You are on page 1of 20

โครงงาน

เรื่ อง ชอล์กเปลือกไข่ไล่มด

จัดทาโดย
นางสาวจรรยพร สุวรรณวิสุทธิ์ เลขที่
นางสาวฉวีวรรณ จันทมาศ เลขที่ 28
นางสาวเยาวพา ใจสุ ข เลขที่ 31
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่6/3

ครูที่ปรึกษา
คุณครูกุลวิศา ติกุล
โรงเรียนเขมราฐพิทยาคม
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาอุบลาชธานี อานาจเจริญ
บทคัดย่อ
จากการที่ผจู้ ดั ทาการสารวจภายในครัวจึงทา ให้ทราบถึงวิธีการปฏิบตั ิงานจริ ง จึงได้มองเห็นปัญหา
และความสาคัญของการใช้วสั ดุหรื อของเหลือใช้ให้เกิดคุณค่าจากวัสดุเหลือทิ้งในครัวนากลับมาแปรรู ป
ขึ้นมาใหม่ ทาให้เกิดคุณค่าและประโยชน์ ทางผูจ้ ดั ทาจึงได้คิดวิธีการนาเอาของเหลือทิง้ เช่น เปลือกไข่ไก่ ที่
ใช้จากการทาอาหารเช้าทุกวัน จึงได้นากลับมาแปรรู ปเป็ น ชอล์กกาจัดมดจากเปลือกไข่ไก่ โดยมีเป้าหมาย
เพื่อลดขยะที่ท้ิงในแต่ละวัน และทาให้เกิดประโยชน์

ความสาคัญ :เปลือกไข่ , แคลเซียมคาร์บอเนต , ชอล์กกาจัดมด


กิตติกรรมประกาศ
รายงาน เรื่ อง ชอล์กเปลือกไข่ไล่มด ที่จดั ทาขึ้นเพื่อเป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา เคมี เพื่อศึกษาปัญหาใน
เรื่ อง เปลือกไข่ไก่ที่เหลือทิ้ง
รายงานฉบับนี้ ได้รับการสนับสนุนเป็ นอย่างดีจาก นายถนอม หลุมทอง ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนเขมราฐ
พิทยาคม ผูจ้ ดั ทาขอกราบขอบพระคุณท่านมา ณ โอกาสนี้
ขอขอบพระคุณ นางสาวกุลวิศา ติกุล ครู ที่ปรึ กษา และคณะครู ทุกท่าน ที่ได้ให้คาแนะนา
และคอยช่วยเหลือในการจัดทารายงานจนสาเร็ จลุล่วง ที่ให้ความช่วยเหลือและคาแนะนาที่เป็ นประโยชน์
ขอขอบพระคุณพระคุณบิดามารดาของคณะผูจ้ ดั ทา ที่ให้การสนับสนุ นในการศึกษาเล่าเรี ยน และคอย
เป็ นกาลังใจที่ให้เสมอมา

คณะผู้จดั ทำ
สารบัญ
หน้ า
บทคัดย่ อ ก

กิตติกรรมประกาศ ข

บทที่1
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา 6
วัตถุประสงค์ของโครงงาน 6
ประโยชน์ที่ได้รับ 7
บทที่2 การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง
การลดขยะ Reduce Reuse และ Recycle (3Rs) 7
การประกอบอาหารและความรู ้เกี่ยวกับมด 8
ข้อมูลเกี่ยวกับชอล์ก 9
ข้อมูลเกี่ยวกับไข่ไก่ 9
สรรพคุณของวัตถุดิบที่ใช้สาหรับทาชอล์กกาจัดมดจากเปลือกไข่ 10-11
ข้อมูลเกี่ยวกับแคลเซียมคาร์บอเนต 12
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 13
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน
วัสดุ/อุปกรณ์ 14
วิธีทา 15
บทที่ 4 ผลการปฏิบัติตามโครงงาน
รายละเอียดการทาโครงงาน 17
ขั้นตอนการทาชอล์กจากเปลือกไข่ 17
บทที่5
สรุ ปผลโครงงาน 18
บรรณานุกรม 19

ภาคผนวก 20
บทที่ 1
ความเป็ นมาและความสาคัญ
ความเป็ นมาและความสาคัญ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความรู ้ทางเคมีมาประยุกต์ใช้ในการทาชอล์กเปลือกไข่
ไล่มด เพื่อเป็ นแนวทางการพัฒนาที่อยู่บนพื้นฐานของการพึ่งตนเอง ความพอมี พอใช้ การรู ้จกั พอประมาณ
การคานึงถึงความมีเหตุผล ส่ งเสริ มความประหยัดในครัวเรื อน หากจะต้องซื้อสเปรย์ปรับอากาศอาจจะต้อง
ทาให้เสี ยเงินซื้อในราคาที่แพงและบางยี่ห้ออาจจะมีส่วนผสมของสารเคมีที่อนั ตรายบางชนิด ซึ่งอาจส่ งผล
เสี ยต่อสุ ขภาพ
จากการทาครัว ทาให้มีขยะอาหารจานวนมากในแต่ละวัน เช่น เศษผัก เปลือกไข่ไก่ เศษผลไม้ เศษ
ใบตอง ทีเ่ หลือทิ้ง เหลือถูกคัดทิ้งโดยไม่ผ่านเกณฑ์ จึงทาให้เกิด"ขยะอาหาร" เป็ นตัวการภาวะ โลกร้อน ที่
หลายาคนมองข้ามกัน อย่างไรก็ตามการรักษ์โลกมีหลากหลายวิธี อาทิเช่นหลัก 3Rs ที่ประกอบด้วย การลด
การใช้ การใช้นอ้ ยเท่าที่จาเป็ น หรื อการลดสร้างของเสี ย (Reduce) การใช้ซ้ าหลายๆ ครั้ง เพื่อยืดอายุการใช้
งานและใช้ประ ไยชน์ให้มากขึ้น (Reuse) และการแปรรู ปมาใช้ใหม่ (Recycle) เช่น การนาขยะคงรู ปที่ย่อย
สลายได้ยากได้แก่ แก้ว กระดาบ โลหะ พลาสติก ไปผ่านกระบวนการผลิตออกมาเป็ นผลิตภัณฑ์ชิ้นใหม่
ดังนั้นจากการศึกษาค้นคว้าเพื่อให้ทราบถึงแนงทางการจัดทาผลิตภัณฑ์ เพื่อลดโลกร้อนโดยการรี
ไซเคิล ผูจ้ ดั ทาจึงมีแนวคิดที่จะนาเปลือกไข่ไก่เหลือทิ้งมารี ไซเคิลเป็ นผลิตภัณฑ์ โดยได้จดั ทาโครงงานใน
เรื่ อง "ชอล์กกาจัดมดจากเปลือกไข่ไก่" เพื่อใช้ไล่และกาจัดมดในบริ เวณห้องครัวเพื่อรักยามาตรฐานความ
สะอาดของพื้นที่ห้องครัว สามารถลคต้นทุนโดยการนาเปลือกไข่ไก่ที่เหลือทิง้ แล้วสามารถนากลับมาทาให้
เกิดประโยชน์

วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์จากวัดถุดิบเหลือทิ้งจากครัวร้อน
2. เพื่อจัดทาการรี ไซเคิลผลิตภัณฑ์โดยใช้ประโยชน์จากเปลือกไข่ไก่
3.เพื่อศึกษาสรรพคุณของเปลือกไข่
ประโยชน์ ที่ได้รับ
1. ลดต้นทุน โดยการนาเปลือกไข่ที่ทิ้งแล้วสามารถนากลับมาทาให้เกิดประโยชน์
2.สามารถนาของที่เหลือทิ้งมาสร้งผลิตภัณฑ์เพื่อใช้ภายในแผนกครัวร้อนได้
3. สามารถผลิดได้จานวนมาก และนาออกไปขายภายนอก สามารถเพิ่มรายได้อีกทาง
4. ห้องครัวร้อนสามารถกาจัดมด ซึ่งเป็ นการรักษามาตรฐานความสะอาดของพื้นที่ครัวได้
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้ อง
ผูจ้ ดั ทาได้นาเปลือกไข่ไก่ ที่เหลือทิ้งจากการทาอาหารเช้ ามารี ไซเคิลเป็ นผลิตภัณฑ์ใหม่คือ
“ชอล์กกาจัดมดจากเปลือกไข่ไก่” สาหรับนามาใช้ภายในห้องครัว และในการไล่และกาจัดมด ในครัว
รายงาน เรื่ อง ชอล์กเปลือกไข่ไล่มด ผูจ้ ดั ทาได้มีการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
1.การลดขยะ Reduce Reuse และ Recycle (3RS)
2.การประกอบอาหารและความรู ้เกี่ยวกบมด
3.ข้อมูลเกี่ยวกับชอล์ก
4.ข้อมูลเกี่ยวกับไข่ไก่
5.สรรพคุณของวัตถุดิบที่ใช้สาหรับทาชอล์กกาจัดมดจากเปลือกไข่ไก่
6.ข้อมูลเกี่ยวกับแคลเซียมคาร์บอเนต
7.งานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้องกับโครงงาน
1.การลดขยะ Reduce Reuse และ Recycle (3RS)
Reduce Reuse และ Recycle (3RS) เป็ นแนวคิดและแนวทางในการปฏิบตั ิเพื่อการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
อย่างคุม้ ค่า สามารถช่วยลดปริ มาณขยะให้นอ้ ยลง ด้วยการลดการใช้ การนากลับมาใช้ซ้ า และการนาขยะ
กลับมาใช้ใหม่ (Reduce Reuse and Recycle: 3Rs) โดยเริ่ มต้นที่การใช้ให้นอ้ ยลง ลดการใช้วสั ดุ ผลิตภัณฑ์
ที่ก่อให้เกิดขยะเพื่อลดปริ มาณขยะที่เกิดขึ้น (Reduce) การนาวัสดุ ผลิตภัณฑ์ที่ยงั สามารถใช้งานได้ กลับมา
ใช้ซ้ า (Reuse) และการนาวัสดุ ผลิตภัณฑ์ทใี่ ช้งานแล้วมาแปรรู ป เพื่อนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ หรื อ รี
ไซเคิล (Recycle) Reduce หมายถึงการลดปริ มาณการใช้ลง โดยใช้เท่าทีจ่ าเป็ นหลีกเลี่ยงการใช้อย่างฟุ่ มเฟื อย
เพื่อลดการสู ญเปล่าและลดปริ มาณขยะให้มากที่สุดเช่นใช้ถุงผ้าตะกร้าเพื่อลดการใช้ถุงพลาสติกใช้
ผ้าเช็ดหน้าแทน การใช้กระดาษทิชชู่ปฏิเสธการรับถุงพลาสติกเมื่อซื้อของน้อยชิ้นเลือกซื้อบรรจุภณ ั ฑ์ที่เป็ น
มิตรกับสิ่ งแวดล้อมลีกเลี่ยงใช้วสั ดุสิ้นเปลืองแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งแปรรู ปนากลับมาใช้ใหม่ Reuse หมายถึง
การนาของเสี ยบรรจุภณ ั ฑ์หรื อวัสดุเหลือใช้กลับมาใช้อีกโดยไม่ผ่านการแปรรู ปหรื อแปรสภาพเช่นใช้
กระดาษสองหน้าเสื้ อผ้าเก่านาไปบริ จาคหรื อใช้ถูพ้นื ซ่อมแซมอุปกรณ์ต่างๆไม่ทงิ้ เป็ นขยะการทา
สิ่ งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ Recycle หมายถึงการนาขยะมารี ไซเคิล นาของเสี ย บรรจุภณ ั ฑ์หรื อวัสดุเหลือ
ใช้ มาแปรรู ปเป็ นวัตถุดิบในการผลิต หรื อผลิตเป็ นผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่นกระป๋ องน้ าอัดลม นามาทาขาเทียม
ขวดน้ าดื่ม PET นามาทาเสื้ อเส้นใยสังเคราะห์ กระดาษหนังสื อพิมพ์ นามาทากล่องกระดาษทิชชู่ ขวดนม
UHT นามาทาเฟอร์นิเจอร์ เช่น เก้าอี้
2. การประกอบอาหารและความรู้เกี่ยวกับมด
การประกอบอาหารภายในห้องครัวนั้น มักมีอุปสรรคจากแมลงและมดชนิดต่างๆที่มกั จะมากิน
อาหาร หรื อ ขนมหวาน ภายในห้องครัวดังนั้นจึงทาให้ภายในห้องครัวมักจะมีมดอยู่เยอะกว่าบริ เวณที่อื่นๆ
มดก็ชอบกินอาหารเหมือนกับคนเรา เหมือนกับสัตว์อื่นๆ อาหารที่มดชอบกิน ได้แก่ไขมัน น้ าตาล และ น้ า
การกาจัดมดง่ายนิดเดียว เพียงกาจัดอาหารของมดไม่ให้มดสามารถกินได้เช่น น้ าตาลก็ปิดให้มิดชิดอาหารก็
วางในน้ าล้อมรอบ ทาความสะอาดอาหารที่หกบนพื้นบนโต๊ะและเช็ดทาความสะอาดให้เรี ยบร้อย ขยะใน
บ้านก็ท้ิงให้เป็ นที่เป็ นทางมดเป็ นแมลงที่พบได้บ่อยในพื้นที่เขตร้อน มีความสามารถในการปรับตัวอยู่ได้ใน
ทุกสภาพแวดล้อม ทั้งภายในอาการและบริ เวณ โดยรอบๆ บนพื้นดิน ใด้พ้ืนดิน และโพรงต้นไม้ รวมไปถึง
บริ เวณภายในห้องครัวที่มีการประกอบอาหาร
วรรณะต่างๆของมด มดเป็ นแมลงที่พบในระบบนิเวศบกต่างๆ โดยเฉพาะในประเทศเขตร้อน มีการ
คาดคะเนว่าในโลกนี้มีมดอยู่ประมาณ 10,000 ชนิด แต่ทพี่ บแล้วมีประมาณ 8,800 ชนิดสาหรับประเทศไทย
ดาดว่ามีมดประมาณ 800 - 1,000 ชนิดที่รู้จกั กันมีไม่กี่ชนิด เช่น มดคันไฟ มดแดง มดดา มดตะนอย ซึ่งส่ วน
ใหญ่เป็ นมดที่พบในบ้าน ที่เหลือเป็ นมดอยู่ในป่ าต่างๆ เนื่องจากมดเป็ นสัตว์สังคมที่อยู่ร่วมกัน โดขแบ่ง
หน้าที่กนั รับผิดชอบอย่างเป็ นระบบบางชนิดมีรังมหึ มา ซึ่งมีมดอยู่ร่วมกันถึง 22 ล้านตัว อยู่กนั อย่างเป็ น
ระเบียบ จากการศึกษาพบว่ามดสื่อสารกันโดยใช้อวัยวะที่รียกว่าหนวดสัมผัสกันและใช้สารเคมีที่ปล่อย
ออกมา นักวิทยาศาสตร์บางท่านยังเชื่อว่ามดบางชนิดสามารถใช้เสี ยงสื่ อสารกันได้ดว้ ย นอกจากนี้ยงั พบว่า
มดบางชนิดเมื่อไปพบแหล่งอาหารก็จะปล่อยสารเคมีชนิดหนึ่งออกมาจากต่อมภายนอก Exocrine gland ที่
เรี ยกว่าต่อมดูเฟอร์ Dufouc's glandสารเคมีชนิดนี้เรี ยกว่าฟี โร โมน มดจะปล่อยฟี โรโมนขณะเดินไปพบ
อาหาร และขังพบอีกว่า ฟี โรโมนนี้จะระเหยได้ทาให้ปริ มาณของฟี โรโมนจะจางลงไปเรื่ อยๆ ฟี โรโมนของ
มดบางชนิดจะจาหายไปในเวลาไม่เกิด 100 วินาที (มาลินี นิ่มเสมอ, 2546)
วิธีกาจัดมดที่คนทัว่ ไปปกติมกั ใช้กนั คือการนาเอาผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของสารเคมีที่เป็ น
อันตรายต่อสิ่ งแวดล้อมมาใช้ในการ ไล่หรื อกาจัดมด ดังนั้นการใช้วสั ดุจากธรรมชาติสาหรับไล่มด จึงเป็ น
ทางเลือกที่ดีเพื่อ ลดการใช้สารเดมีลง ผูจ้ ดั ทาจึงได้ศึกษาวิจยั ชอล์กกาจัดมดจากเปลือกไข่ไก่นาเอาเปลือกไข่
ไก่มาใช้ในการ ไล่และกาจัดมดแทนการ ใช้สารเคมี
3.ข้ อมูลเกีย่ วกับชอล์ก
ที่มาของชอล์ก อ้างในหนังสื อ How Product Are Made พิมพ์ในปี พ.ศ.2537 (ค.ศ.1994)ระบุว่า ชอล์ก
เริ่ มมีใช้ในห้องเรี ยนนับตั้งแต่คริ สต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็ นยุคที่การศึกษาเริ่ มแพร่ หลายตอนนั้นขนาดของ
ห้องเรี ยนขยายใหญ่ข้ ึนแสดงถึงจานวนนักเรี ยนที่เพิ่มสู งขึ้นและคุณครู ตอ้ งการที่จะสื่ อสารวจข้อมูลผ่านไป
ยังนักเรี ยนจานวนมากในคราวเดียวก่อน
ชอล์กทาจากแร่ ยิปซัมหรื อเกลือจืดซึ่งเป็ นแคลเซียมซัลเฟตที่ใช้ทาปูนปลาสเตอร์นามาอัดเป็ นแท่ง
ลักษณะยาวคล้ ายหลอดเกลือจืดเป็ นผลึกสาหรับแคลเซียมซัลเฟตที่เหลืออยู่ในนาเกลือหลังจากที่ตกั เกลือ
ออกไปจนหมดแล้วเกลือจืดจะเกาะตัวกันเป็ นแผ่นแข็งอยู่ ติดกับดินเมื่อจะทาน้ าเกลือใหม่จะต้องขุดเอาเกลือ
จืดออกเสี ยก่อนเพื่อปรับสภาพดินแล้วปล่อยน้ าทะเลเข้าไปใหม่เกลือจืดเป็ นสารที่ไม่ละลายน้ าใช้ทา
ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น ทาแป้งนวล ทาชอล์ก ทาปูนปลาสเตอร์ เป็ นต้น ( handbillmania , 2553)
ประโยชน์ของชอล์ก
1.เมื่อถูกความร้อนแคลเซียมคาร์บอเนตในหิ นปูนจะสลายตัวเป็ นปูนขาวหรื อแคลเซียมออกไซด์ใช้
ทั้งในการทาซีเมนต์เป็ นปุ๋ ยสาหรับพื้นที่เพาะปลูกและเป็ นฟลักซ์ในการถลุงทองแดงและแร่ ตะกัว่ และใน
การทาเหล็กและเหล็กกล้า
2.เส้นชอล์กเชือกที่ขยี้ดว้ ยชอล์กใช้สาหรับทาเส้นตรงบนกระดานหรื อวัสดุอื่นๆเพื่อเป็ นแนวทางใน
การตัดหรื อในการจัดเรี ยงงาน
3.ส่ วนผสมชอล์กการเตรี ยมชอล์กอบเชยและน้ าตาลในน้ าหมากฝรั่งถูกนามาใช้อย่างมากในการ
รักษาโรคท้องร่ วงโดยเฉพาะของทารก
4.ข้ อมูลเกีย่ วกับไข่ไก่
ไข่ (egg) เป็ นอาหารที่มีค่าทางโภชนาการสู งมาก เป็ นแหล่งของโปรตีนที่มีคุณภาพดีที่สุด เนื่องจาก
โปรตีนไข่มีกรดแอมิโนชนิดที่จาเป็ นต่อร่ างกายของมนุษย์ครบถ้วนทั้งชนิดและปริ มาณเป็ นอาหารที่มี
สมบูรณ์ที่สุด ราคาถูก เมื่อเปรี ยบเทียบกับเนื้อสัตว์ชนิดอื่น ซึ่งให้ปริ มาณโปรตีนทัดเทียมกัน
ไข่สามารถบริ โภคในชีวิตประจาวันได้หลายรู ปแบบ และยังเป็ นวัตถุดิบสาหรับการแปรรู ปอาหาร
และนาไปทาการถนอมอาหารเป็ นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้หลากหลาย
องค์ ประกอบของไข่
1. เปลือกไข่ (shell) มีสีน้ าตาลหรื อสี ขาวขึ้นอยู่กบั ชนิดของพันธุ์แม่ไก่ สี ไข่ไม่มีผลต่อคุณค่าทาง
โภชนาการของไข่ เช่นไข่ไก่พนั ธุ์เล็กฮอร์ นมีเปลือกสี ขาวส่ วนไข่ไก่พนั ธุ์โรดไอร์แลนด์มีเปลือกสี
น้ าตาล ส่ วนประกอบสาคัญของเปลือกไข่ คือ คอลลาเจน (collagen) สานเป็ นตัวตาข่าย และมีหินปูน
(แคลเซียมคาร์บอเนต) ทาให้เปลือกแข็ง เปลือกไข่จะมีรูขนาดเล็กมาก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น เมื่อ
ไข่ออกจากแม่ไก่มาใหม่ จะมีเมือกเคลือบที่ผิวของเปลือกไข่ เพื่อป้องกันไม่ให้อากาศและน้ าผ่าน
เข้าไปได้ เปลือกไข่ในช่วงแรก จึงมีลกั ษณะเป็ นนวล เมื่อเก็บไว้นานๆ เมือกเหล่านี้จะแห้งไป อากาศ
และความชื้นสามารถแทรกผ่านรู เล็กที่เปลือกไข่ได้ ทาให้ไข่จะเสื่ อมคุณภาพ การเปลี่ยนแปลงของ
ไข่ขาว และการเปลี่ยนของกลิ่นรสตลอดเวลา เนื่องจาก การสู ญเสี ยน้ า การสู ญเสี ยก๊าซ เปลือกไข่มี
การป้องกันการเน่าเสียจากจุลินทรี ย ์ เมื่อไม่มีเปลือกไข่ จะเกิดการเสื่ อมเสี ยอย่างรวดเร็ ว จึงมักเก็บ
ไข่ท้ งั เปลือก การเก็บไข่ไว้ในที่มีอากาศเหม็น ไข่อาจดูดเอากลิ่นสิ่ งที่เหม็นที่อยู่รอบๆเข้าไปที่รูของ
เปลือก
2. เยื่อหุ้มไข่ มีอยู่ดว้ ยกัน 2 ชั้น ชั้นนอกที่ติดเปลือกมีชื่อเรี ยกว่า shell membrane ชั้นในที่ตดิ กับไข่ขาว
เรี ยกว่า egg membrane เยื่อชั้นนอกและชั้นในจะชิดกันตลอด แต่แยกกันที่ดา้ นป้านของไข่ซ่ ึงมีโพรง
อากาศ
3. โพรงอากาศ (air cell) เป็ นช่องว่างที่อยู่บริ เวณด้านป้านของไข่ อยู่ระหว่างเยื่อหุ้มชั้นนอกและเยื่อหุ้ม
ชั้นใน เมื่อไข่ออกมาใหม่ๆ อุณหภูมิของไข่ยงั สู ง จึงไม่มีช่องว่าง ต่อเมื่อเมื่อไข่เย็นลง ของเหลว
ภายในไช่หดตัว ทาให้เกิดเป็ นโพรงอากาศขึ้น และถ้าหากมีน้ าระเหยออกไปมาก ก็จะทาให้โพรง
อากาศใหญ่ข้ ึนด้วย
4. ไข่ขาว (egg white) เป็ นส่วนประกอบภายในไข่ ที่เป็ นส่ วนของเหลวข้นหนืด (firm) ล้อมรอบไข่แดง
ไข่ขาวชั้นนอกส่ วนใส (thin egg white) เป็ นไข่ขาวที่เป็ นของเหลวใส (clear) โปร่ งแสง (transparent)
ล้อมรอบไข่ขาวชั้นนอกส่ วนข้น (thick egg white) ส่ วนของเหลวที่ขน้ หนืดอีกชั้นหนึ่ง ไข่ขาวมี
ส่ วนประกอบหลักคือ ด้วยน้ าและโปรตีน
5. แอลบูมิน (albumin) มีไขมันน้อยมาก ลักษณะที่เป็ นเมือกของไข่ขาวข้น เกิดจากคาร์โบไฮเดรต
โมเลกุลใหญ่
6. เยื่อหุ้มไข่แดง (vitelline membrane) มีประโยชน์คือ ช่วยหุ้มไข่แดงเอาไว้โดยรอบ
7. ไข่แดง (yolk) ไข่แดงเป็ นส่ วนสารองอาหารไว้ให้ลูกไก่ ซึ่งจะเจริ ญจากเชื้อที่ผสมแล้ว ไข่แดงเกิด
ก่อนจากรังไข่ เมื่อเติบโตและสุกแล้วจึงหลุดออกจากรังไข่ ผ่านตามท่อไข่ซ่ ึงจะสร้างไข่ขาวออกหุ้ม
ไข่แดงจะอยู่กลางฟองโดยการยืดของเยื่อ ที่เป็ นเกลียวแข็ง อยู่ดา้ นหัวและท้ายของไข่แดง และยื่น
เข้าไปในไข่ขาว

5.สรรพคุณของวัตถุดิบที่ใช้ สาหรับทาชอล์กกาจัดมดจากเปลือกไข่ไก่
5.1 เปลือกไข่

ประโยชน์ของเปลือกไข่
1.เปลือกไข่ไล่ศตั รู พืช เช่น หอยทาก หนอน บุง้ ไม่ให้มากัดกินใบของต้นไม้เราได้แค่โรยเปลือกไข่ตาพอ
หยาบลงไปรอบๆโคนต้น
2.เปลือกไข่เป็ นผงขัดทาความสะอาดสุขภัณฑ์นาเปลือกไข่มาใส่ บนฟองน้ าที่ชุบน้ ายาล้างทาความสะอาด
และนาไปขัดสุขภัณฑ์ต่างๆแค่น้ ีก็ทาให้สุขภัณฑ์งดงามเหมือนใหม่
3.เปลือกไข่ที่เผาแล้วจะมีสารแคลเซียมไฮดรอกไซด์มีฤทธิ์เป็ นเบสสามารถ “ไล่มดได้”
4.ใช้เป็ นปุ๋ ยให้ตน้ ไม้ได้สารอาหารในเปลือกไข่ไก่แคลเซียมคาร์บอเนตเป็ นสิ่ งที่พืชใบเขียวต้องการเป็ น
อย่างมากและทาให้ตน้ ไม้แข็งแรงโตไว

5.2 ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ คือปูนที่มีเนื้อเป็ นผงสี ขาว และมีเนื้อละเอียด ที่ได้จากการนาแร่ ยิปซัมหรื อ
เรี ยกว่า เกลือจืด หรื อแก้วแกลบ มาผาไฟหรื อให้ความร้อน เพื่อไล่น้ าออกจนเหลือผงเนื้ อละเอียดสี ขาว หรื อ
เรี ยกว่าปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์ เมื่อนามาผสมน้ าจะได้น้ าปูนหนืดและเหลวก่อนนาไปใส่ แม่พิมพ์เพื่อ
ขึ้นรู ปตามที่เราต้องการซึ่งจะได้ผลิภณ
ั ฑ์ที่มีสีขาวและมีน้ าหนักเบาเมื่อเทียบกับการใช้ปูนชนิดอื่น
(Siamchemi, 2559)
Siamchemi (2559) ได้กล่าวเกี่ยวกับประ โชชน์ของปูนปลาสเตอร์ไว้คงั ต่อไปนี้
-ใช้สาหรับขึ้นรู ปขึ้นงานต่างๆ อาทิเช่น ตุ๊กตาปั้น และ รู ปปั้นต่างๆ
-ใช้ข้ นึ รู ปผลิตภัณฑ์ครัวเรื อน อาทิเช่น ถ้วย โถ จาน ชาม
-ใช้ข้ นึ รู ปผลิตแผ่นกระเบื้องมุงหลังคา
-ใช้ฉาบ ปุปิดผนังรอยต่อ รอยแตกหรื อใช้ฉาบปิ ดและตกแต่งงานก่อสร้างต่างๆ
5.3 ดินสอพอง
ดินสอพองหรื อมาร์ลหรื อมาร์ลสโตนมืองค์ประกอบทางเคมีเป็ นแคลเซียมคาร์บอเนตหรื อโคลน
หรื อหิ นโคลนที่อุดมไปด้วยเนื้อปูนที่มืองค์ประกอบที่แปรผันของแร่ เคลย์และอาราโกไนด์มาร์ลเป็ นคา
โบราณที่ถูกนามาใช้เรี ยกวัตถุที่หลากหลาย โดยส่ วนใหญ่เป็ นวัตถุเนื้อหลวมาของดินที่มีองค์ประกอบหลัก
ของเนื้อผสมระหว่างดินเคลย์และแคลเชื่ยมคาร์บอเนต เกิดขึ้นภายใต้สภาพแวคแวดล้อมที่เป็ นน้ าจืดเป็ น
วัตถุเนื้อดินประกอบด้วยแร่ เคลซ์ร้อยละ ร และคาร์บอเนตร้อยละ 65-35 สมัยโบราณใช้ทาแป้งประร่ างกาย
เพื่อให้เย็นสบาย เมื่อผสมน้ าหอมเข้าไปด้วยกลายเป็ นแป้งกระแจะ ใช้ทายาสี ฟัน ปัจจุบนั นี้ใช้มากในการแก้
ดินเปรี้ ยว ผสมทารู ป ทาปูนชีเมนต์ เพราะเสี ยค่ขุดและค่าบดต่ากว่าใช้หินปูนซึ่งมีเนื้อเป็ นสารประกอบชนิด
เดียวกัน แหล่งใหญ่ในประเทศไทยมืในท้องที่อาเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี อาเภอตาคถึ จังหวัด
นครสวรรค์ และอาเภอเมือง จังหวัดลพบุรีสมัยโบราณใช้เป็ นเครื่ องประทินผิว ทาตัวเด็กแก้ผื่นคัน ใช้ทา
พื้นที่เพื่อให้เห็นลายชัดเจนดินสอพองที่ใช้ทายาจะนาไปสะตุ โดยอบในหม้อดินจนแห้ง ดินสอพองสะตูใช้
ทายารักษาแผลกามโรค แผลเรื้ อรัง คาว่าสอในดินสอพองนั้นมาจากภายาเขมรแปลว่า ขาว ดินสอพองจึง
หมายถึงดินสี ขาวที่ไม่แข็งตัว (ขยันต์ พิเชียรสุ นทร และ วิเชียร จีรวงศ์, 2556)
5.4ข้อมูลเกี่ยวกับแคลเซียมคาร์ บอเนต
หิ นปูนหรื อ Calcium Carbonate เป็ นสารธรรมชาติที่เกิดจากการตกตะกอน และสะสมตัวของหิ น
ในทะเล เปลือกหอย ปะการัง กระดูกสัตว์กลายเป็ นหิ นปูนหรื อแดลเซียมคาร์บอเนต ถือเป็ นสารตั้งต้นสาคัญ
ในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมต่างๆรวมถึงการนามาใช้ในภาคครัวเรื อนและการเกษตร รวมถึง
ประโยชน์ในด้านต่างๆมากมาย(Siamchemi,2559)
5.4.1 แคลเซียมคาร์ บอเนต (Calcium Carbonate) Siamchemi (2559) ได้กล่าวเกี่ยวกับคุณสมบัติ
แคลเซียมคาร์บอเนตที่นามาใช้ประโยชน์ไว้คงั ต่อไปนี้
- มีความบริ สุทธิ์สูง ไม่มีการปนเปื้ อนของโลหะหนัก
- มีพ้นื ที่ผิวสู ง ไม่ทาปฏิกิริยากับสารอื่นที่เดิมในกระบวนการผลิต
- มีองศาความขาวสู ง
- มีการกระจายตัวดี
-ไม่เป็ นพิษ ไม่มีกลื่น ไม่ติดไฟ ไม่เกิดปฏิกิริยาทาให้เกิดความร้อนหรื อการระเบิดได้ง่าย
5.4 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
วิมลลักษณ์ สุตะพันธ์ (2554) จากการศึกษาลักษณะของเปลือกไข่พบว่าผงเปลือกไข่ประกอบด้วยแคลเซียม
คาร์บอเนตในรู ปผลึกแคลไซท์ และสารอินทรี ยผ์ งเปลือก ไข่ที่ได้จากการบดทาให้ปริ มาณสารอินทรี ยล์ ดลง
เมื่อเปรี ยบเทียบกับเปลือกไข่ก่อนบดการดัดแปรด้วยความร้อนทาให้สารอินทรี ยห์ มดไปจากเปลือกไข่คดั
แปรทั้งนั้นขึ้นอยู่กบั อุณหภูมิและเวลาที่ใช้ในการดัดแปรการดัดแปรเปลือกไข่ที่อุณหภูมิ 650 และ 670C แม้
จะเป็ นอุณหภูมิที่ต่ากว่าการเสื่อมสลายของแคลเซียมคาร์บอเนต อย่างไรก็ตามยังคงเกิด decarbonation ของ
แคลเซียมคาร์บอเนตทาให้ปริ มาณแดลเซียมคาร์บอเนตลดลงเนื่องจากการเปลี่ยนไปเป็ นแคลเซียมออกไซค์
เปลือกไข่คดั แปรประกอบด้วยแคลเซียมไฮดรอกไซค์แคลเซี ยมออกไซด์และแคลเซียมคาร์บอเนตใน
ปริ มาณน้อยมาก สภาวะที่เหมาะสมในการดัดแปรเปลือกไข่คือการคัดแปรเป็ นเวลา 3 ชัว่ โมงที่ 800*C
เนื่องจากใช้เวลาน้อยที่สุดในการดัดแปร
นายภัทร สัมฤทธิ์ศรี งาม (2561) ได้ศึกษาเกี่ยวกับสเปรย์ไล่มดจากเปลือกไข่ไก่ จากงานวิจยั การทาโครงงานนี้
มีจุดประสงค์เพื่อการลดปริ มาณเปลือกไข่ ผัก ผลไม้เหลือทิ้งในแต่ละวันจากครัวต่างๆ ผูจ้ ดั ทาจึงได้ศึกยา
ค้นคว้าหาข้อมูล ทดลองการนาเปลือกไข่ไก่ ผัก ผลไม้มารี ไซเคิล จนได้เป็ น สเปรย์ไล่มดจากเปลื อกไข่
เนื่องจากภายในเปลือกไข่มีแคลเชียมคาร์บอเนต ซึ่งมีฤทธิ์เป็ นด่างสามารถไล่มดได้ และจากการทดลองใช้
สเปรย์ไล่มดจากเปลือกไข่ในครัวต่างๆของโรงแรม พบว่าการใช้สเปรย์ที่ผลิตจากเปลือกไข่น้ นั สามารถไล่
มดในครัวต่างๆได้จริ ง และสามารถป้องกันมดได้ทีปกร พรไชย (2560) ศึกษาจากงานวิจขั การใช้ประ โยชน์
จากเปลือกไข่เหลือทิ้งเปลือกไข่ไก่มีส่วนประกอบที่สาคัญคือ แคลเชียมคาร์บอเนต (Calcium carbonate;
CaC03) เป็ นองค์ประกอบหลักถึง 98.29 โดยน้ าหนักเปลือกไข่จึงทาให้เปลือกไข่สามารถนามาใช้ประโยชน์
ได้หลายรู ปแบบเช่น ในอุตสาหกรรมเครื่ องสาอางเป็ นส่ วนผสมอาหารสัตว์ในอุตสาหกรรมปศุสัตว์หากนา
เปลือกไข่ไปเผาที่ความร้อน 2 700C จะได้แคลเซียมออกไซด์ เป็ นผลผลิตซึ่งใช้เป็ นสารปรับสภาพความเป็ น
กรดในดินหรื อน้ าผลิตโซดาไฟสารฟอกขาวตัวเร่ งปฏิริขาเคมีในกระบวนการผลิตไบโอดีเซลเป็ นต้น จาก
ข้อมูลดังกล่าวจึงมีความสนใจที่จะศึกษาการสังเคราะห์แคลเชียมออกไซด์จากเปลือกไข่ไก่ที่อุณหภูมิ 800 c
ในระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อให้ได้แคลเซียม ออกไซด์
บทที่ 3
วิธีดาเนินงาน
จากการศึกษา เรื่ อง ชอล์กเปลือกไข่ไล่มด สามารถสรุ ปผลการดาเนินการได้ดงั นี้

การดาเนินงาน
รายงาน เรื่ อง ชอล์กเปลือกไข่ไล่มด มีวิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ดังนี้
1. เลือกประเด็นปัญหาที่สนใจ
2. ศึกษาหาข้อมูล และวิธีการแก้ไข
3. วางแผนการทางาน
วัสดุ/อุปกรณ์
1. เปลือกไข่
2. น้ าเปล่า
3.ดินสอพอง
4.ปูนปาสเตอร์
5.หลอดชาไข่มุก
6.ครกบด
7.กระชอน
8.ชามผสม
9.ไม้พาย
วิธีการทา
1) นาเปลือกไข่ที่ได้มาจากโรงแรม มาล้างและตากให้แห้ง
2)การนาเปลือกไข่มาคัว่
3)นาเปลือกไข่ที่ควั่ แล้วมาตา
4)ร่ อนฝุ่นเปลือกไข่ให้เหลือแต่ผงละเอียด ใช้ 50 กรัม
5) นาดินสอพองมาตาให้ละเอียดเช่นเดียวกับเปลือกไข่
6) นาปูนปลาสเตอร์ผสมกับดินสอพองและเปลือกไข่ เติมน้ าเล็กน้อย คลุกเคล้าให้ทวั่
7)จากนั้นนาส่ วนผสมทั้งหมดมาหยอดใส่ พิมพ์ที่เตรี ยมไว้
บทที่ 4
ผลการทดลอง
รายงาน เรื่ อง ชอล์กเปลือกไข่ไล่มด ผลการดาเนินการ ดังนี้
ผลการทดลอง
จากการที่ผจู้ ดั ทาได้สารวจภายในครัว ได้รับคาแนะนาและปรึ กษาแก้ไขปัญหาต่างๆ ผูจ้ ดั ทาได้ศึกษา
เกี่ยวกับ ชอล์กกาจัดมดจากเปลือกไข่ไก่ เพื่อศึกยาการใช้ประ โยชน์จากวัตถุดิบเหลือทิ้งจากครัว เพื่อจัดทา
การรี ไซเคิลผลิตภัณฑ์โดยใช้ประโยชน์จากเปลือกไข่ไก่ โคยวิธีการทาผูจ้ ดั ทาได้ศึกษาค้นคว้าจาก
อินเทอร์เน็ตและส่วนหนึ่งเกิดจากการคิดของผูจ้ ดั ทา และวิธีการทาดังนี้
1) นาเปลือกไข่ที่ได้มาจากโรงแรม มาล้างและตากให้แห้ง
2)การนาเปลือกไข่มาคัว่
3)นาเปลือกไข่ที่ควั่ แล้วมาตา
4)ร่ อนฝุ่นเปลือกไข่ให้เหลือแต่ผงละเอียด ใช้ 50 กรัม
5) นาดินสอพองมาตาให้ละเอียดเช่นเดียวกับเปลือกไข่
6) นาปูนปลาสเตอร์ผสมกับดินสอพองและเปลือกไข่ เติมน้ าเล็กน้อย คลุกเคล้าให้ทวั่
7)จากนั้นนาส่ วนผสมทั้งหมดมาหยอดใส่ พิมพ์ที่เตรี ยมไว้
. ผลการประเมินชอล์กกาจัดมดจากเปลือกไข่ ไก่
หลังจากได้ผลิตภัณฑ์ ชอล์กกาจดมดจากเปลือกไข่ไก่ ผูจ้ ดั ทาได้ทาการทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ ในครัว
เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ และมีประโยชน์ใช้ได้จริ งอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด
สามารถลดปริ มาณขยะให้กบั ครัว
บทที่ 5
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
5.สรุปผลโครงงาน

5.1 สรุปผลโครงงาน
จากการที่ผจู้ ดั ทาการสารวจภายในครัวจึงทา ให้ทราบถึงวิธีการปฏิบตั ิงานจริ ง จึงได้มองเห็นปัญหา
และความสาคัญของการใช้วสั ดุหรื อของเหลือใช้ให้เกิดคุณค่ าจากวัสดุเหลือทิ้งในครัวนากลับมาแปรรู ป
ขึ้นมาใหม่ ทาให้เกิดคุณค่าและประโยชน์ ทางผูจ้ ดั ทาจึงได้คิดวิธีการนาเอาของเหลือทิง้ เช่น เปลือกไข่ไก่ ที่
ใช้จากการทาอาหารเช้าทุกวัน จึงได้นากลับมาแปรรู ปเป็ น ชอล์กกาจัดมดจากเปลือกไข่ไก่ โดยมีเป้าหมาย
เพื่อลดขยะที่ท้ิงในแต่ละวัน และทาให้เกิดประโยชน์
1. ปัญหาทีพ่ บในการทาโครงงาน
1 ครั้งที่ 1 คัว่ เปลือกไข่ไก่ไฟแรงเกินไปจึงทาให้เกิดการ ไหม้ แล้วทาให้สีของผงเปลือกไข่ไก่ไม่สวย
2) ครั้งที่ 2 ผสมดินสอพองเยอะเกินไปจึงทาให้ชอล์กเกิดการแห้งยากและทาให้เนื้อข้างในไม่แห้งจึงทาให้
แกะออกจากแม่พิมพ์ขากแล้วเกิดการแตกไม่จบั ตัว

2.ข้อเสนอแนะการจัดทาโครงงาน
1) จากปัญหาครั้งที่ 1 ที่ทาให้เปลือกไข่เกิดการไหม้และสี ไม่สวย จึงได้ทาการถัว่ ในไฟอ่อนๆจากตอน
แรก นามาดาเป็ นผงแล้วได้สีเปลือกไข่ที่เหลืองนวลตามที่ตอ้ งการ
2) จากปัญหาครั้งที่ 2 ผสมดินสอพองเยอะเกินไปทาให้แห้งยาก จึงได้ทาการแก้ไขโดยชัง่ และผสมดินสอ
พองให้มีขนาดที่พอดีกบั ส่วนผสมอื่น
3) จากปัญหาครั้งที่ 3 ผสมน้ ามากเกินไปจึงได้ทาการแก้ไขโดยวัดและตวงปริ มาณน้ าและส่ วนผสมอื่นๆ
ให้พอดีและปริ มาณเท่ากัน
บรรณานุกรม
กรมควบคุมมลพิย. (2548). แนวทางและข้อกาหนดเบื้องต้น การลคและใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุ งเทพฯ: กองสาธารณสุ ขและสิ่ งแวดล้อม.
กานดา ล้อแก้วมณี. (2561),รอบรู ้เรื่ องไข่ไก่ รู ้จกั ส่ วนประกอบของไข่ไก่ แหล่งโปรตีนที่ทรงคุณค่า
เข้าถึงได้จาก htps:/fina.csc.ku.ac.th/vp-content/uploads/2018/06/
ทีปกร พรไชย. (2560). งานวิจยั การใช้ประโยชน์จากเปลือกไข่เหลือทิ้ง.
เข้าถึงได้จาก http:/www.journal.msu.ac.th/upload/articles/article1913 84601.pdr
ภัทร สัมฤทธิ์ศรี งาม. (2561). สเปรย์ไล่มคจากเปลือกไข่ไก่. (สหกิจศึกษา). กรุ งเทพฯ:คณะศิลปศาสตร์
มหาวิทยาลัยสยาม.
มาลินี นิ่มเสมอ. (2546). สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ปละเทคโนโลยีเรื่ องของมด.
เข้าถึงได้จาก http:/biology.ipst.ac.th/
วิมลลักษณ์ สุ ตะพันธ์. (2554). งานวิจยั การเตรี ยมพอลิเมอร์คอมโพสิ ทจากเปลือกไข่ไก่.
เข้าถึงได้จาก http://sutir.sut.ac.th:8080/jspui/handle/123456789/3819
Handbillmania. (2553). ประ วัติที่มาของชอล์กเขียนกระคานดา.
เข้าถึงได้จาก http:/(haigoodview.com/node/17987
Pettijohn, F. J., Harper& Brothers. (1957). Sedimentary Rocks. New York, p. 410.
Siamchemi. (2559). ปูนปลาสเตอร์และประ โยชน์ปูนปลาสเตอร์.
เข้าถึงได้จาก https:/www.siamchemi.com/ปูนปลาสเตอร์/
Siamchemi. (2559). แคลเซียมคาร์บอเนตและหิ นปูน.
ข้าถึงได้จาก https:/www.siamchemi.com/เคลเซียมคาร์บอเนต/
ภาคผนวก

You might also like