้เปรีียบเทีียบ
มีีความเห็็ น ของพนัั ก งานอัั ย การให้้ มีีก ารพยายามเปรีียบเทีี ย บตามอำนาจหน้้ า ที่่� ข องพนัั ก งานอัั ย การ
ตามประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณาความอาญา
๕.๒.๑๓ กรณีีผู้้�ต้้องหามอบหมายให้้ผู้้�รัับมอบอำนาจมาชำระค่่าปรัับแทน ผู้้�รัับมอบอำนาจจะต้้องแสดง
หนัังสืือมอบอำนาจพร้้อมปิิดอากรแสตมป์์ตามที่่�กฎหมายกำหนด

61
บรรณานุุกรม
๑. พระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒. ประมวลกฎหมายอาญา
๓. ประมวลกฎหมายวิิธีีพิิจารณาความอาญา
๔. ระเบีียบกระทรวงอุุตสาหกรรม ว่่าด้้วยการเปรีียบเทีียบในคดีีความผิิดตามพระราชบััญญััติิแร่่ พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
๕. มติิคณะรััฐมนตรีี เมื่่�อวัันที่่� ๓๐ เมษายน ๒๕๓๔ เรื่่อ� ง เจ้้าหน้้าที่่ไ� ม่่ดำเนิินคดีีแก่่ผู้้�กระทำผิิดทุุกตัวั บทกฎหมาย
กรณีีมีีการกระทำผิิดกฎหมายหลายฉบัับ แจ้้งตามหนัังสืือเลขาธิิการคณะรััฐมนตรีี ที่่� นร.๐๒๐๓/ว๗๓
ลงวัันที่่� ๖ พฤษภาคม ๒๕๓๔

62
ภาคผนวก
๑. คำสั่่�งกรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่ ที่่� ๑๔๗/๒๕๖๐ เรื่่�อง แต่่งตั้้�งเจ้้าพนัักงานอุุตสาหกรรมแร่่
ประจำท้้องที่่� สั่่�ง ณ วัันที่่� ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐
๒. คำสั่่�งกรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่ ที่่� ๑๕๘/๒๕๖๐ เรื่่�อง แต่่งตั้้�งเจ้้าพนัักงานอุุตสาหกรรมแร่่
ประจำท้้องที่่�กรุุงเทพมหานคร สั่่�ง ณ วัันที่่� ๑ สิิงหาคม ๒๕๖๐
๓. หนัังสืือสำนัักเลขาธิิการคณะรััฐมนตรีี ที่่� นร.๐๒๐๓/ว๗๓ ลงวัันที่่� ๖ พฤษภาคม ๒๕๓๔
๔. หนัังสืือกรมอััยการ ด่่วนมาก ที่่� มท. ๑๐๐๒/๐๐๘๗๓๙ ลงวัันที่่� ๑๖ ธัันวาคม ๒๕๑๘
๕. หนัังสืือกรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่ สำนัักกฎหมาย
ที่่� อก ๐๕๐๔/๕๔๙๔ ลงวัันที่่� ๑๗ พฤศจิิกายน ๒๕๕๗
๖. หนัังสืือกรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่ สำนัักงานกฎหมายและระเบีียบ
ที่่� อก ๐๕๐๒(สกร.)/๑๑๐๖ ลงวัันที่่� ๒ มีีนาคม ๒๕๔๗
๗. หนัังสืือสำนัักงานกฎหมายและระเบีียบ กรมทรััพยากรธรณีี
ที่่� อก ๐๓๐๑/๙๑๕๕ ลงวัันที่่� ๒๖ สิิงหาคม ๒๕๔๒
๘. หนัังสืือกรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่
ที่่� อก ๐๕๐๒(สกร.)/๔๒๑๖ ลงวัันที่่� ๑๘ สิิงหาคม ๒๕๔๘
๙. หนัังสืือกรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่ กองกฎหมาย
ที่่� อก ๐๕๐๒/๓๐๗ ลงวัันที่่� ๑๕ กัันยายน ๒๕๖๖

63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
คณะผู้้�จััดทำ
คณะที่่�ปรึึกษา
๑. นายณััฐพล รัังสิิตพล ปลััดกระทรวงอุุตสาหกรรม
๒. นางสาวณััฏฐิิญา เนตยสุุภา รองปลััดกระทรวงอุุตสาหกรรม
๓. นายนิิรัันดร์์ ยิ่่�งมหิิศรานนท์์ อธิิบดีีกรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่

คณะทำงาน
๑. นายวิิษณุุ ทัับเที่่�ยง หััวหน้้าผู้้�ตรวจราชการกระทรวงอุุตสาหกรรม
๒. นายนิิพล แจ่่มเหมืือน ผู้้�อำนวยการกองกฎหมาย
กรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่
๓. นายอรรถสิิทธิ์์� อึ้้�งเหมอนัันต์์ อุุตสาหกรรมจัังหวััดนครปฐม
๔. นายเนตร์์ กััญยะมาสา อุุตสาหกรรมจัังหวััดกาญจนบุุรีี
๕. นายวชิิระ ไม้้แพ ที่่�ปรึึกษาด้้านกฎหมาย กระทรวงอุุตสาหกรรม
๖. นายเตมีีย์์ พัันธุุวงค์์ราช ผู้้�อำนวยการกองตรวจราชการ
สำนัักงานปลััดกระทรวงอุุตสาหกรรม
๗. นายสมชััย เอมบำรุุง ผู้้�อำนวยการกองกฎหมาย
สำนัักงานปลััดกระทรวงอุุตสาหกรรม
๘. นายบรรลืือศัักดิ์์� วรสัันติิกุุล นัักวิิชาการอุุตสาหกรรมชำนาญการพิิเศษ
สำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััดชลบุุรีี
๙. นายสามารถ บััวชุุม นัักวิิชาการอุุตสาหกรรมชำนาญการพิิเศษ
สำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััดตาก
๑๐. นายนิิทััศน์์ ธรรมสระ นายช่่างรัังวััดอาวุุโส
สำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััดเชีียงใหม่่
๑๑. นางสาวประภััสสร สิินครบุุรีี นัักวิิเคราะห์์นโยบายและแผนชำนาญการพิิเศษ
สำนัักงานปลััดกระทรวงอุุตสาหกรรม
๑๒. นายวงศกร ตระกููลหิิรััญผดุุง นัักวิิเคราะห์์นโยบายและแผนชำนาญการพิิเศษ
สำนัักงานปลััดกระทรวงอุุตสาหกรรม
๑๓. นายสุุทธิิรัักษ์์ ชาววััง วิิศวกรชำนาญการพิิเศษ
สำนัักงานปลััดกระทรวงอุุตสาหกรรม
๑๔. นายพานุุ ศรีีเพชร นัักวิิชาการอุุตสาหกรรมชำนาญการ
สำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััดราชบุุรีี
๑๕. นายเอกรััฐ ฤทธิิเนีียม นัักวิิชาการอุุตสาหกรรมชำนาญการ
สำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััดสงขลา
๑๖. นายซาอุุดีี เซ็็งกะแซรีี นัักวิิชาการอุุตสาหกรรมชำนาญการ
สำนัักงานอุุตสาหกรรมจัังหวััดยะลา
๑๗. นายอภิิรัักต์์ ศิิริิเสถีียร นิิติกิ รชำนาญการ กรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่
๑๘. นายวริิศร จัันทร์์แสงศรีี นิิติกิ รชำนาญการ กรมอุุตสาหกรรมพื้้�นฐานและการเหมืืองแร่่

78
79
สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
พ.ศ. ๒๕๖๖

80

You might also like