You are on page 1of 49

ห น้ า | 1

บทที่ 1
บทนา
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
ป า ล์ ม น้ า มั น ชื่ อ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ Elaeis guineensis
ว ง ศ์ Palmae เ ป็ น พื ช เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ที่ ส า คั ญ ช นิ ด ห นึ่ ง
แ ต่ เ นื่ อ ง จ า ก ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ป ร ะ ส บ ปั ญ ห า ป า ล์ ม ล้ น ต ล า ด
ผูว้ จิ ยั จึงเล็งเห็นวิธีการเพิ่มมูลค่าปาล์มโดยการนาสารสาคัญ จากผลปาล์มทัง้ จา
ก เ ป ลื อ ก แ ล ะ ส่ ว น ข อ ง เ ม ล็ ด
ม า ส กั ด เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ น้ า มั น ม า ใ ช้ ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ ค รื่ อ ง ส า อ า ง
เพื่ อ เป็ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ที่ ช่ ว ย เพิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง เค รื่ อ ง ส า อ า ง
อีกทัง้ ยังเป็ นการเพิม ่ มูลค่าของน้ามันปาล์ม เนื่องจากน้ามันปาล์มประกอบด้วย
ไตรกลีเซอร์ไรด์ทีม ่ ีองค์ประกอบหลักเป็ นกรดไขมันชนิดอิม ่ ตัวและวิตามินต่า
ง ๆ ที่ บ ร ร จุ ภ า ย ใ น Oleosomes
มี ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ก า ร เ ป็ น ตั ว น า ส่ ง ส า ร ต่ า ง ๆ เ ข้ า สู่ ผิ ว ห นั ง
ด้ ว ย คุ ณ ส ม บั ติ ที่ เ ป็ น อิ มั ล ซิ ไ ฟ เ อ อ ร์ จ า ก ธ ร ร ม ช า ติ
ที่มี ป ระสิท ธิภ าพสู งแต่มี ค วามอ่อ นโยน เหมาะกับ การน ามาใช้ ก บ ั ผิวพรรณ
เ พ ร า ะ น้ า มั น ป า ล์ ม อุ ด ม ไ ป ด้ ว ย วิ ต า มิ น อี
เป็ นสารต้านอนุ มูลอิสระที่ช่วยให้ผิวพรรณอ่อนเยาว์และมีสุขภาพดี และเมื่อ
นามาใช้ทาครีมอาบน้าจะให้เนื้ อฟองมาก เนี ยนละเอียด ทาความสะอาดได้ดี
ใ ห้ ค ว า ม ชุ่ ม ชื่ น แ ก่ ผิ ว
น อ ก จ า ก นี้ ยั ง ส า ม า ร ถ น า ม า เป็ น ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ค รี ม กั น แ ด ด
เพราะมี มี ส่ ว นช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการปกป้ องรัง สี อ ลั ตร้า ไวโอเลต
เ พ ร า ะ เ มื่ อ ท า ค รี ม กั น แ ด ด ล ง สู่ ผิ ว ห นั ง Oleosomes
จะถู ก แ พ ร่ ก ระจายเคลื อ บผิ ว ห นั ง เพื่ อ ลด ก ารระเห ยข องสารกัน แด ด
จึงเป็ นการเพิม ่ ประสิทธิภาพของครีมกันแดดได้ดแ ี ละยาวนานขึน ้
วัตถุประสงค์การวิจยั
1. เพือ
่ ศึกษาวิธีการสกัด Olesomes จากผลปาล์มจากสวนกาญจนบุรี (K)
และสวนสุราษฎร์ธานี (S)
2. เพือ่ ศึกษาคุณสมบัตข ิ อง Oleosomes จากผลปาล์มจากสวนกาญจนบุรี
(K) และสวนสุราษฎร์ธานี (S)
3. เพือ ่ การตัง้ ตารับและประเมินคุณสมบัตโิ ลชั่นกันแดดจากสาร
Oleosomes จากผลปาล์ม
ห น้ า | 2

4. เพือ
่ การตัง้ ตารับและประเมินคุณสมบัตค
ิ รีมอาบน้าจากสาร
Oleosomes จากผลปาล์ม
ขอบเขตการวิจยั
การวิจยั นี้ทาการศึกษาปาล์มน้ามันจากสวนกาญจนบุรี (K)
และสวนสุราษฎร์ธานี (S) ทีป ่ ลูกในประเทศไทย โดยส่วนทีน ่ ามาใช้คอ ื
ส่วนเนื้อเมล็ดและผล มาสกัดเพือ ่ นาน้ามันทีไ่ ด้มาใส่ในผลิตภัณฑ์เครือ
่ งสาอาง
2 ตารับ คือ โลชั่นกันแดดและครีมอาบน้า
ประโยชน์ทค
ี่ าดว่าจะได้รบ

1. เพือ
่ เพิม่ มูลค่าของปาล์มน้ามัน
2. เพือ่ ให้ได้สูตรตารับโลชั่นกันแดดทีม ่ ีคณ
ุ สมบัตท ิ ดี่ ต
ี รงตามความต้องกา

3. เพือ ่ ให้ได้สูตรตารับครีมอาบน้าทีม
่ ีคณุ สมบัตท
ิ ด
ี่ ตี รงตามความต้องการ
ห น้ า | 3

บทที่ 2
ทฤษฎี เอกสารและผลงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง
ปาล์มน้ามันจัดเป็ นพืชทีม ่ ีความสาคัญทางเศรษฐกิจ ผลปาล์ม
ประกอบด้วยเปลือกชัน ้ นอก เปลือกชัน ้ กลางหรือกาบ ซึ่งเป็ นส่วนทีม ่ ีน้ามันอยู่
และมีชน ้ ั ในสุดเป็ นกะลา ถัดจากส่วนนี้ไปก็เป็ นส่วนของเม็ดซึง่ ประกอบด้วย
เนื้อในเมล็ด ซึง่ มีน้ามันอยูเ่ ช่นกัน และส่วนของคัพภะ
ผลและเมล็ดเป็ นส่วนทีม ่ ีความสาคัญทีส ่ ุดเพราะเป็ นส่วนทีจ่ ะให้น้ามัน สีของผ
ล เปลีย่ นไปตามสภาพอาหารทีไ่ ด้รบ ั
ชือ
่ วิทยาศาสตร์ : Elaeis guineensis
วงศ์ : Palmae
ชือ
่ สามัญ : african oil palm

รูปที่ 1 แสดงลักษณะภายนอกของต้นปาล์ม
ห น้ า | 4

( https://punchng.com/revitalising-oil-palm-cultivation-in-nigeria/)
น้ามันปาล์มทีไ่ ด้จะประกอบด้วย
น้ามันทีเ่ ป็ นกรดไขมันไม่อม ิ่ ตัวและส่วนทีเ่ ป็ นน้ามันทีเ่ ป็ นกรดไขมันอิม
่ ตัว
น้ามันไม่อม ิ่ ตัวไปแปรรูปเป็ นผลิตภัณฑ์อาหาร
ส่วนทีเ่ ป็ นกรดไขมันอิม ่ ตัวก็นาไปทาสบู่ ผงซักฟอก
และผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอืน ่ ๆ ส่วนน้ามันเนื้อในของเมล็ดปาล์ม
ประกอบด้วยน้ามันชนิดอิม ่ ตัวสูงถึงร้อยละ 85 - 90
ทาให้ไม่เหมาะต่อการบริโภค จึงนาไปใช้ ในอุตสาหกรรมทาสบู่ เครือ ่ งสาอาง
ผงซักฟอก อุตสาหกรรม

ตัวอย่างผลผลิตจากน้ามันปาล์มหรือไขปาล์มทีม
่ ีคณ
ุ สมบัตแ
ิ ตกต่างกันออกไป
ดังนี้
1. น้ามันปาล์มดิบ CPO (Crude Palm Oil)
เป็ นน้ามันทีส
่ กัดมาจากเนื้อนอกของผลปาล์มสดใช้เป็ นวัตถุดบ
ิ ในการผลิ
ตน้ามันปาล์มบริสุทธิส์ าหรับบริโภคหรือใช้ทาน้ามันไบโอดีเซลและเป็ นส่วนป

ระกอบในอาหารสัตว์

รูปที่ 2 แสดงลักษณะภายนอกของน้ามันปาล์มดิบ
(https://www.indiamart.com/proddetail/quality-palm-oil-
15188104991.html)
2. น้ามันปาล์มเมล็ดในดิบ CPKO (Crude Palm Kernel Oil)
ห น้ า | 5

เป็ นน้ามันทีส
่ กัดมาจากเนื้อเมล็ดในของผลปาล์มสดใช้ทาน้ามันไบโอดีเซ
ล ช็อกโกเลต เครือ ่ งสาอาง และสบู่

รูปที่ 3 แสดงลักษณะภายนอกของน้ามันปาล์มเมล็ดในดิบ
(https://silverbirdng.com/2018/05/13/palm-kernel-oil-production-
business-plan/)
3. น้ามันปาล์มแดง (Red Palm Oil)
เป็ น น้ ามัน ป าล์ ม ที่ ไ ม่ ผ่ า น ก ารสกัด เอ าสารแ ค โรที น อย ด์ ออ ก ไป
อุ ด ม ไ ป ด้ ว ย แ ค โ ร ที น อ ย ด์ , วิ ต า มิ น อี แ ล ะ Co-enzyme Q10
ซึ่ ง เ ป็ น ส า ร ต้ า น อ นุ มู ล อิ ส ร ะ
น้ามันจะมีสีเหลืองแดงไปถึงส้มแดงขึน ้ อยูก
่ บ
ั ปริมาณสารสาคัญทีท
่ าให้เกิดสีเห

ล่านัน

รูปที่ 4 แสดงลักษณะภายนอกของน้ามันปาล์มแดง
https://www.faim.org/red-palm-oil-a-daily-dose-of-vitamins-
from-a-cooking-oil
ห น้ า | 6

ตารางที่ 1 องค์ประกอบกรดไขมันของน้ามันปาล์มดิบ
และน้ามันเมล็ดในปาล์ม (http://www.doa.go.th/palm
/linkTechnical/oil%20palm%20processing.html)

กรดไขมัน Crude Palm Palm Kernel Oil


Oil
กรดไขมันอิม่ ตัว 50 % 82 %
C 6:0 (caproic - 0.1 - 0.5
acid) - 3.4 - 5.9
C 8:0 (caprylic - 3.3 - 4.4
acid) 0.1 - 0.4 46.3 - 51.1
C10:0 (capric 1.0 - 1.4 14.3 - 16.8
acid) 40.9 - 47.5 6.5 - 8.9
C12:0 (lauric 3.8 - 4.8 1.6 - 2.6
aid) 0 - 0.8 -
C14:0 (myristic
acid)
C16:0 (palmitic
acid)
C18:0 (stearic
acid)
C20:0
(arachidic acid)
กรดไขมันไม่อม ิ่ ตัว 50 % 18 %
C16:1 0 - 0.6 -
(palmitoleic 36.4 - 41.2 13.2 - 16.4
acid) 9.2 - 11.6 2.2 - 3.4
C18:1 (oleic 0 - 0.5 -
acid) - tr – 0.9
C18:2 (linoleic
acid)
C18:3 (linolenic
acid)
Others
ตารางที่ 2 การวิเคราะห์ป ริมาณสารต่าง ๆ ใน crude และ red palm olein
(Nagendran et al., 2000)
ห น้ า | 7

Fre Peroxi Caroten Vitam Moistur Fe P


ตัวอย่าง e de es in E e& (pp (pp
fatty value (ppm) (ppm) Impuriti m) m)
acid (mEq/k es
s g) (%)
(%)
Crude 3.5 2.32 643 869 - - -
palm oil 3
Pretreat
ed palm 3.5 0.44 514 864 - - -
olein 3
Red
palm 0.0 0.10 513 707 0.02 1.6 n.d.
olein 4
RBD
palm 0.0 0.10 Nil 561 0.02 1.6 n.d.
olein* 4
*RBD = refined, bleached and deodorized
ซึง่ กรดไขมันทีพ ่ บในน้ามันปาล์มดิบและน้ามันเมล็ดในปาล์มนัน ้ ดังแสดง
ตารางที่ 1 กรดไขมันไม่อิ่ม ตัวที่เป็ นประโยชน์ ต่อ ผิวทัง้ linoleic acid และ
oleic acid มี ม าก อ ยู่ ท ้ ั ง ใน น้ ามั น จาก เม ล็ ด ป าล์ ม แ ละน้ ามั น ป าล์ ม ดิ บ
น อ ก จ า ก จ ะ มี จ า ก ต า ร า ง ที่ 2 น้ า มั น ช นิ ด ต่ า ง ๆ
จากปาล์ ม นั้น พบสารที่คุ ณ ประโยชน์ ต่อ ผิว มากมายเช่ น α-tocopherol α-
tocotrienol แ ล ะ β-carotene
โดยมี ก ารวิจยั ปริม าณของวิต ามิน อี ในน้ ามัน ปาล์ ม พบว่าปริม าณร้อ ยละ 70
ข อ งวิ ต ามิ น อี ที่ พ บ ใน น้ ามั น ป าล์ ม นั้ น จ ะอ ยู่ ใ น รู ป ข อ ง tocotrienols
ซึ่งวิตามินอีในรูปนี้ ทีม ่ ีฤทธิต์ า้ นอนุ มูลอิสระได้ดีกว่าในรูปของ tocopherols
(Sundram et al., 2003)
ยัง ได้มี ร ายงานการวิจ ยั ในน้ า มัน ปาล์ ม แดงนั้น พบสาร co-enzyme Q10
( Nagendran et al., 2000)
ซึ่ งเป็ น ส าร ที่ คุ ณ ส ม บั ติ ใน ก าร ต้ า น อ นุ มู ล อิ ส ร ะ ที่ ดี จ า ก ต าร า งที่ 3
นัน้ จะแสดงส่วนประกอบแคโรทีนในน้ามันปาล์มแดงซึ่งจะพบปริมาณของ β-
Carotene กับ α-Carotene มากทีส ่ ุด
ห น้ า | 8

ตารางที่ 3 ส่วนประกอบแคโรทีน (%) ของน้ามันปาล์มแดงและปาล์มโอเลอีน


Palm oil Palm olein
Crud Red palm oilb Crud Red Commerci
Carotene e e palm al red palm
palm palm olein oleind
oila oleinc c

Phytoene 1.3 2.0 0.9 3.6 0.61-0.68


Phytofluene 0.1 1.2 0.4 0.7 0.15-0.17
cis- β -
0.7 0.8 0.7 0.7
Carotene
β-Carotene 56.0 47.4 49.4 33.3 40.0-42.0
α-Carotene 35.1 37.0 36.9 44.2 40.6-41.9
cis-α-
2.5 6.9 5.0 7.5 9.0-11.4
Carotene
ζ-Carotene 0.7 1.3 0.8 0.6 0.5-0.72
γ-Carotene 0.3 0.5 0.4 0.6 0.45-1.07
δ-Carotene 0.8 0.6 0.7 3.3 0.72-0.83
Neurosporen พบปริมาณน้อยม
0.3 - - 0.11-0.26
e าก
β-
0.7 0.5 2.1 1.6 1.17-1.33
Zeacarotene
α-
0.2 0.3 0.7 - 0.50-0.56
Zeacarotene
Lycopene 1.3 1.5 1.8 3.9 0.86-1.07
Total (ppm) 673 545 643 513 665
a = Yap et al., 1991
b = Choo et al., 1993
c = Choo et al., 1993
d = Bonnie and Choo, 2000
โดยทั่วไปโอลีโอโซม (oleosomes) หรือในชือ ่ อืน
่ ๆ ได้แก่ oil bodies
lipid bodies แ ล ะ spherosomes
ซึ่ ง ใ น ธ ร ร ม ช า ติ นั้ น พ บ ไ ด้ ใ น เ ม ล็ ด ข อ ง พื ช ต่ า ง ๆ
ซึ่ ง เ ม ล็ ด พื ช เ ห ล่ า นั้ น จ ะ ส ะ ส ม ไ ต ร ก ลี เ ซ อ ไ ร ด์ ( triglycerides)
ซึ่ ง เป็ นแหล่ ง พลัง งานในอนาคตอยู่ ใ นรู ป ของออร์ ก าเนลล์ (organelles)
ห น้ า | 9

(อ อ ร์ ก า เ น ล ล์ เ ป็ น โ ค ร ง ส ร้ า ง เ ล็ ก ๆ
อ ยู่ ภ า ย ใ น ไ ซ โต พ ล า ซึ ม แ ล ะ อ อ ร์ ก า เน ล ล์ จ ะ มี ป ฏิ กิ ริ ย าเค มี เกิ ด ขึ้ น
ซึ่ งมี บ ท บ าท เกี่ ย ว ข้ อ งกับ ก ารด ารงชี วิ ต ) เฉ พ าะเรี ย ก ว่ า โอ ลี โ อ โซ ม
โ ด ย ทั่ ว ไ ป มี ข น า ด ป ร ะ ม า ณ 0.5-2.5 µm (Ho et al., 2014)
โดยโอลีโอโซมทีค ่ ดั แยกออกมาจะอยูใ่ นรูปของอิมลั ชันทีเ่ กิดขึน ้ ตามธรรมชาติ
มี ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ก า ร น า ม า พั ฒ น า เ ค รื่ อ ง ส า อ า ง
เ นื่ อ ง จ า ก มี คุ ณ ส ม บั ติ ใ ห้ ค ว า ม นุ่ ม ลื่ น ( emollient)
กับ ผิ ว แ ละป้ อ งกัน ก ารระเห ย ข อ งน้ าจาก ผิ ว ห นั ง ( occlusive effect)
และต่อต้านการเกิดออกซิเดชันโดยไม่ต้องใช้สารอิมลั ชันชนิดอืน ่ ๆ นอกจาก
นั้ น
โอลีโอโซมสามารถใช้เสมือนเป็ นอิมลั ซิฟายเออร์ของน้ามันในสูตรเครือ ่ งสาอา
งทั่ว ๆ ไป ได้ ผ ลิ ต ภัณ ฑ์ ที่ ใ ช้ โ อลี โ อโซ ม เป็ น อิ ม ัล ชัน จะมี ค วาม ค งตัว
( ย ก เ ว้ น ที่ เ อ า ไ ป แ ช่ แ ข็ ง )
ส่วนประกอบทีอ ่ ยูใ่ นชัน้ น้าซึ่งโดยปกติเป็ นส่วนของสูตรสุดท้ายของการผลิตเค
รือ
่ งสาอางสามารถนามาใส่รวมกันโดยไม่ตอ ้ งใช้ความร้อน (cold process)
ห รื อ ไ ม่ ต้ อ งใช้ วิ ธี ผ ส ม ที่ ต้ อ งก ว น ด้ ว ย ค ว า ม เร็ ว สู งเป็ น เว ล าน าน ๆ
และสามารถทาอิมลั ชันชนิดน้ามันในน้าได้โดยไม่ตอ ้ งใช้ความร้อนซึง่ จะช่วยป
ร ะ ห ยั ด ใ น เ รื่ อ ง ข อ ง เ ว ล า พ ลั ง ง า น ไ ด้ อ ย่ า ง ม า ก
ดังนัน ้ โอลีโอโซมจึงเป็ นสารอิมลั ซิฟายเออร์ทางเลือกใหม่ทไี่ ด้จากธรรมชาติแล
ะ เ ป็ น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม (environmental-friendly) (Guth, and
Cappabianca, 2006)
โอลีโอโซมทีส ่ กัดได้จากผลปาล์มนั้นจะสกัดได้จากส่วนของ mesocarp
(Ho et al., 2014) ดั ง แ ส ด ง ใ น รู ป ที่ 5
ซึ่ ง โ อ ลี โ อ โ ซ ม นั้ น จ ะ ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย
ฟ อ ส โ ฟ ไ ล ปิ ด โ ม โ น เ ล เ ย อ ร์ (phospholipid monolayer)
ที่ มี โ ปรตี น ชนิ ด พิ เ ศษที่ เ ป็ น amphipathic proteins เรี ย กว่ า oleosins
ซึ่ ง มี ข น า ด ป ร ะ ม า ณ 20-24 kDa
โครงสร้างของโปรตีนตัวนี้เองทีส ่ ง่ เสริมให้เกิดความคงตัวทางเคมีและกายภาพ
ของโอลีโอโซมเมมเบรนนั่นเองซึง่ ทาให้วต ิ ามินและสารอาหารรวมถึงกรดไขมั
น ไ ม่ อิ่ ม ตั ว (unsatured fatty acids)
ภ า ย โ อ ลี โ อ โ ซ ม นี้ ไ ม่ ใ ห้ เ กิ ด ก า ร อ อ ก ซิ เ ด ชั่ น oleosins
นั้น จะประกอบด้ ว ยส่ ว นต่ า ง ๆ 3 ส่ ว น ได้ แ ก่ ส่ ว นแกนกลาง (central
region) ที่ มี ข ้ วั ต่ า มากซึ่ ง ฝั ง ตัว อยู่ ใ นโอลี โ อโซมฟอสโฟไลปิ ดเมมเบรน
ส่ ว น ที่ มี ขั้ ว นั่ น คื อ C- แ ล ะ N-terminal
ซึ่ ง จะอยู่ บ ริ เ วณพื้ น ผิ ว ของฟอสโฟไลปิ ด ดัง รู ป ที่ 6 (Sarmiento et al.,
1997)
ห น้ า | 10

รูปที่ 5 แสดงลักษณะของส่วนประกอบในผลปาล์ม (Harun et al., 2016)

N- C-
terminal terminal

Central
region

รูปที่ 6 แสดงลักษณะรูปร่างและส่วนประกอบของโอลีโอโซม
( http://www.int.laborundmore.com/archive/936206/From-fat-
droplets-in-plant-cells-to-novel-foods.html)
James V. Gruber, et al.(2018)
ได้ทาการศึกษาประสิทธิภาพของครีมกันแดดทีม ่ ีสว่ นประกอบของ
Oleosomes กับครีมกันแดดทีไ่ ม่มีสว่ นประกอบของ Oleosomes
ในการปกป้ องผิวจากรังสี UVB
จากการทดลองพบว่าครีมกันแดดทีม ่ ีสว่ นผสมของ Oleosome
ห น้ า | 11

สามารถปกป้ องผิวจากรังสิ UVB


ได้มากกว่าครีมกันแดดทั่วไปอีกทัง้ ยังช่วยเพิม
่ ประสิทธิภาพของ Sun
screen active ได้ถงึ 80% จึงทาให้ครีมกันแดดทีม ่ ีสว่ นผสมของ
Oleosome สามารถใช้ Sun screen active
ทีม
่ ีปริมาณน้อยกว่าครีมกันแดดทั่วไปและยังให้ประสิทธิภาพทีด ่ ก
ี ว่าหรือเทียบ
เท่าอย่างมีนยั สาคัญ
Diana Tang, et al.(2006) Oleosomes ทีพ ่ บในดอกคาฝอย
มีขนาดเล็กประมาณ 1-3 µm ลักษณะแบบ Sphercial
เป็ นแหล่งเก็บสะสมของ triglycerides ซึ่งเป็ นแหล่งพลังงานภายในเซลล์
พื้นทีผ
่ วิ ของ Oleosomes ถูกล้อมรอบด้วย Oleosin protein ขนาดใหญ่
แสดงคุณสมบัตเิ ป็ น Emulsifier โดยทั่วไป Oleosome จะพบใน
เมล้ดพืชเช่นดอกคาฝอย ผูว้ จิ ยั ไดใช้วธิ ี DermaSphere ในการแยก
oleosomes ออกมาเพือ ่ ให้ในการผลิตเครือ ่ งสาอางสาหรับบารุงผิวพรรณ
เนื่องด้วยคุณสมบัตท ิ ใี่ ห้ความชุม ่ ชืน
่ ป้ องกันการระเหยของน้าออกจากผิว
และฤทธิต ์ อ
่ ต้านอนุมูลอิสระ Oleosomes มีคณ ุ สมบัตเิ ป็ น self-
emulsification เหมาะกับการนามาใช้ในตารับ oil-in-water (O/W)
emulsion โดยไม่เกิดปฏิกริ ยิ ากับสารอืน ่ ๆในตารับ อีกทัง้ ตัว oleosomes
สามารถกักเก็บสารต่างๆทีม ่ ีความสามารถละลายได้ในน้ามันไว้ภายใน เช่น
น้าหอม วิตามิน สารไล่แมลงและสารกันรังสี UV เพือ ่ ขนส่ง
การบรรจุสารเหล่านี้ภายใน Oleosomes
จะช่วยปกป้ องและควบคุมสารปลดปล่อยสารสาคัญในตารับ

บทที่ 3
ระเบียบวิธีวจิ ยั
3.1 การสกัด crude oleosomes จากผลปาล์ม
3.1.1 วิธีการสกัด crude oleosomes จากผลปาล์ม
3.1.1.1 หั่นผลปาล์มเป็ นชิ้นเล็กๆ และนาไปล้างด้วย 10mM Tris-HCL
buffer pH 8.6 แช่ไว้ทอ ี่ ุณหภูมิ 4-6 ํC 1 คืน
3.1.1.2 นาผลปาล์ม 100 กรัม ไปปั่นกับ 3MgCl2 และ 100mM Tris-
HCL buffer pH 8.6 200 มิลลิลต ิ ร ด้วยความเร็วต่า 20 วินาที
และความเร็วสูง 40 วินาที
ห น้ า | 12

3.1.1.3 จากนัน ้ นาไปปั่นด้วยโฮโมจิไนเซอร์เป็ นเวลา 1 นาที


จากนัน ้ นาสารละลายเข้มข้นมากรองด้วยผ้าขาวบาง 3
ชัน
้ (จะมีสารละลายข้นติดอยูบ ่ า้ งทีผ
่ า้ ขาวบาง)
3.1.1.4 จากนัน ้ นาสารละลายทีก ่ รองได้ใส่ใน centrifuge tube 50 ml
โดยใช้ 5000 rpm เป็ นเวลา 40 นาที(ทีอ ่ ุณหภูมิ 4 ํC)
3.1.1.5 เก็บชัน
้ ครีมออกมา นามาแขวนลอยใส่ใน centrifuge tube 50
ml อันใหม่ ทีม ่ ี 10mM Tris-HCL buffer pH 8.6
จากนัน ้ นาไปปั่นด้วยโฮโมจิไนเซอร์ให้เข้ากันใหม่ทาการล้างด้ว
ยสภาวะเดิมเช่นนี้อีก 2 รอบ
3.1.1.6 เก็บชัน้ ครีมในการล้างครัง้ สุดท้ายหลังจากนัน ้ นาไปเก็บทีอ
่ ุณหภู
มิ 4 ํC 2 วันก่อนนาไปใช้
3.1.2 วิธีดข
ู นาดของสารสกัด crude oleosomes
จากผลปาล์มผ่านกล้องจุลทรรศน์
ทาการส่องกล้องจุลทรรศน์ดข
ู นาดอนุภาคของ crude
oleosomes จากเนื้อเมล็ดและผลปาล์ม จากนัน
้ บันทึกรูปภาพ
3.2 การศึกษาคุณสมบัตข
ิ อง crude oleosomes จากผลปาล์ม
3.2.1 วิธีการทดสอบการวัดค่า pH ของ crude oleosomes
จากผลปาล์ม
ทาการทดสอบโดยการใช้เครือ
่ งวัด pH meter จุม
่ ลงในใน
crude oleosomes จากผลปาล์ม โดยในหนึ่งตัวอย่างจะทาการวัด 3
ครัง้ จากนัน
้ นามาหาค่าเฉลีย่
3.2.2 วิธีการทดสอบการวัดค่าความชื้นของ crude oleosomes
จากผลปาล์ม
ทาการทดสอบโดยการใช้เครือ ่ งวัดความชื้น ทีอ
่ ุณหภูมิ 120 ํC
โดยมีการใช้สารตัวอย่างครัง้ ละจานวน 2 กรัมในการหาค่าความชื้น
ในหนึ่งตัวอย่างจะทาการวัด 3 ครัง้ จากนัน้ นามาหาค่าความชื้นเฉลีย่
3.2.3 วิธีการทดสอบการหา Total ash ของ crude oleosomes
จากผลปาล์ม
ทาการทดสอบโดยชั่งน้าหนัก crucible ก่อนอบ จดบันทึก
จากนัน้ ทาการอบ crucible ด้วยตูอ
้ บอุณหภูมิ 120 ํC เป็ นเวลา 1
ชั่วโมง จดน้าหนัก crucible หลังอบ และชั่งน้าหนัก crude
oleosomes จากผลปาล์มมาจานวน 2 กรัม ทาการเผาถ้วย
ห น้ า | 13

crucible บน hot plate จนเป็ นเถ้าดา และนาเข้าเตาเผาทีอ ่ ุณหภูมิ


500 ํC เป็ นเวลา 5 ชั่วโมง เมือ ่ ถ้วย crucible
เย็นให้นามาชั่งน้าหนักอีกครัง้ (หนึ่งตัวอย่างทาซา้ อีก 2 ครัง้ )
3.2.4 วิธีการทดสอบการหาขนาดอนุภาค (particle size) ของ crude
oleosomes จากผลปาล์ม
ทาการทดสอบด้วยเครือ ่ งวัดขนาด particle size
โดยมีการใช้สารตัวอย่าง 2 ความเข้มข้น คือ ความเข้มข้น 0.006%
w/v และความเข้มข้น 0.018% w/v ในการวัดขนาดอนุภาค
โดยในหนึ่งตัวอย่างจะทาการวัด 3 ครัง้ จากนัน
้ นามาหาค่าเฉลีย่
3.2.5 วิธีการทดสอบการหาค่า zeta potential ของ crude
oleosomes จากผลปาล์ม
ทาการทดสอบด้วยเครือ ่ งวัดค่า zeta potential
โดยมีการใช้สารตัวอย่าง 2 ความเข้มข้น คือ ความเข้มข้น 0.006%
w/v และความเข้มข้น 0.018% w/v ในการวัดค่า zeta potential
โดยในหนึ่งตัวอย่างจะทาการวัด 3 ครัง้ จากนัน
้ นามาหาค่าเฉลีย่
3.3 การตัง้ ตารับ crude oleosomes จากผลปาล์ม
3.3.1 การตัง้ ตารับโลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดด
การสืบค้นหาข้อมูลการตัง้ สูตรตารับโลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดด
จดรายการสารทีต ่ อ
้ งใช้ในการตัง้ ตารับ
และทาการตัง้ ตารับโลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดด
3.3.1.1 วิธีการทดสอบการวัดค่า pH
ของตารับโลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดด
ทาการทดสอบโดยการใช้เครือ ่ งวัด pH meter
่ ลงในตารับโลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดดโดยในหนึ่งตัวอย่างจะ
จุม
ทาการวัด 3 ครัง้ จากนัน
้ นามาหาค่าเฉลีย่
3.3.1.2
วิธีการทดสอบการวัดค่าความหนืดของสูตรตารับโลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดด
ทาการทดสอบโดยใช้เครือ ่ งวัดความหนืด หัวเข็มเบอร์ 64
(LV4) จุม
่ ลงในตารับ โลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดด
โดยในหนึ่งตัวอย่างจะทาการวัด 3 ครัง้ จากนัน
้ นามาหาค่าเฉลีย่
ห น้ า | 14

3.3.2 การตัง้ ตารับครีมอาบน้า


การสืบค้นหาข้อมูลการตัง้ สูตรตารับครีมอาบน้า
จดรายการสารทีต่ อ
้ งใช้ในการตัง้ ตารับ และทาการตัง้ ตารับครีมอาบน้า
3.3.2.1 วิธีการทดสอบการวัดค่า pH ของตารับครีมอาบน้า
ทาการทดสอบโดยการใช้เครือ่ งวัด pH meter
่ ลงในตารับครีมอาบน้า โดยในหนึ่งตัวอย่างจะทาการวัด 3 ครัง้
จุม
จากนัน้ นามาหาค่าเฉลีย่
3.3.2.2
วิธีการทดสอบการวัดค่าความหนืดของสูตรตารับครีมอาบน้า
ทาการทดสอบโดยใช้เครือ ่ งวัดความหนืด หัวเข็มเบอร์ 64
(LV4) จุม
่ ลงในตารับครีมทาผิวป้ องกันแสงแดด
โดยในหนึ่งตัวอย่างจะทาการวัด 3 ครัง้ จากนัน
้ นามาหาค่าเฉลีย่
ห น้ า | 15

บทที่ 4
ผลการวิจยั
4.1 การสกัด crude oleosomes จากผลปาล์ม
4.1.1 จานวน %yield ของการสกัด crude oleosomes จากผลปาล์ม
ตารางที่ 4 จานวน %yield ของการสกัด crude oleosomes
จากผลปาล์ม
วันทีส
่ กัด ชนิดปาล์ม จานวนวันทีแ
่ ช่ %yield
buffer
19/09/61 สุราษฎร์ธานี 1 18.51
(S)
20/09/61 สุราษฎร์ธานี 2 20.76
21/09/61 กาญจนบุรี 1 10.86
(K)
24/09/61 กาญจนบุรี 4 5.14
25/09/61 กาญจนบุรี 1 22.67
27/09/61 สุราษฎร์ธานี 1 56.25
กาญจนบุรี 1 29.07
28/09/61 สุราษฎร์ธานี 1 53.28
กาญจนบุรี 1 28.45
1/10/61 สุราษฎร์ธานี 1 19.91
กาญจนบุรี 1 6.63
2/10/61 สุราษฎร์ธานี 1 51.56
กาญจนบุรี 1 17.43
3/10/61 สุราษฎร์ธานี 1 16.98
กาญจนบุรี 1 7.10
ห น้ า | 16

4.2. วิธีดข
ู นาดของ crude oleosomes จากผลปาล์มผ่านกล้องจุลทรรศน์
รูปที่ 7 แสดงภาพของ crude oleosomes จากสวนกาญจนบุรี
(K) ในวันที่ 27/09/61 กาลังขนาด 40x

รูปที่ 8 แสดงภาพของ crude oleosomes จากสวนกาญจนบุรี


(K) ในวันที่ 2/10/61 กาลังขนาด 40x

รูปที่ 9 แสดงภาพของ crude oleosomes


จากสวนสุราษฎร์ธานี (S) ในวันที่ 27/09/61 กาลังขนาด 40x
ห น้ า | 17

รูปที่ 10 แสดงภาพของ crude oleosomes จากสวนสุราษฎร์ธานี


(S) ในวันที่ 2/10/61 กาลังขนาด 40x

4.2 การศึกษาคุณสมบัตข
ิ อง crude oleosomes จากผลปาล์ม
4.2.1 การทดสอบการวัดค่า pH ของ crude oleosomes
จากผลปาล์ม
ตารางที่ 5 ค่า pH ของ crude oleosomes
จากผลปาล์มจากสวนกาญจนบุรี (K)
วันที่ pH ครัง้ ที่ 1 pH ครัง้ ที่ 2 pH ครัง้ ที่ 3 pH เฉลีย่
21/09/61 7.52 7.52 7.57 7.54
24/09/61 7.80 7.73 7.78 7.77
25/09/61 7.36 7.49 7.45 7.43
27/09/61 7.74 7.76 7.76 7.75
28/09/61 7.65 7.68 7.68 7.67
1/10/61 7.42 7.91 7.88 7.74
2/10/61 7.80 7.78 7.78 7.79
3/10/61 7.92 8.01 7.99 7.97
ค่า pH เฉลีย่ ของ crude oleosomes จากผลปาล์มจากสวนกาญจนบุรี (K)
คือ .70±0.164
ห น้ า | 18

ตารางที่ 6 ค่า pH ของ crude oleosomes


จากผลปาล์มจากสวนสุราษฎร์ธานี (S)
วันที่ pH ครัง้ ที่ 1 pH ครัง้ ที่ 2 pH ครัง้ ที่ 3 pH เฉลีย่
19/09/61 7.44 7.50 7.50 7.48
20/09/61 7.55 7.59 7.58 7.57
27/09/61 7.65 7.68 7.64 7.66
28/09/61 7.81 7.83 7.84 7.83
1/10/61 7.68 7.60 7.62 7.63
2/10/61 7.72 7.63 7.63 7.66
3/10/61 7.60 7.66 7.66 7.64
ค่า pH เฉลีย่ ของ crude oleosomes จากผลปาล์มจากสวนสุราษฎร์ธานี
(S) คือ 7.64±0.106

4.2.2 การทดสอบการวัดค่าความชื้นของ crude oleosomes


จากผลปาล์ม
ตารางที่ 7 ค่าความชื้นของ crude oleosomes
จากผลปาล์มจากสวนกาญจนบุรี (K)
วันที่ความชื้นครัง้ ความชื้นครัง้ ความชื้นครัง้ ความชื้นเฉลีย่ (
ที่ 1 (%) ที่ 2 (%) ที่ 3 (%) %)
21/09/6 66.035 65.770 66.260 66.022
1
24/09/6 77.315 78.241 77.948 77.835
1
25/09/6 46.699 44.817 43.217 44.911
1
27/09/6 46.108 56.615 53.127 51.950
1
28/09/6 51.879 50.997 50.297 51.058
1
ห น้ า | 19

1/10/61 51.42 51.598 50.198 51.072


2/10/61 51.892 52.322 51.952 52.055
3/10/61 41.543 39.831 19.313 33.562
ค่าความชื้นเฉลีย่ ของ crude oleosomes จากผลปาล์มสวนกาญจนบุรี
(K) คือ 53.558±13.291

ตารางที่ 8 ค่าความชื้นของ crude oleosomes


จากผลปาล์มจากสวนสุราษฎร์ธานี (S)
วันที่ ความชื้นครัง้ ความชื้นครัง้ ความชื้นครัง้ ความชื้นเฉลีย่ (
ที่ 1 (%) ที่ 2 (%) ที่ 3 (%) %)
19/09/6 63.356 42.928 62.352 56.212
1
20/09/6 55.994 55.102 58.163 56.420
1
27/09/6 42.607 31.363 41.948 38.638
1
28/09/6 50.599 50.222 51.060 50.627
1
1/10/61 44.561 44.545 45.304 44.803
2/10/61 47.085 46.254 7.200 33.513
3/10/61 34.299 39.676 38.815 37.597
ค่าความชื้นเฉลีย่ ของ crude oleosomes จากสวนสุราษฎร์ธานี (S) คือ
45.402±9.255

4.2.3 การทดสอบการหา Total ash ของ crude oleosomes


จากผลปาล์ม
ตารางที่ 9 ผล Total ash ของ crude oleosomes
จากผลปาล์มสวนกาญจนบุรี (K)
Sample
nameK27 (1) K27 (2) K27 (3) K2 (1) K2 (2) K2 (3)
หัวข้อ g g g g g g
W1 35.7670 29.6662 35.5286 35.8071 24.4883 20.3240
W2 37.8020 31.6962 37.5636 37.8428 26.5233 22.3600
W 2.0350 2.0300 2.0350 2.0357 2.0350 2.0360
ห น้ า | 20

W4 35.7701 29.6688 35.5304 35.8092 24.4902 20.3256


(W4- 0.001523 0.001281 0.000885 0.001032 0.000934 0.000786
W1)/W
%w/w 0.1523 0.1281 0.0885 0.1032 0.0934 0.0786
Avg 0.1073
%w/w
SD 0.0267

หมายเหตุ : W1 = น้าหนัก crucible หลังอบ


W2 = น้าหนัก crucible และผงพืช
W = น้าหนักผงพืช
W4 = น้าหนัก crucible เมือ
่ เย็นลง

ตารางที่ 10 ผล Total ash ของ crude oleosomes


จากผลปาล์มสวนสุราษฎร์ธานี (S)
SampleS27 (1) S27 (2) S27 (3) S2 (1) S2 (2) S2 (3)
หัวข้name
อ g g g g g g
W1 29.4639 19.8559 29.2296 35.4370 34.7004 29.9429
W2 31.5071 21.8973 31.2738 37.4772 36.7433 31.9827
W 2.0432 2.0414 2.0442 2.0402 2.0429 2.0400
W4 29.4637 19.8579 29.2303 35.4375 34.7005 29.9436
ห น้ า | 21

(W4- 0.000881 0.000980 0.000342 0.000294 0.000049 0.000441


W1)/W
%w/w 0.0881 0.0980 0.0342 0.0294 0.0049 0.0441
Avg 0.0498
%w/w
SD 0.0361

หมายเหตุ : W1 = น้าหนัก crucible หลังอบ


W2 = น้าหนัก crucible และผงพืช
W = น้าหนักผงพืช
W4 = น้าหนัก crucible เมือ
่ เย็นลง

4.2.4 การทดสอบการหาขนาดอนุภาค (particle size) ของ crude


oleosomes จากผลปาล์ม
4.2.4.1 ค่า particle size ของ crude oleosomes ทีค
่ วามเข้มข้น
0.006%w/v
ตารางที่ 11 ค่า particle size ของ crude oleosomes
จากสวนกาญจนบุรี (K) ในวันที่ 27/09/61
K27 Diameter PI D10 D50 D90
(nm)
ห น้ า | 22

N1 246.6 0.173 77.6 156.7 378.1


N2 206.7 0.149 83.7 151.8 356.3
N3 416.3 0.268 74.4 157.1 2993.3
ค่าเฉลีย่ 289.9 0.197 78.6 155.2 1242.6
SD 111.3 111.297 0.1 4.7 3.0

ตารางที่ 12 ค่า particle size ของ crude oleosomes


จากสวนกาญจนบุรี (K) ในวันที่ 2/10/61
K2 Diameter PI D10 D50 D90
(nm)
N1 244.1 0.180 72.8 160.5 1179.6
N2 312.3 0.222 77.6 161.0 2429.9
N3 177.3 0.215 61.3 181.2 574.7
ค่าเฉลีย่ 244.6 0.206 70.6 167.6 1394.7
SD 67.5 0.0225 8.4 11.8 946.1

ตารางที่ 13 ค่า particle size ของ crude oleosomes


จากสวนสุราษฎร์ธานี (S) ในวันที่ 27/09/61
S27 Diameter PI D10 D50 D90
(nm)
N1 178.5 0.278 77.0 164.8 505
N2 202 0.201 79.5 157.2 1051.1
N3 374.7 0.237 88.7 136.7 5553
ค่าเฉลีย่ 251.7 0.239 81.7 152.9 2369.7
SD 107.1 0.039 6.2 14.5 2770.3

ตารางที่ 14 ค่า particle size ของ crude oleosomes


จากสวนสุราษฎร์ธานี (S) ในวันที่ 2/10/61
S2 Diameter PI D10 D50 D90
(nm)
N1 559.6 0.349 92.3 137.8 10830.4
ห น้ า | 23

N2 227.2 0.162 63.8 175.1 493.4


N3 202.2 0.129 87.4 165.1 305.2
ค่าเฉลีย่ 329.7 0.213 81.2 159.3 3876.3
SD 199.5 0.119 15.2 19.3 6023.13

4.2.5 การทดสอบการหาค่า zeta potential ของ crude oleosomes


จากผลปาล์ม
4.2.5.1 ค่า zeta potential ของ crude oleosomes ทีค
่ วามเข้มข้น
0.006%w/v
ตารางที่ 15 ค่า zeta potential ของ crude oleosomes
จากสวนกาญจนบุรี (K) ในวันที่ 27/09/61
K27 ค่า zeta ค่า zeta ค่า zeta ค่า zeta ค่าเฉลีย่ รวม SD
1 2 3 เฉลีย่
N1 -72.34 -69.2 -69.53 -70.36 -70.76 2.24
N2 -67.3 -71.67 -67.25 -68.74
N3 -84.28 -69.48 -65.75 -73.17
ตารางที่ 16 ค่า zeta potential ของ crude oleosomes
จากสวนกาญจนบุรี (K) ในวันที่ 2/10/61
K2 ค่า zeta ค่า zeta ค่า zeta ค่า zeta ค่าเฉลีย่ รวม SD
1 2 3 เฉลีย่
N1 -49.2 -47.37 -52.8 -49.79 -54.08 3.78
N2 -56.66 -56.49 -56.59 -56.91
N3 -63.92 -59.63 -43.06 -55.54
ตารางที่ 17 ค่า zeta potential ของ crude oleosomes
จากสวนสุราษฎร์ธานี (S) ในวันที่ 27/09/61
S27 ค่า zeta ค่า zeta ค่า zeta ค่า zeta ค่าเฉลีย่ รวม SD
1 2 3 เฉลีย่
N1 -78.94 -82.57 -77.44 -79.65 -75.63 4.42
N2 -75.67 -78.21 -75.16 -76.34
N3 -73.49 -70.36 -68.86 -70.9
ห น้ า | 24

ตารางที่ 18 ค่า zeta potential ของ crude oleosomes


จากสวนสุราษฎร์ธานี (S) ในวันที่ 2/10/61
S2 ค่า zeta ค่า zeta ค่า zeta ค่า zeta ค่าเฉลีย่ รวม SD
1 2 3 เฉลีย่
N1 -79.64 -73.84 -71.64 -75.04 -73.8 5.73
N2 -66.61 -70.63 -65.42 -67.55
N3 -78.35 -79.73 -78.34 -78.81

4.3 การตัง้ ตารับ crude oleosomes จากผลปาล์ม


4.3.1 การตัง้ ตารับโลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดด
ตารางที่ 19 สูตรตารับโลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดดสูตรที่ 1
ส่วน สารเคมี M.F. หน้าที่
(100%w/w)
A วัฏภาคน้า Disodium EDTA 0.1 สารช่วยจับโลหะหนัก
(Water Water 40 ตัวทาละลาย
phase) Satin Cream 0.7 สารเพิม ่ ความหนืด
Maker TM

B Dimethicone 3 สารให้ความนุ่มลืน ่
วัฏภาคน้ามัน SPF Protect 15 สารป้ องกันรังสี UVA
(Oil phase) TM
Ultra II และ UVB
Milk Lotion 3 อิมลั ซิไฟเออร์
Maker TM

Squalene 4 สารให้ความชุม ่ ชื้น


Water 29.9 ตัวทาละลาย
C สารสาคัญ Rice bran oil 0.5 สารต้านอนุมูลอิสระ
(Active Vitamin E 0.1 สารต้านอนุมูลอิสระ
ingredients) acetate
Hip rose oil 1 สารให้ความชุม ่ ชื้น
Phenoxyethanol 1 สารกันเสีย
Perfume 0.1 น้าหอม
SIMULGEL TM 1 สารเพิม ่ ความหนืด,
NS อิมลั ซิไฟเออร์
ห น้ า | 25

ตารางที่ 20 สูตรตารับโลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดดสูตรที่ 2


ส่วน สารเคมี M.F. หน้าที่
(100%w/w)
A วัฏภาคน้า Disodium EDTA 0.1 สารช่วยจับโลหะหนัก
(Water Water 40 ตัวทาละลาย
phase) Satin Cream 0.7 สารเพิม ่ ความหนืด
MakerTM
B Dimethicone 3 สารให้ความนุ่มลืน ่
วัฏภาคน้ามัน SPF Protect 15 สารป้ องกันรังสี UVA
(Oil phase) UltraTM II และ UVB
Milk Lotion 3 อิมลั ซิไฟเออร์
MakerTM
Vitamin B3 4 สารปรับผิวกระจ่างใส
(Niacinamide)
C สารสาคัญ Water 29.9 ตัวทาละลาย
(Active Rice bran oil 0.5 สารต้านอนุมูลอิสระ
ingredients) Vitamin E 0.1 สารต้านอนุมูลอิสระ
acetate
aloe vera oil 1 สารให้ความชุม ่ ชื้น
Phenoxyethanol 1 สารกันเสีย
Perfume 0.1 น้าหอม
SIMULGEL TM 1 สารเพิม ่ ความหนืด,
NS อิมลั ซิไฟเออร์
ตารางที่ 21 สูตรตารับโลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดดสูตรที่ 3
ส่วน สารเคมี M.F. หน้าที่
(100%w/w)
A วัฏภาคน้า Disodium EDTA 0.1 สารช่วยจับโลหะหนัก
(Water Water 40 ตัวทาละลาย
phase) Satin Cream 0.7 สารเพิม่ ความหนืด
Maker TM

B Dimethicone 3 สารให้ความนุ่มลืน่
วัฏภาคน้ามัน SPF Protect 7 สารป้ องกันรังสี UVA
(Oil phase) TM
Ultra II และ UVB
ห น้ า | 26

Milk Lotion 3 อิมลั ซิไฟเออร์


MakerTM
Vitamin B3 4 สารปรับผิวกระจ่างใส
(Niacinamide)
C สารสาคัญ Water 29.9 ตัวทาละลาย
(Active Rice bran oil 0.5 สารต้านอนุมูลอิสระ
ingredients) Vitamin E 0.1 สารต้านอนุมูลอิสระ
acetate
aloe vera oil 1 สารให้ความชุม ่ ชื้น
Phenoxyethanol 1 สารกันเสีย
Perfume 0.1 น้าหอม
SIMULGELTM 1 สารเพิม ่ ความหนืด,
NS อิมลั ซิไฟเออร์

ตารางที่ 22 สูตรตารับโลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดดสูตรที่ 4


ส่วน สารเคมี M.F. หน้าที่
(100%w/w)
A วัฏภาคน้า Disodium EDTA 0.1 สารช่วยจับโลหะหนัก
(Water Water 40 ตัวทาละลาย
phase) Satin Cream 0.7 สารเพิม ่ ความหนืด
Maker TM

B Dimethicone 3 สารให้ความนุ่มลืน ่
วัฏภาคน้ามัน PARSOL® 1789 1 สารป้ องกันรังสี UVA
(Oil phase) PARSOL® MCX 2 สารป้ องกันรังสี UVB
Milk Lotion 3 อิมลั ซิไฟเออร์
Maker TM

Vitamin B3 4 สารปรับผิวกระจ่างใส
(Niacinamide)
C สารสาคัญ Water 29.9 ตัวทาละลาย
(Active Rice bran oil 0.5 สารต้านอนุมูลอิสระ
ingredients) Vitamin E 0.1 สารต้านอนุมูลอิสระ
acetate
aloe vera oil 1 สารให้ความชุม ่ ชื้น
Phenoxyethanol 1 สารกันเสีย
Perfume 0.1 น้าหอม
SIMULGEL TM 1 สารเพิม ่ ความหนืด,
ห น้ า | 27

NS อิมลั ซิไฟเออร์

ตารางที่ 23 สูตรตารับโลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดดสูตรที่ 5


ส่วน สารเคมี M.F. หน้าที่
(100%w/w)
A วัฏภาคน้า Disodium EDTA 0.1 สารช่วยจับโลหะหนัก
(Water Water 40 ตัวทาละลาย
phase) Satin Cream 0.7 สารเพิม ่ ความหนืด
MakerTM
B Dimethicone 3 สารให้ความนุ่มลืน ่
วัฏภาคน้ามัน PARSOL® 1789 5 สารป้ องกันรังสี UVA
(Oil phase) PARSOL® MCX 10 สารป้ องกันรังสี UVB
Milk Lotion 3 อิมลั ซิไฟเออร์
MakerTM
Vitamin B3 4 สารปรับผิวกระจ่างใส
(Niacinamide)
C สารสาคัญ Water 29.9 ตัวทาละลาย
(Active Rice bran oil 0.5 สารต้านอนุมูลอิสระ
ingredients) Vitamin E 0.1 สารต้านอนุมูลอิสระ
acetate
aloe vera oil 1 สารให้ความชุม ่ ชื้น
Phenoxyethanol 1 สารกันเสีย
Perfume 0.1 น้าหอม
SIMULGEL TM 1 สารเพิม ่ ความหนืด,
NS อิมลั ซิไฟเออร์

ตารางที่ 24 สูตรตารับโลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดดสูตรที่ 6


ส่วน สารเคมี M.F. หน้าที่
(100%w/w)
PARSOL® 1789 1 สารป้ องกันรังสี UVA
PARSOL® MCX 2 สารป้ องกันรังสี UVB
DETYL EXTRA 3 สารให้ความชุม ่ ชื้น
A Cetyl alcohol 8 สารให้ความชุม ่ ชื้น
วัฏภาคน้ามัน Vitamin E 0.5 สารต้านอนุมูลอิสระ
(Oil phase) acetate
ห น้ า | 28

BHT 0.05 สารต้านอนุมูลอิสระ


Stearic acid 3 อิมลั ซิไฟเออร์
Sweet almond 2.5 สารให้ความชุม ่ ชื้น
oil
B Milk Lotion 3 อิมลั ซิไฟเออร์
(Emulsifier) MakerTM
C วัฏภาคน้า Water 70.85 ตัวทาละลาย
(Water d-PANTHENOL 1 สารให้ความชุม
่ ชื้น
phase) Propylene 3 ตัวทาละลายร่วม
glycol
Disodium EDTA 0.1 สารช่วยจับโลหะหนัก
D Perfume 0.1 น้าหอม

ตารางที่ 25 สูตรตารับโลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดดสูตรที่ 7


ส่วน สารเคมี M.F. หน้าที่
(100%w/w)
PARSOL® 1789 5 สารป้ องกันรังสี UVA
PARSOL® MCX 10 สารป้ องกันรังสี UVB
DETYL EXTRA 3 สารให้ความชุม ่ ชื้น
A Cetyl alcohol 4 สารให้ความชุม ่ ชื้น
วัฏภาคน้ามัน Vitamin E 0.5 สารต้านอนุมูลอิสระ
(Oil phase) acetate
BHT 0.05 สารต้านอนุมูลอิสระ
Stearic acid 1.5 อิมลั ซิไฟเออร์
Sweet almond 2.5 สารให้ความชุม ่ ชื้น
oil
B Milk Lotion 3 อิมลั ซิไฟเออร์
(Emulsifier) Maker TM

C วัฏภาคน้า Water 70.85 ตัวทาละลาย


(Water d-PANTHENOL 1 สารให้ความชุม
่ ชื้น
phase) Propylene 3 ตัวทาละลายร่วม
glycol
Disodium EDTA 0.1 สารช่วยจับโลหะหนัก
D Perfume 0.1 น้าหอม
ห น้ า | 29

4.3.1.1 วิธีการทดสอบการวัดค่า pH
ของตารับโลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดด
ตารางที่ 26 ค่า pH ของตารับโลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดด
ตารับโลชั่นป้ องกันแสงแดด pH pH pH pH
ครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2 ครัง้ ที่ 3 เฉลีย่
ตารับที่ 1 6.89 6.91 6.83 6.88
ตารับที่ 2 6.63 6.63 6.56 6.61
ตารับที่ 3 6.68 6.67 6.66 6.67
ตารับที่ 4 6.46 6.46 6.46 6.46
ตารับที่ 5 6.76 6.78 6.79 6.78
ตารับที่ 6 5.47 5.47 5.47 5.47
ตารับที่ 7 5.77 5.81 5.82 5.80

4.3.1.2
วิธีการทดสอบการวัดค่าความหนืดของสูตรตารับโลชั่นทาผิวป้ องกันแสงแดด
ตารางที่ 27 ค่าความหนืดของตารับที่ 1
หัวข้อ ตารับ 1
N1 N2 N3
Viscosity Temperature Viscosity Temperature Viscosity Te
(cP) ( ํC) (cP) ( ํC) (cP)
3809.19 26.00 3749.20 26.30 3791.19
3809.19 26.00 3749.20 26.20 3797.19
3809.19 26.10 3749.20 26.20 3797.19
3803.19 26.20 3749.20 26.20 3797.19
3803.19 26.10 3749.20 26.20 3797.19
3803.19 26.20 3749.20 26.10 3791.19
3803.19 26.10 3749.20 26.10 3791.19
3797.19 26.10 3749.20 26.10 3791.19
3791.19 26.10 3743.20 26.00 3779.19
3773.19 26.10 3743.20 26.00 3761.20
ค่าเฉลีย่ 3800.19 3748.00 3789.39
ค่าเฉลีย่ รวม 3779.19
SD 27.55
ห น้ า | 30

ตารางที่ 28 ค่าความหนืดของตารับที่ 2
หัวข้อ ตารับ 2
N1 N2 N3
Viscosity Temperature Viscosity Temperature Viscosity Te
(cP) ( ํC) (cP) ( ํC) (cP)
3707.21 26.00 3875.17 26.00 3899.17
3737.20 26.00 3881.17 26.00 3899.17
3749.20 26.00 3887.17 26.00 3905.17
3761.20 26.00 3887.17 26.00 3905.17
3767.20 25.90 3887.17 26.00 3905.17
3767.20 25.90 3887.17 26.00 3905.17
3785.19 25.90 3887.17 26.00 3905.17
3791.19 25.90 3899.17 26.00 3911.17
3803.19 25.90 3899.17 26.00 3911.17
3821.18 26.00 3899.17 26.00 3911.17
ค่าเฉลีย่ 3769.00 3888.97 26.00 3905.77
ค่าเฉลีย่ รวม 3854.58
SD 74.59

ตารางที่ 29 ค่าความหนืดของตารับที่ 3
หัวข้อ ตารับ 3
N1 N2 N3
Viscosity Temperature Viscosity Temperature Viscosity Te
(cP) ( ํC) (cP) ( ํC) (cP)
2651.43 26.00 2651.43 26.00 2645.44
2651.43 26.10 2651.43 25.90 2645.44
2651.43 26.10 2651.43 25.90 2645.44
2651.43 26.10 2651.43 25.90 2645.44
2657.43 26.00 2651.43 26.00 2645.44
2651.43 25.90 2651.43 26.00 2645.44
2651.43 25.90 2645.44 26.00 2645.44
2651.43 25.90 2651.43 26.00 2645.44
2651.43 26.00 2651.43 26.00 2645.44
ห น้ า | 31

2651.43 26.00 2645.44 26.00 2639.44


ค่าเฉลีย่ 2652.03 2650.23 2644.84
ค่าเฉลีย่ รวม 2649.03
SD 3.75

ตารางที่ 30 ค่าความหนืดของตารับที่ 4
หัวข้อ ตารับ 4
N1 N2 N3
Viscosity Temperature Viscosity Temperature Viscosity Te
(cP) ( ํC) (cP) ( ํC) (cP)
2189.53 25.90 2135.54 25.60 2105.55
2189.53 25.90 2135.54 25.60 2105.55
2183.53 25.80 2129.55 25.60 2105.55
2183.53 25.80 2129.55 25.50 2105.55
2183.53 25.80 2123.55 25.50 2105.55
2177.54 25.80 2123.55 25.50 2105.55
2177.54 25.80 2117.55 25.50 2105.55
2177.54 25.80 2117.55 25.50 2105.55
2171.54 25.80 2117.55 25.50 2105.55
2171.54 25.80 2111.55 25.50 2099.55
ค่าเฉลีย่ 2180.53 2135.54 2104.95
ค่าเฉลีย่ รวม 2136.54
SD 39.29
ห น้ า | 32

ตารางที่ 31 ค่าความหนืดของตารับที่ 5
หัวข้อ ตารับ 5
N1 N2 N3
Viscosity Temperature Viscosity Temperature Viscosity Te
(cP) ( ํC) (cP) ( ํC) (cP)
3749.20 25.70 3797.19 25.70 3803.19
3755.20 25.60 3797.19 25.70 3803.19
3761.20 25.70 3797.19 25.70 3803.19
3767.20 25.70 3797.19 25.70 3803.19
3773.19 25.70 3797.19 25.70 3803.19
3773.19 25.70 3791.19 25.60 3803.19
3779.19 25.80 3791.19 25.60 3791.19
3779.19 25.70 3797.19 25.60 3797.19
3785.19 25.70 3797.19 25.60 3797.19
3785.19 25.80 3791.19 25.60 3797.19
ค่าเฉลีย่ 3770.80 3795.39 3800.19
ค่าเฉลีย่ รวม 3788.79
SD 15.77
ห น้ า | 33

ตารางที่ 32 ค่าความหนืดของตารับที่ 6
หัวข้อ ตารับ 6
N1 N2 N3
Viscosity Temperature Viscosity Temperature Viscosity Te
(cP) ( ํC) (cP) ( ํC) (cP)
6598.59 25.30 6598.59 25.30 6598.59
6598.59 25.30 6598.59 25.30 6598.59
6598.59 25.30 6598.59 25.30 6598.59
6598.59 25.30 6598.59 25.30 6598.59
6598.59 25.30 6598.59 25.40 6598.59
6598.59 25.30 6598.59 25.30 6598.59
6598.59 25.20 6598.59 25.40 6598.59
6598.59 25.30 6598.59 25.40 6598.59
6598.59 25.30 6598.59 25.40 6598.59
6598.59 25.30 6598.59 25.30 6598.59
ค่าเฉลีย่ 6598.59 6598.59 6598.59
ค่าเฉลีย่ รวม 6598.59
SD 0.00
ห น้ า | 34

ตารางที่ 33 ค่าความหนืดของตารับที่ 7
หัวข้อ ตารับ 7
N1 N2 N3
Viscosity Temperature Viscosity Temperature Viscosity Te
(cP) ( ํC) (cP) ( ํC) (cP)
5104.91 25.30 4792.98 25.30 4762.98
4990.94 25.30 4780.98 25.40 4786.98
4918.95 25.30 4768.98 25.40 4798.98
4858.96 25.30 4756.98 25.40 4816.97
4846.97 25.40 4768.98 25.40 4804.97
4816.97 25.40 4780.98 25.30 4816.97
4804.97 25.40 4762.98 25.30 4822.97
4792.98 25.40 4750.99 25.30 4810.97
4804.97 25.40 4732.99 25.30 4834.97
4810.97 25.30 4726.99 25.30 4834.97
ค่าเฉลีย่ 4875.16 4762.38 4809.17
ค่าเฉลีย่ รวม 4815.57
SD 56.66
ห น้ า | 35

4.3.2 การตัง้ ตารับครีมอาบน้า


ตารางที่ 34 สูตรตารับครีมอาบน้าสูตรที่ 1
ส่วน สารเคมี M.F. หน้าที่
(100%w/w)
Part A Water 35.3 ตัวทาละลาย
Lauric acid 12 สารก่อสบู่
Myristic acid 6.5 สารก่อสบู่
Palmitic acid 1.5 สารก่อสบู่
Silsense DW- 0.5 สารให้ความชุม
่ ชื้น
18
Carbopol 6.5 สารเพิม
่ ความหนืด
aqua SF1
Glycerine 6 สารให้ความชุม
่ ชื้น
Part B Potassium 6.2 สารก่อสบู่
hydroxide
Water 15 ตัวทาละลาย
Part C Texapon N- 6 สารลดแรงตึงผิว
8000 (SLES)
Ajide NL50 2 สารให้ความชุม
่ ชื้น
(sodium PCA)
DMDM 0.5 สารกันเสีย
hydantoin
Zoharpearl 2 สารก่อประกายมุก
771
Perfume qs น้าหอม

ตารางที่ 35 สูตรตารับครีมอาบน้าสูตรที่ 2
ส่วน สารเคมี M.F. หน้าที่
(100%w/w)
Part A Water 35.3 ตัวทาละลาย
Lauric acid 12 สารก่อสบู่
Myristic acid 6.5 สารก่อสบู่
ห น้ า | 36

Silsense DW- 0.5 สารให้ความชุม


่ ชื้น
18
Carbopol 6.5 สารเพิม
่ ความหนืด
aqua SF1
Glycerine 6 สารให้ความชุม
่ ชื้น
Part B Potassium 6.2 สารก่อสบู่
hydroxide
Water 15 ตัวทาละลาย
Part C Oleosome 1.5 สารสาคัญ
Texapon N- 6 สารลดแรงตึงผิว
8000 (SLES)
Ajide NL50 2 สารให้ความชุม
่ ชื้น
(sodium PCA)
DMDM 0.5 สารกันเสีย
hydantoin
Zoharpearl 2 สารก่อประกายมุก
771
Perfume qs น้าหอม

ตารางที่ 36 สูตรตารับครีมอาบน้าสูตรที่ 3
ส่วน สารเคมี M.F. หน้าที่
(100%w/w)
Part A Water 35.3 ตัวทาละลาย
Lauric acid 12 สารก่อสบู่
Myristic acid 3 สารก่อสบู่
Silsense DW- 0.5 สารให้ความชุม
่ ชื้น
18
Carbopol 6.5 สารเพิม
่ ความหนืด
aqua SF1
Glycerine 6 สารให้ความชุม
่ ชื้น
Part B Potassium 6.2 สารก่อสบู่
hydroxide
Water 15 ตัวทาละลาย
Part C Oleosome 5 สารสาคัญ
Texapon N- 6 สารลดแรงตึงผิว
8000 (SLES)
ห น้ า | 37

Ajide NL50 2 สารให้ความชุม


่ ชื้น
(sodium PCA)
DMDM 0.5 สารกันเสีย
hydantoin
Zoharpearl 2 สารก่อประกายมุก
771
Perfume qs น้าหอม

ตารางที่ 37 สูตรตารับครีมอาบน้าสูตรที่ 4
ส่วน สารเคมี M.F. หน้าที่
(100%w/w)
Part A Water 35.3 ตัวทาละลาย
Lauric acid 8 สารก่อสบู่
Myristic acid 6.5 สารก่อสบู่
Silsense DW- 0.5 สารให้ความชุม
่ ชื้น
18
Carbopol 6.5 สารเพิม
่ ความหนืด
aqua SF1
Glycerine 6 สารให้ความชุม
่ ชื้น
Part B Potassium 6.2 สารก่อสบู่
hydroxide
Water 19 ตัวทาละลาย
Part C Oleosome 1.5 สารสาคัญ
Texapon N- 6 สารลดแรงตึงผิว
8000 (SLES)
Ajide NL50 2 สารให้ความชุม
่ ชื้น
(sodium PCA)
DMDM 0.5 สารกันเสีย
hydantoin
Zoharpearl 2 สารก่อประกายมุก
771
Perfume qs น้าหอม
ห น้ า | 38

ตารางที่ 38 สูตรตารับครีมอาบน้าสูตรที่ 5
สารเคมี M.F. หน้าที่
(100%w/w)
Water 40.8 ตัวทาละลาย
Texapon N70 50 สารลดแรงตึงผิว
Glycerine 3 สารให้ความชุม ่ ชื้น
Comperlan KD 2 สารเพิม
่ ความหนืด,
สารเพิม่ ฟอง
Sodium 3 สารเพิม่ ความหนืด
chloride
Perfume 1 น้าหอม
DMDM 0.2 สารกันเสีย
hydantoin

ตารางที่ 39 สูตรตารับครีมอาบน้าสูตรที่ 6
ส่วน สารเคมี M.F. หน้าที่
(100%w/w)
Part A Water 25.3 ตัวทาละลาย
Lauric acid 12 สารก่อสบู่
Myristic acid 6.5 สารก่อสบู่
Silsense DW- 0.5 สารให้ความชุม
่ ชื้น
18
Carbopol 6.5 สารเพิม
่ ความหนืด
aqua SF1
Glycerine 6 สารให้ความชุม
่ ชื้น
Part B Potassium 6.2 สารก่อสบู่
hydroxide
Water 15 ตัวทาละลาย
Part C Oleosome 1.5 สารสาคัญ
Citric acid 10 สารปรับ pH
Texapon N- 6 สารลดแรงตึงผิว
8000 (SLES)
Ajide NL50 2 สารให้ความชุม
่ ชื้น
(sodium PCA)
ห น้ า | 39

DMDM 0.5 สารกันเสีย


hydantoin
Zoharpearl 2 สารก่อประกายมุก
771
Perfume qs น้าหอม

4.3.2.1 วิธีการทดสอบการวัดค่า pH ของตารับครีมอาบน้า


ตารางที่ 40 ค่า pH ของตารับครีมอาบน้า
ตารับครีมอาบน้า pH ครัง้ ที่ 1 pH ครัง้ ที่ pH ครัง้ ที่ pH เฉลีย่
2 3
ตารับที่ 1 8.81 8.80 8.77 8.79
ตารับที่ 2 9.11 9.11 9.13 9.12
ตารับที่ 3 13.15 13.14 13.12 13.14
ตารับที่ 4 13.21 13.20 13.22 13.21
ตารับที่ 5 7.80 7.80 7.79 7.80
ตารับที่ 6 8.04 8.06 8.07 8.06

4.3.2.2
วิธีการทดสอบการวัดค่าความหนืดของสูตรตารับครีมอาบน้า
ตารางที่ 41 ค่าความหนืดของตารับที่ 1
หัวข้อ ตารับ 1
N1 N2 N3
Viscosity Temperature Viscosity Temperature Viscosity Te
(cP) ( ํC) (cP) ( ํC) (cP)
1457.69 25.30 1469.69 25.80 1469.69
1457.69 25.30 1469.69 25.80 1469.69
1451.69 25.30 1469.69 25.80 1469.69
1457.69 25.30 1469.69 25.80 1469.69
1451.69 25.40 1469.69 25.80 1469.69
1457.69 25.30 1463.69 25.70 1463.69
1457.69 25.40 1463.69 25.70 1469.69
1463.69 25.40 1463.69 25.80 1469.69
1463.69 25.40 1463.69 25.80 1469.69
1463.69 25.40 1463.69 25.80 1475.69
ห น้ า | 40

ค่าเฉลีย่ 1458.29 1466.69 1469.69


ค่าเฉลีย่ รวม 1464.89
SD 5.91

ตารางที่ 42 ค่าความหนืดของตารับที่ 2
หัวข้อ ตารับ 2
N1 N2 N3
Viscosity Temperature Viscosity Temperature Viscosity Te
(cP) ( ํC) (cP) ( ํC) (cP)
935.80 25.80 935.80 25.90 935.80
935.80 25.80 935.80 25.90 935.80
935.80 25.80 935.80 25.90 935.80
935.80 25.70 935.80 26.00 929.80
935.80 25.70 935.80 25.90 929.80
935.80 25.70 935.80 25.90 929.80
935.80 25.70 935.80 25.80 935.80
935.80 25.70 935.80 25.80 935.80
935.80 25.80 935.80 25.80 935.80
935.80 25.80 935.80 25.70 935.80
ค่าเฉลีย่ 935.80 935.80 934.00
ห น้ า | 41

ค่าเฉลีย่ รวม 935.20

SD 1.04

ตารางที่ 43 ค่าความหนืดของตารับที่ 3
หัวข้อ ตารับ 3
N1 N2 N3
Viscosity Temperature Viscosity Temperature Viscosity Te
(cP) ( ํC) (cP) ( ํC) (cP)
119.97 25.70 131.97 25.90 137.97
119.97 25.70 131.97 25.90 137.97
125.97 25.70 131.97 26.00 137.97
125.97 25.80 131.97 26.20 137.97
125.97 25.90 131.97 26.20 137.97
125.97 25.90 131.97 26.10 137.97
125.97 25.90 131.97 26.10 137.97
131.97 25.90 131.97 26.10 137.97
131.97 25.90 131.97 26.00 137.97
131.97 25.90 131.97 25.90 137.97
ค่าเฉลีย่ 126.57 131.97 137.97
ค่าเฉลีย่ รวม 132.17

SD 5.70
ห น้ า | 42

ตารางที่ 44 ค่าความหนืดของตารับที่ 4
หัวข้อ ตารับ 4
N1 N2 N3
Viscosity Temperature Viscosity Temperature Viscosity Te
(cP) ( ํC) (cP) ( ํC) (cP)
401.91 25.60 401.91 25.80 401.91
401.91 25.50 401.91 25.80 401.91
401.91 25.50 401.91 25.90 401.91
401.91 25.50 401.91 25.90 401.91
401.91 25.60 401.91 25.90 401.91
401.91 25.60 401.91 25.80 401.91
401.91 25.60 401.91 25.80 407.91
401.91 25.60 401.91 25.80 401.91
401.91 25.60 401.91 25.70 401.91
401.91 25.60 401.91 25.70 401.91
ค่าเฉลีย่ 401.91 401.91 402.51
ค่าเฉลีย่ รวม 402.11

SD 0.35
ห น้ า | 43

ตารางที่ 45 ค่าความหนืดของตารับที่ 5
หัวข้อ ตารับ 5
N1 N2 N3
Viscosity Temperature Viscosity Temperature Viscosity Te
(cP) ( ํC) (cP) ( ํC) (cP)
3587.23 25.90 3587.23 25.80 3593.23
3587.23 26.00 3587.23 25.80 3593.23
3587.23 25.90 3587.23 25.80 3599.23
3587.23 26.00 3587.23 25.80 3593.23
3587.23 25.90 3587.23 25.80 3611.23
3587.23 25.90 3587.23 25.90 3635.22
3587.23 25.80 3587.23 25.90 3617.23
3587.23 25.80 3587.23 25.90 3587.23
3587.23 25.80 3587.23 25.90 3587.23
3587.23 25.80 3587.23 25.90 3587.23
ค่าเฉลีย่ 3587.23 3587.23 3600.43
ค่าเฉลีย่ รวม 3591.63

SD 7.62
ห น้ า | 44

ตารางที่ 46 ค่าความหนืดของตารับที่ 6
หัวข้อ ตารับ 6
N1 N2 N3
Viscosity Temperature Viscosity Temperature Viscosity Te
(cP) ( ํC) (cP) ( ํC) (cP)
4888.96 25.80 4756.98 25.80 4888.96
4888.96 25.80 4858.96 25.80 4822.97
4888.96 25.90 4888.96 25.80 4762.98
4888.96 26.00 4888.96 25.90 4625.01
4888.96 26.00 4888.96 25.90 4625.01
4888.96 26.00 4888.96 25.90 4577.02
4888.96 25.90 4888.96 25.90 4691.00
4888.96 25.80 4888.96 26.00 4870.96
4888.96 25.80 4864.96 25.90 4720.99
4888.96 25.80 4876.96 25.90 4804.97
ค่าเฉลีย่ 4888.96 4869.16 4738.99
ค่าเฉลีย่ รวม 4832.37

SD 81.47
ห น้ า | 45

บทที่ 5
สรุปและอภิปรายผลการทดลอง
การทดลองเพือ ่ สกัด Oleosomes จากปาล์มน้ามัน จาก 2 แหล่ง
คือสวนกาญจนบุรี (K) และสวนสุราษฏร์ธานีโดยวิธี aqueous based
flotation–centrifugation (Loer & Herman, 1993) ใช้ Tris-HCl
เพือ่ เป็ น lysis buffer แบบ non-ionic
ในการหยุดปฏิกริ ยิ าโปรตีนภายในเซลล์พืช พบว่าปริมาณ crude
oleosomes จากทัง้ 2 แหล่งมีความแตกต่างกัน ให้ % Yield
สูงสุดทัง้ สวนกาญจนบุรี (K) และ สวนสุราษฎร์ธานี (S) เท่ากับ 29.07 และ
56.25 ตามลาดับ
อาจเนื่องมาจากปัจจัยด้านภูมภ ิ าคของจังหวัดทีม ่ ีความแตกต่างกัน
จังหวัดกาญจนบุรีตง้ ั อยูบ ่ ริเวณภาคตะวันตกของประเทศไทย
เริม
่ เข้าสูฤ ่ ดูฝนในช่วงกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม
มีปริมาณน้าฝนเฉลีย่ ต่อปี อยูท ่ ี่ 1,055.3 มิลลิเมตร
[อุตน ุ ิยมวิทยาน่ ารูเ้ พือ ่ การเกษตรจังหวัดกาญจนบุรี]
สาหรับจังหวัดสุราษฎร์ธานีตง้ ั อยูบ ่ ริเวณภาคใต้ของประเทศไทยอีกทัง้ ยังเป็ นจั
งหวัดทีม ่ ีฝนชุกตลอดปี ปริมาณน้าฝนเฉลีย่ ตลอดปี ประมาณ 1,519.8
มิลลิเมตร อีกทัง้ ยังมีจานวนวันฝนตกรวมแล้วประมาร 147 วันในระยะ 1 ปี
[อุตน ุ ิยมวิทยาน่ ารูเ้ พือ ่ การเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี]
ทาให้มีปริมาณน้าฝนทีเ่ หมาะสมสาหรับการปลูกปาล์มน้ามัน
เนื่องจากปาล์มจะให้น้ามันได้ดท ี ส
ี่ ุดในสภาพแวดล้อมทีม ่ ีปริมาณการตกของฝ
นในรอบปี ต้องดีและสม่าเสมอ โดยทีจ่ ะต้องไม่มีสภาพแห้งแล้งนานเกินไป
เดือนทีม ่ ีฝนตกน้อยทีส ่ ุด ไม่ควรต่ากว่า 100 มิลลิเมตร
และไม่ควรมีเดือนขาดน้านานเกิน 4 เดือน
อีกทัง้ ยังมีปจั จัยด้านการดูแลรักษาทีแ ่ ตกต่างกันย่อมส่งผลต่อปริมาณน้ามันทีส ่
กัดได้ เนื่องจากน้าเป็ นปัจจัยหลักทีส ่ ง่ ผลต่อปริมาณน้ามันทีส่ กัดได้ เมือ
่ นา
Oleosome ทีส ่ กัดได้จากทัง้ 2 แหล่ง
มาส่องกล้องจุลทรรศน์พบว่ามีลกั ษณะเป็ นกลมรี(spheroid)
ทดสอบคุณสมบัตต ิ า่ งๆพบว่ามีความเป็ นกรด-เบส ของ Oleosome
ห น้ า | 46

ของสวนกาญจนบุรี (K) คือ 7.70±0.164 และ สวนสุราษฎร์ธานี (S) คือ


7.64±0.106 ซึง่ มีคา่ pH ใกล้เคียงกัน เมือ ่ นามาทดสอบความชื้นพบว่า
Oleosome ของสวนกาญจนบุรี (K) ค่าความชื้นทีม ่ ากกว่า สวนสุราษฎร์ธานี
(S) โดยความชื้นทีว่ ดั ได้สวนกาญจนบุรี (K) มีคา่ เท่ากับ 53.558±13.291 และ
จากสวนสุราษฎร์ธานีมีคา่ เท่ากับ 45.402±9.255% [DAIGO IWANAGA
et al., 2007]
ด้วยปริมาณความชื้นทีค ่ อ
่ นข้างสูงย่อมมีผลทาเกิดปฏิกริ ยิ าออกซิเดชั่นได้งา่ ย
อีกทัง้ มีผลต่อการเกิดการปนเปื้ อนจากเชื้อจุลน ิ ทรีย์ตา่ งๆทีม ่ ากับน้าได้งา่ ย
หากเกิดปฏิกริยาเกิดขึน ้ อาจส่งผลให้เกิดความเป็ นกรดของน้ามัน
ดังนัน ้ จึงเป็ นปัจจัยสาคัญทีเ่ มือ ่ นาไปตัง้ ตารับควรคานึ งถึงการใส่สารเพือ ่ ทาหน้
าทีเ่ ป็ นแอนตีอ ้ อกซิแดนซ์และสารกันเสีย
อีกทัง้ ยังควรเก็บในภาชนะทีป ่ ิ ดสนิทเพือ ่ คงคุณสมบัตท ิ ดี่ ข
ี อง Oleosomes
ไว้ เมือ ่ นามาทาการทดสอบหา Ash
พบว่าค่าได้มีคา่ น้อยแสดงให้เห็นว่าปริมาณสารอนินทรีย์ทป ี่ นเปื้ อนมากับ
crude oleosome มีปริมาณน้อย แสดงถึงวิธีการปลูกปาล์มทีด ่ ี
ใช้วธิ ีทางธรรมชาติ มีการปนเปื้ อนของโลหะหนักในปริมาณน้อย (ตะกั่ว
แคดเมียม สารหนู เหล็ก)
จากการทดสอบขนาดอนุภาคพบว่าขนาดของทัง้ สองแหล่งมีความใกล้เคียงกัน
โดยมีขนาดน้อยกว่า 300 นาโนเมตร
ซึง่ เป็ นขนาดทีเ่ หมาะสมกับการซึมผ่านเข้าสูผ ่ วิ หนัง
จึงเหมาะกับการใช้เป็ นระบบในการขนส่งสารต่างๆ เช่น carotenoids,
tocopherols และtocotrienols ซึง่ เป็ นสาระสาคัญทีพ ่ บในน้ามันปาล์ม [B.
Nagendran et al.,2000] ทีต ่ อ ้ งการออกฤทธิเ์ ข้าสูผ ่ วิ หนังได้เป็ นอย่างดี
เมือ ่ นามาหาค่า zeta-potential พบว่าส่วนใหญ่มากกว่า ±60 mv เล็กน้อย
จึงบอกได้วา่ อนุภาค Oleosome สามารถแขวนลอยได้ดใี นตัวกลาง
มีความคงตัวดีเนื่องจากมีแรงผลักกันระหว่างอนุภาคทาให้โอกาสทีอ ่ นุภาคนัน

ไม่รวมตัวกันจึงไม่เกิดการตกตะกอน [Freitas, C., & Müller, R. H.
(1998).] และเนื่องจากคุณสมบัตท ิ ด
ี่ ข
ี อง Oleosomes
จึงมีความเหมาะสมต่อการพัฒนาต่อในการนามาใช้เป็ นครีมกันแดด เนื่องจาก
Oleosomes มีคณ ุ สมบัตท ิ ด
ี่ ท ี ชี่ ว่ ยเพือ ่ ประสิทธิภาพของครีมกันแดด
โดยการเพิม ่ ประสิทธิภาพของ sun screen active
ได้มากกว่าครีมกันแดดทีไ่ ม่มีสว่ นประกอบของ Oleosomes ในตารับ
จึงเป็ นผลให้สามารถลดปริมาณของสารกันแดดทีใ่ ส่ลงในตารับได้
เพือ ่ ช่วยลดโอกาสการแพ้แก่ผใู้ ช้
อีกทัง้ ยังช่วยเพิม ่ ระยะเวลาในการปกป้ องผิวจากแสงแดด ในตารับที่ 5
ห น้ า | 47

ใช้สารPARSOL® 1789 และPARSOL® MCX เป็ นสารกันแดด


จากการคานวณค่า Sunscreen simulator
พบว่ามีประสิทธิภาพกันแดดอยูท ่ ี่ SPF 18.3 PA++
และด้วยคุณสมบัตท ิ ดี่ ใี นการเป็ น self-emulsifier
และส่วนประกอบหลักของน้ามันปาล์มคือ Palmitic acid
ถูกไฮโดรไลซ์ได้ดว้ ยด่างจึงเกิดปฏิกริ ยิ า Saponification ตารับที่ 2
จึงได้สบูท
่ ีเ่ นื้อฟองมาก เนียนละเอียด ทาความสะอาดได้ดี
ให้ความชุม ่ ชืน ่ แก่ผวิ

ข้อเสนอแนะ
งานวิจยั นี้เป็ นการพัฒนาสูตรตารับโลชั่นทาผิวเพือ
่ ป้ องกันแสงแดด
และครีมอาบน้าจาก crude oleosomes จากผลปาล์ม
ห น้ า | 48

จากผลการศึกษาทีไ่ ด้สามารถนามาเป็ นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาด้านอืน ่ ๆ


ต่อไป ทัง้ วิธีการสกัด crude oleosomes
เพือ ่ ให้ได้ปริมาณมากและมีคณ ุ สมบัตท ิ ค
ี่ งตัวตามต้องการ และการนา crude
oleosomes
จากเนื้อเมล็ดและผลปาล์มไปพัฒนาเป็ นสูตรตารับเครือ ่ งสาอางชนิดอืน
่ ๆ
ทีเ่ หมาะสม
เนื่องจากคุณสมบัตข ิ องการเป็ นอิมลั ซิไฟเออร์ทม ี่ ีความอ่อนโยนจึงเหมาะสมต่
อการนาไปต่อยอดเพือ ่ ผลิตเป็ นคลีนซิง่ สาหรับลบเครือ ่ งสาอาง
นอกการนี้ยงั ช่วยบารุงผิวพรรณด้วยคุณค่าจากวิตามินต่างๆ

บรรณานุกรม
ห น้ า | 49

L. Y. Yatsu, T. J. Jacks, and T. P. Hensarling. Isolation of


Spherosomes (Oleosomes) from Onion, Cabbage, and
Cottonseed Tissues. Plant Physiol. 1971; 48: 675-682.
Chrysantha Freitas, Rainer H. Mu¨ller. Effect of light and
temperature on zeta potential and physical stability in solid lipid
nanoparticle (SLN™) dispersions. International Journal of
Pharmaceutics. 1998; 168: 221–229.
Diana Tang and Jack Guth. Natural Oleosomes Loading
Emulsion Technology. J. Soc. Cosmet. Scientists Korea. 2006;
32(3): 149-152
Raymond C Rowe, Paul J Sheskey and Siân C Owen.
Handbook of Pharmaceutical Excipients. Fifth Edition. London:
The Pharmaceutical Press; 2006.
พิมลพรรณ พิทยานุกุล.
หลักการตัง้ ตารับยาเตรียมและเครือ
่ งสาอาง.พิมพ์ครัง้ ที่ 1: หจก. เฟม
โปรดัคชั่น; 1992.
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข.
คูม
่ ือผลิตภัณฑ์เครือ
่ งสาอางเพือ
่ เศรษฐกิจชุมชน.พิมพ์ครัง้ ที่ 3; 2002.
BASF. BASF Sunscreen Simulator [Internet].2006[cited
17/10/18] Available from:
https://www.sunscreensimulator.basf.com/Sunscreen_Simulato
r/Login_show.action

You might also like