You are on page 1of 15

ระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรโดยใชแกลบเปนเชื้อเพลิง

The System Extracting Essential Oil from Herbal Plants by


using Rice Husk as Fuel

พงษศักดิ์ จิตตบุตร1 พิเศษ ตูกลาง1 ศิริลักษณ เหลียวกลาง2 และ ดวงนภา บำรุงนา2


Pongsak Jittabut1, Pises Tooklang1, Sirilak Liawklang2, and Duangnapha Bamrungna2
คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา1
Faculty of Science and Technology at Nakhon Ratchasima Rajabhat University1
คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา2
Faculty of Education at Nakhon Ratchasima Rajabhat University2
E-Mail: pongsak.physics@gmail.com

บทคัดยอ
ระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรโดยใชแกลบเปนเชื้อเพลิง มีวัตถุประสงคเพื่อ
พัฒนาระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรโดยใชแกลบเปนเชื้อเพลิง และวิเคราะหน้ำมัน
หอมระเหยที่สกัดได โดยไดออกแบบระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหย หาประสิทธิภาพการสกัดน้ำมัน
หอมระเหย และวิเคราะหน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดโดยใชเทคนิควิธีทางกายภาพและทางเคมี จาก
ผลการวิจัยพบวาประสิทธิภาพทางความรอนของหมอสกัดสาร มีคา 841.39 กิโลจูล ประสิทธิภาพทาง
ความรอนของเตาชีวมวลในการสกัดน้ำมันจากขาและตะไครมีค ารอยละ15.01 และ รอยละ14.84
ตามลำดับ ในการสกัดน้ำมันหอมระเหยปริมาณน้ำมันหอมระเหยจากขา และ ตะไครที่สกัดได ดังนี้
201.67 มิลลิลิตร และ216.67 มิลลิลิตร ตามลำดับ กลิ่นของน้ำมันหอมระเหยขาและตะไครดังนี้ กลิ่น
ฉุนแรงมาก และกลิ่นหอมฉุน ตามลำดับ สีของน้ำมันหอมระเหยขาและตะไคร ดังนี้ สีเหลืองทอง และ
สีน้ำตาลแดง ตามลำดับ คาความเปนกรด-เบสของน้ำมันหอมระเหยขาและตะไคร มีคาพีเอชดังนี้ 5.12
และ 4.39 ตามลำดับ ซึ่งจัดวาเปนกรดออน ตามคามาตรฐานของน้ำมันหอมระเหยจากตะไครและขา
และความเขมขนของน้ำมันหอมระเหยขาและตะไคร มีคาดังนี้ 0.04 และ 0.14 ตามลำดับ จากงานวิจัย
จึงสรุปไดวาระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหย และน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดมีประสิทธิภาพสูงสามารถ
นำไปใชสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร และสามารถนำไปตอยอดทำเปนผลิตภัณฑสมุนไพรได

คำสำคัญ : ระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหย น้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร ขา ตะไคร แกลบ

วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปที่ 4 ฉบับที่ 2


66
ABSTRACT
The system extracting essential oil from herbal plants by using rice husk as fuel
have the objective is to develop a system for extracting essential oils from medicinal
plants by using rice husk as fuel and to analyze the extracted essential oils. The
researcher designed the essential oil extraction system to find the essential oil extraction
work and analysis of essential oils extracted using physical and chemical methods. The
results showed that the thermal efficiency of the extracting pot was 841.39 KJ. The
thermal efficiency of the biomass burner for extracting oil from galangal and lemongrass
were 15.01% and 14.84% which is considered to have a highly efficient thermal system.
The extracted essential oils of galangal and lemongrass essential oils were as follows:
201.67 ml and 216.67 ml respectively. The aroma of essential oil galangal and
lemongrass as follows Very strong pungent and pungent aroma, respectively, the color
of the essential oils galangal and lemongrass as follows have Golden yellow and red
brown respectively. Acidity-base of essential oil galangal and lemongrass PH value as
follows 5.12 and 4.39 respectively. Which is considered to be a weak acid according to
the standard of essential oils from lemon grass and galangal and the concentration of
galangal and lemongrass essential oils were as follows: 0.04 and 0.14 respectively. From
the research, it can be concluded that the essential oil extraction system and the
essential oils extracted with high efficiency can be used to extract essential oils from
medicinal plants. And able to be further made into herbal products.

Keywords : Essential Oil Extraction System, Essential Oil from Herbal Plants,
Galangal, Lemongrass, Rice Husk

บทนำ
ประเทศไทยมีทรัพยากรที่อุดมสมบูรณทั้งพืช สัตว และแรธาตุที่หลากหลายนานาพันธุ ภายใต
ระบบนิเวศที่แตกตางกัน สมุนไพรเปนพืชที่คนไทยรูจักนำมาใชประโยชนตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน และ
เปนทรัพยากรธรรมชาติที่ใชเปนอาหารและยา นอกจากนี้ผลิตภัณฑสมุนไพรก็กำลังไดรั บความนิยม
และนำมาใชเปนการรักษาทางเลือกทั่วโลก พืชสมุนไพรเปนผลผลิตจากธรรมชาติสามารถหาไดใน
ทองถิ่นเพราะสวนใหญไดจากพืชที่มีอยูทั่วไป ทั้งในเมืองและชนบทสวนใหญแลวจะนำสมุนไพรมาใชใน
การบำบัดรักษาโรคและนำมาทำเปนผลิตภัณฑตาง ๆ ซึ่งถือไดวาการนำสมุนไพรมาใชประโยชนเปน

วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปที่ 4 ฉบับที่ 2


67
ภูมิปญญาที่เปนเอกลักษณและสะทอนวัฒนธรรมรวมถึงเปนรากฐานเกษตรกรรมที่มีคุณคาของประเทศ
ไทยแตโบราณกาล น้ำมันหอมระเหยเปนผลผลิตที่ไดจากพืชสมุนไพร ซึ่งน้ำมันหอมระเหยเปนน้ำมันที่
พืชสรางขึ้นและเก็บไวในสวนตาง ๆ ของพืช เชน ดอก ใบ ผล ลำตน ราก เปนตน สวนมากจะมีกลิ่น
หอม สวนใหญแลว น้ำมัน หอมระเหยที่ไดจากพืชสมุนไพรจะนำมาทำเปนน้ำมันนวด ยารักษาโรค
ผลิตภัณฑบำรุงผิว น้ำหอมและเครื่องสำอาง นอกจากนี้ยังมีการใชกลิ่นหอมจากสมุนไพรเปนยาหอมยา
ดม และเครื่องปรุงแตงอาหารอีกดวย ซึ่งน้ำมันหอมระเหยจากสมุนไพรสวนใหญจะไดจากกระบวนการ
สกัด ซึ่งกระบวนการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรก็มีวิธีการที่หลากหลายแตกตางกันออกไป
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559; สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม, 2545)
ประเทศไทยเปนประเทศที่ทำการเกษตรกันอยางกวางขวางซึ่งในระหวางการเก็บเกี่ยวและการ
แปรรูปผลผลิตทางเกษตรนั้น จะกอใหเกิดชีวมวล หรือเรียกวา วัสดุเกษตรเหลือทิ้ง ในงานวิจัยนี้ไดเลือก
แกลบเปนเชื้อเพลิงชีวมวลอันเนื่องมาจากแกลบมีพลังงานชีวมวลอยูเปนจำนวนมากหรือคิดเปนคา
พลังงานความรอนที่สูง ประกอบกับชุมชนของผูวิจัยไดทำนาขาวเปนสวนใหญ หลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต
จะมีการกะเทาะเปลือกขาว ทำใหไดแกลบเปนจำนวนมาก ซึ่งชีวมวลที่เหลือจากการเกษตรนี้สามารถ
นำมาผานกระบวนการแปรรูปชีวมวลไปเปนพลังงานรูปแบบตาง ๆ ได เชน การเผาไหมโดยตรงการ
ผลิตก๊าซ และการหมัก เปนตน หรือเรียกกันทั่ วไปวา เทคโนโลยีชีวมวล เมื่อใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม
จะไมกอใหเกิดมลภาวะหรือภาวะเรือนกระจก เนื่องจากเมื่อมีการปลูกพืชทดแทน จะเกิดการหมุนเวียน
ของก๊าซคารบอนไดออกไซดและไมมีการปลดปลอยเพิ่มขึ้น ซึ่งเปนการชวยลดปญหาสิ่งแวดลอมได
(ไทยไบโอเทค ดอท อินโฟ, 2548)
ณ ปจจุบันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรในอุตสาหกรรมดวยกระบวนการ และ
วิธีการตาง ๆมักจะใชความดันและอุณหภูมิสูง ซึ่งเปนวิธีการที่ตองใชพลังงานเปนจำนวนมากในการสกัด
น้ำมันหอมระเหยแตละครั้ง มากไปกวานั้นยังสงผลกระทบอีกหลาย ๆ ดานตามมา เชน การใชพลังงาน
ที่สิ้นเปลือง การเกิดแก๊สและมลพิษตาง ๆ ที่เกิดจากกระบวนการสกัดน้ำมันที่ต องใชความดัน และ
อุณหภูมิสูง รวมถึงประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหยที่ยังขาดคุณภาพ
เทคโนโลยีพลังงานเริ่มเขามามีบทบาทในการวิจัยและพัฒนาระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหย
จากพืชสมุนไพรโดยใชพลั งงานแสงอาทิตยในการผลิตความรอน โดยการใชตัวดูดซับรังสีแสงอาทิตย
รวมกับหมอผลิต ไอน้ำ ซึ่งเปนวิธีการที่ทำใหไดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรที่มีประสิทธิภาพขึ้น
ในดานการลดตนทุนการผลิต และลดการใชพลังงาน มาใชพลังงานหมุนเวียน ที่ไดจากแสงอาทิตยแทน
แตวิธีการนี้ก็ยังพบปญหาตาง ๆ ในการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร นั่นก็คือในวันที่มีเมฆมาก
หรือวันที่ไมมีแสงแดด หรือวันที่มีแสงแดดออกนอย รวมทั้งฤดูหนาวและฤดูฝน ชวงเวลาเหลานี้เปน
ชวงเวลา ที่ไมสามารถสกัดน้ำมันหอมระเหยได เนื่องจากพลังงานความรอนจากแสงอาทิตยไมเพียงพอ
ตอการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืช ดังนั้นจึงทำใหการสกัดน้ำมันหอมระเหยไมตอเนื่อง ( Munir,
2551)

วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปที่ 4 ฉบับที่ 2


68
จากปญหาดังกลาวผูวิจัยไดพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานเพื่อหาแนวทางในการแกไขปญหาดังกลาว
จึงไดแนวคิดและวิธีการที่ใหมในการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุ นไพรโดยการประยุกตระบบการ
สกัดน้ำมันหอมระเหยโดยใชแกลบ ในการสรางพลังงานความรอนสำหรับการสกัดน้ำมันหอมระเหยจาก
พืชสมุนไพร เพราะพลังงานชีวมวลเปนพลังงานหมุนเวียนที่ไดมาจากธรรมชาติ เชน แกลบ ขยะวัสดุ
เหลือทิ้งทางการเกษตร ซึ่งชีวมวลเหลานี้มีพลังงานที่สะสมอยูมาก จึงเปนสิ่งที่ดีสำหรับการประยุกต
ระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยดวยพลังงาน ชีวมวลในการปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบการสกัด
น้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรโดยใชพลังงานแสงอาทิตยเพราะการใชพลังงานแสงอาทิตยในการ
สกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืช มีข อจำกัด เชน ในวันที่มีเมฆมาก ในวันที่ ฝนตก ในวันที่ไมมีแสงแดด
หรื อในวัน ที ่มีแ สงแดดนอยเปนตน ผลพลอยไดอีก ประการคื อ เปนการนำชีว มวลที่เ หลือทิ้งทาง
การเกษตรมาใชใหเกิดประโยชนอีกดวย งานวิจัยนี้ไดเลือกขาและตะไครมาเปนพืชตัวอยางในงานวิจัย
อันเนื่องมาจากพืชทั้งสองชนิดนี้มีสรรพคุณทางยาที่สูงและหางายในทองถิ่น ดังนั้นผูวิจัยจึงไดเล็งเห็นถึง
ความเหมาะสมในการนำพืชทั้งสองชนิดนี้มาเปนพืชตัวอยาง และงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนา
และประเมินประสิทธิภาพของการสกัดน้ำมันหอมระเหยโดยใชแกลบเปนเชื้อเพลิงในการสกัดน้ำมัน
หอมระเหยจากพืชสมุนไพร
วัตถุประสงคของการวิจัย
1. พัฒนาระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรโดยใชแกลบเปนเชื้อเพลิง
2. ประเมินประสิทธิภาพของระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยโดยใชแกลบเปนเชื้อเพลิงใน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร
3. วิเคราะหคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรที่สกัดได
โดยใชแกลบเปนเชื้อเพลิง

วิธีการดำเนินการวิจัย
วัสดุและเครื่องมือในการสรางระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหย
1. วัส ดุ ที ่ใชในการสรางระบบการสกัดน้ำมัน หอมระเหยจากพืชสมุน ไพรโดยใชแกลบเปน
เชื้อเพลิงมีดังนี้
1.1. หมอสกัดน้ำมันหอมระเหยเสนผานศูนยกลาง 20 เซนติเมตร สูง 30 เซนติเมตร
1.2. เตาเผาชีวมวลขนาด 30 x 30 x 50 เซนติเมตร
1.3. ถังเก็บน้ำมันหอมระเหย เสนผานศูนยกลาง 40 เซนติเมตร สูง 60 เซนติเมตร

วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปที่ 4 ฉบับที่ 2


69
1.4. ทอทางเดิน ไอน้ำ ซึ่งทอทางเดินไอน้ำจากเตาเผาชีวมวลถึง หมอสกัดน้ำมันหอมระเหย
ยาว 100 เซนติเมตร เสนผานศูนยกลาง 5.08 เซนติเมตร และทอทางเดินไอน้ำจากหมอสกัดน้ำมันหอม
ระเหยถึงถังเก็บน้ำมันหอมระเหยยาว 60 เซนติเมตร เสนผานศูนยกลาง 5.08 เซนติเมตร
2. เครื่องมือที่ใชในการดำเนินงาน ไดแก เครื่องตัดเหล็กไฟฟา เครื่องเจาะ ตลับเมตร และ
อื่น ๆ
ออกแบบและสรางระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรโดยใชแกลบเปนเชื้อเพลิง
ทำการออกแบบ โดยใชหมอสกัดน้ำมันหอมระเหยตอเขากับ ระบบเตาเผาชีวมวลและถังเก็บ
น้ำมันหอมระเหย กลไกการทำงานของระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรโดยใชแกลบเปน
เชื้อเพลิงคือ เมื่อใสเชื้อเพลิงนั่นคือแกลบเขาไปยังหองเผาชีวมวลบริเวณหมายเลข 1 โดยใสผานทาง
ปลองใสเชื้อเพลิงบริเวณหมายเลข 4 จากนั้นจุดไฟและปดปลองใสเชื้อเพลิง ใสน้ำเปลาไปยังหมอตม
บริเวณหมายเลข 2 ปดฝาหมอ และใสพืชตัวอยางลงไปยังหมอสกัดสารบริเวณหมายเลข 7 โดยนำพืช
ตัวอยางไปวางไวบนตะแกรงบริเวณหมายเลข 9 ปดฝา โดยกลไกทำงานของเครื่องสกัดน้ ำมันหอม
ระเหยโดยใชแกลบเปนเชื้อเพลิงจะเปนการสกัดโดยใชไอน้ำ เมื่อน้ำเดือด ไอความรอนจะผานไปยังทอ
ทางเดินของไอน้ำบริเวณหมายเลข 6 ไปผานพืชตัวอยางที่วางบนตะแกรง จากนั้นไอน้ำรอนและไอของ
น้ำมันหอมระเหยจะไหลผานไปยังทางเดินไอน้ำบริเวณหมายเลข 10 แลวไปพบกับจุดควบแนนบริเวณ
หมายเลข 11 ซึ่งใชอากาศเปนจุดควบแนน ทำใหไอน้ำและน้ำมันหอมระเหยกลั่นตัวกลายเปนหยดน้ำ
และไหลไปเก็บสะสมไวยังถังเก็บน้ำมันหอมระเหยบริเวณหมายเลข 12 โดยเครื่องสกัดน้ำมันหอมระเหย
จากพืชสมุนไพรโดยใชแกลบเปนเชื้อเพลิงที่ทำการออกแบบไว แสดงไดดังภาพประกอบ 1

ภาพประกอบ 1 ระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรโดยใชพลังงานชีวมวล

วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปที่ 4 ฉบับที่ 2


70
ทำการสรางระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร
นำวัสดุตาง ๆ ที่เตรียมไวนั่นคือ ปบสำหรับเปนเตาเผาชีวมวล หมอตมน้ำ ถังสีสำหรับเปนหอง
เผาชีวมวล กระปองอลูมิเนียมสำหรับทำปลองใสเชื้อเพลิง ทอเหล็กสำหรับทำเปนทอทางเดินไอน้ำ
หมอสกัดสารรวมทั้งตะแกรงวางพืช และถังเก็บน้ำมันหอมระเหยที่สกัดได เพื่อทำการสรางเครื่องสกัด
น้ำมันหอมระเหย
เมื่อเตรียมวัสดุสำหรับสรางเครื่องสกัดน้ำมันหอมระเหยครบแลว จากนั้นลงมือสรางเครื่องตามที่
ทำการออกแบบไวดัง ภาพประกอบ 3 โดยการสรางเครื่องสกัดน้ำมันหอมระเหยใชเครื่องมือหลักๆ ใน
การสรางคือ เครื่องตัดเหล็กไฟฟา เครื่องเจาะ และกาวซีเมนต
ทำการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร
ในการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรโดยใชแกลบเปนเชื้อเพลิงมีขั้นตอนการสกัด
น้ำมันหอมระเหยตั้งแตขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดทาย จนไดน้ำมันหอมระเหยออกมามีขั้นตอน
ดังตอไปนี้
1. ตั้งเครื่องสกัดน้ำมันหอมระเหย
2. กอไฟใหติดโดยใชแกลบเปนเชื้อเพลิงจำนวน 3 กิโลกรัม
3. ชั่งมวลน้ำ 5 กิโลกรัม ใสน้ำลงไปในหมอตมน้ำ วัดอุณหภูมิน้ำกอนตม
4. สับพืชตัวอยางใหละเอียดชั่งมวล 1 กิโลกรัม ใสลงไปยังหมอสกัดสาร
5. ปดฝาหมอทิ้งไวประมาณ 6 ชั่วโมง วัดอุณหภูมิน้ำเรื่อย ๆ เติมแกลบในเตาเผา และเติมน้ำใน
หมอตมน้ำเรื่อย ๆ
6. เก็บน้ำมันหอมระเหยจากถังเก็บน้ำมัน จากนั้นนำไปใสขวดโหลไว
หาประสิทธิภาพของระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหย
ในการหาประสิทธิภาพของระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยโดยใชแกลบเปนเชื้อเพลิง โดยการ
หาประสิทธิภาพทางความรอนของหมอสกัดสารและการหาประสิทธิภาพทางความรอนของเตาชีวมวล
โดยแตละอยางมีขั้นตอนในการหาประสิทธิภาพดังนี้
1. การหาประสิทธิภาพทางความรอนของหมอสกัดสาร มีขั้นตอนการทดสอบดังตอไปนี้
1.1 ใสน้ำลงไปในหมอสกัดสาร 5 กิโลกรัม และใสพืชสมุนไพรบดที่จะทำการสกัดน้ำมันหอม
ระเหย 1 กิโลกรัม วางลงไปบนตะแกรงในหมอสกัดสาร
1.2 บัน ทึกอุณหภูมิของน้ำในสภาวะปกติ ก อนเขาสู กระบวนการทำน้ำ รอน และบัน ทึก
อุณหภูมิของน้ำรอนหลังสิ้นสุดกระบวนการทำน้ำรอน

วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปที่ 4 ฉบับที่ 2


71
1.3 วิเคราะหปริมาณความรอนที่เพิ่มขึ้นภายในหมอสกัดสารและประสิทธิภาพทางความ
รอนของระบบ สามารถพิจารณาไดดังสมการที่ 1 และ สมการที่ 2

Qs =( )( Cpw )[ - Tinitial ] (1)

เมื่อ Qs = ปริมาณความรอนที่เพิ่มขึ้นภายในหมอสกัดสาร (kJ)


= มวลของน้ำรวมภายในหมอสกัดสาร (kg)
Cpw = ความจุความรอนจําเพาะของน้ำ (kJ/kg. °C)
- Tinitial = อัตราการเพิ่มอุณหภูมิน้ำภายในหมอสกัดสาร (°C)

= [ Qs / Htot ] x 100 (2)

เมื่อ = ประสิทธิภาพทางความรอนของระบบ
Qs = ปริมาณความรอนที่เพิ่มขึ้นภายในหมอสกัดสาร (kJ)
Htot = พลังงานความรอนทั้งหมดที่หมอสกัดสารไดรับ (kJ/kg)
ซึ่งคา Htot หาไดจาก Htot = x Hhusk
โดยที่ = น้ำหนักของแกลบที่ใชทั้งหมด (kg)
Hhusk = คาพลังงานความรอนจากแกลบมีคา 14,398 (kJ/kg)

2. การหาประสิทธิภาพทางความรอนของเตาชีวมวล
ในการทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพเชิงความรอนของเตาชีวมวล สามารถนำขอมูลปริมาณ
เชื้อเพลิง ปริมาณน้ำตอนเริ่ม และปริมาณการระเหยของน้ำมาคำนวณคาประสิทธิภาพเชิงความรอนดัง
สมการที่ 3
(M wi )(Cp )(Tb -Ti )+(M w,evap )(Hi )
= (3)
(M f )(Hf )

เมื่อ = ประสิทธิภาพทางความรอนเตาชีวมวล
M wi = น้ำหนักน้ำรวมกอนตม (kg)
= ความรอนจำเพาะของน้ำมีคา 4.186 (kJ/kg) °C
M w,evap = น้ำหนักน้ำที่ระเหย (kg)

วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปที่ 4 ฉบับที่ 2


72
Mf = น้ำหนักเชื้อเพลิง (kg)
Tb = อุณหภูมิขณะน้ำเดือด (°C)
Ti = อุณหภูมิน้ำกอนตม (°C)
Hi = คาความรอนแฝงของน้ำมีคา 2,257 (kJ/kg)
Hf = คาความรอนเชื้อเพลิง 14,398 (kJ/kg)

ทำการวิเคราะหการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร
หลังจากไดน้ำมันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรจากกระบวนการสกัดแลว นำน้ำมันหอมระเหยมา
ทำการวิเคราะห โดยใชเทคนิคทางกายภาพและทางเคมีในการวิเคราะหไดแก การหาปริมาณผลผลิต
ปริมาณน้ำมันหอมระเหยที่สกัดได สี กลิ่น คาความเปนกรด - เบส และ คาความเขมขนของน้ำมันหอม
ระเหย โดยแตละเทคนิควิธีมีขั้นตอนในการวิเคราะหดังนี้
1. หาปริมาณผลผลิตที่ไดและประสิทธิภาพการสกัดน้ำมันหอมระเหยโดยมีวิธีการดังนี้
1.1 นำพืชสมุนไพรบดน้ำหนัก 1 กิโลกรัม มาสกัดน้ำมันโดยระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหย
พืชสมุนไพร โดยใชพลังงานชีวมวล
1.2 ทำการทดสอบการสกัดน้ำมันหอมระเหย 6 ชั่วโมง
1.3 ทำการทดสอบการสกัดน้ำมันหอมระเหยของระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืช
สมุนไพรโดยใชพลังงานชีวมวล จำนวน 3 ครั้งเพื่อหาคาเฉลี่ย
1.4 วิเคราะหปริมาณผลผลิตของน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดและประสิทธิภาพการสกัดน้ำมัน
หอมระเหยจากสมการที่ 4 และ สมการที่ 5
VE
Vproduct = x 100 (4)
Wh
เมื่อ Vproduct = ปริมาณผลผลิตที่ได (%v/w)
VE = ปริมาณน้ำมันที่สกัดได (ml)
= น้ำหนักพืชตัวอยาง (kg)

Vproduct
E = (5)
Ttotal

วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปที่ 4 ฉบับที่ 2


73
เมื่อ E = ประสิทธิภาพการสกัดน้ำมันหอมระเหย (%/hr)
Vproduct = ปริมาณผลผลิตทีไ่ ด (%v/w)
Ttotal = ระยะเวลาในการสกัดน้ำมันหอมระเหยทั้งหมด (hr)

2. วิเคราะหน้ำมันหอมระเหยโดยเทคนิควิธีทางกายภาพและทางเคมี ดังนี้
2.1 วิเคราะหปริมาณน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดโดยมีวิธีการดังนี้
เตรียมขวด Flask เพื่อรอใสน้ำมันหอมระเหยจากพืช จากนั้นชั่งน้ำหนักขวด Flask แลว
บันทึกคาน้ำหนัก และนำน้ำมันหอมระเหยจากพืชที่สกัดไดใสลงใน Flask และน้ำมันหอมระเหยที่สกัด
ไดจากพืชตัวอยาง 2 ชนิด ทำการสกัดอยางละ 3 ครั้งเพื่อหาคาเฉลี่ย และเตรียมขวด Flask เพื่อรอใส
น้ำมันหอมระเหยจากพืช จากนั้นนำน้ำมันหอมระเหยจากพืชที่สกัดไดใสลงใน Flask และสังเกตสีของ
น้ำมันหอมระเหย เทียบกับมาตรฐานสี RAL บันทึกผล
2.2 วิเคราะหกลิ่นของน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดโดยมีวิธีการดังนี้
เตรียมขวด Flask เพื่อรอใสน้ำมันหอมระเหยจากพืช จากนั้นนำน้ำมันหอมระเหยจาก
พืชที่สกัดไดใสลงใน Flask และทดสอบกลิ่นของน้ำมันหอมระเหยใน Flask โดยใหนักศึกษาจำนวน
20 คน ดมน้ำมันหอมระเหยบันทึกผล
2.3 วิเคราะหความเปนกรด–เบสของน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดโดยมีวิธีการดังนี้
น้ำมันหอมระเหยจากพืชที่สกัดไดใสลงใน Flask และใชพีเอชมิเตอรวัดคาความเปน
กรด-เบส แลวบันทึกผล
2.4 วิเคราะหความเขมขนของน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดโดยมีวิธีการดังนี้
น้ำมันหอมระเหยจากพืชที่สกัดไดใสลงใน Flask จากนั้น ทำการไทเทรตน้ำ มันหอม
ระเหยโดยใชโซเดียมไฮดรอกไซดเปนตัวอินดิเคเตอร และหยดฟนอฟทาลีน เพื่อดูการเปลี่ยนสีของน้ำมัน
หอมระเหยและคำนวณคาความเขมขนของน้ำมันหอมระเหยจากสมการที่ 6

C1V1 = C2 V2 (6)

เมื่อ คือ ความเขมขนของสารสกัดน้ำมันหอมระเหย (mol/L)


C2 คือ ความเขมขนของสาร NaOH 12.50 mol/L
V1 คือ ปริมาตรของสารสกัดน้ำมันหอมระเหย (L)
คือ ปริมาตรของสาร NaOH (L)

วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปที่ 4 ฉบับที่ 2


74
ผลการวิจัย
การทดสอบและพัฒนาระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยใหมีประสิทธิภาพ
ในการวิจัยนี้ใชน้ำในการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากขาและตะไครจำนวน 5 กิโลกรัม ใชแกลบ
ในการใหความรอนปริมาณ 3 กิโลกรัม ทำการสกัดทั้งหมด 6 ครั้ง แตละครั้งใชเวลา 6 ชั่วโมง ซึ่งในการ
สกัดน้ำมันหอมระเหยแตละครั้งจะมีปริมาณน้ำที่ระเหยไปหรือคิดเปนน้ำหนักน้ำที่หายไปจากการสกัด
พบวาน้ำที่หายไปหลังการสกัดน้ำมันหอมระเหยหอมระเหยจากขาเฉลี่ยได 2.50 กิโลกรัม และน้ำหนัก
น้ำที่หายไปจากการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร 2.47 กิโลกรัม ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 แสดงปริมาณน้ำที่หายไปหลังการสกัดน้ำมันหอมระเหย
น้ำหนักน้ำที่หายไปจากการสกัด น้ำหนักน้ำที่หายไปจากการสกัด
น้ำมันหอมระเหยจากขา (kg) น้ำมันหอมระเหยจากตะไคร (kg)
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย
2.60 2.40 2.50 2.50 2.30 2.70 2.40 2.47

1. การหาประสิทธิภาพทางความรอนของหมอสกัดสาร
1.1. วิเ คราะหปริม าณความรอนที่เ พิ ่มขึ้ นภายในหมอสกัดสาร จากผลการทดลองการ
วิเคราะหปริมาณความรอนที่เพิ่มขึ้นภายในหมอสกัดสาร พบวา ปริมาณความรอนที่เพิ่มขึ้นภายในหมอ
สกัดสารจากการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากขาและตะไครที่คำนวณไดทั้ง 6 ครั้งมีคาเทากันซึ่งคิดเปน
คาเฉลี่ยได คือ 1,403.32 กิโลจูล โดยมวลของน้ำรวมภายในหมอสกัดสารมีอยู 5 กิโลกรัม ความรอน
จำเพาะของน้ำมีค า 4.186 กิโลจูลตอกิโลกรัมองศาเซลเซียส อุณหภูม ิของน้ำกอนตมมีค าเทากับ
25 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิของน้ำขณะเดือดมีคาเทากับ 92 องศาเซลเซียส
1.2. ประสิทธิภาพทางความรอนของระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหย (ηt ) นำคาปริมาณ
ความรอนที่เพิ่มขึ้นภายในหมอสกัดสารที่คำนวณไดแลว มาแทนคาในสมการการหาประสิทธิภาพทาง
ความรอนของระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหย (%) ซึ่งคาพลังงานความรอนทั้งหมดที่หมอสกัดสารไดรับ
หาไดจากน้ำหนักของแกลบที่ใชทั้งหมด 3 กิโลกรัม คูณกับคาพลังงานความรอนจากแกลบมีคา 14,398
กิโลจูลตอกิโลกรัม โดยประสิทธิภาพทางความรอนของระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากขามีคาเฉลี่ย
เปน 3.25 % และประสิทธิภาพทางความรอนของระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากตะไครมีคาเฉลี่ย
เปน 3.25 % ดังตารางที่ 2

วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปที่ 4 ฉบับที่ 2


75
ตารางที่ 2 แสดงประสิทธิภาพทางความรอนของระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหย
ประสิทธิภาพทางความรอนของระบบ ประสิทธิภาพทางความรอนของระบบ
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากขา % การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร %
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย
3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25 3.25

2. การหาประสิทธิภาพทางความรอนของเตาชีวมวล
โดยสามารถคำนวณหาคาประสิทธิภ าพทางความรอนของเตาชีว มวล (%) ไดจากการ
วิเคราะหปริมาณของแกลบที่ใชเปนเชื้อเพลิงในการสกัดน้ำมันหอมระเหยจำนวน 3 กิโลกรัม มีคาความ
รอนของแกลบอยูที่ 14,398 กิโลจูลตอกิโลกรัม ปริมาณน้ำตอนเริ่มหรือกอนตม 5 กิโลกรัม ปริมาณการ
ระเหยของน้ำที่หายไปหลังจากการสกัด 6 ชั่วโมง จำนวน 6 ครั้ง ซึ่งมีคาความรอนจำเพาะของน้ำ อยูที่
4.186 กิโลจูลตอกิโลกรัมองศาเซลเซียส และคาความรอนแฝงของน้ำมีคา 2,257 กิโลจูลตอกิโลกรัม ซึ่ง
อุณหภูมิของน้ำกอนตมมีคาเทากับ 25 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิของน้ำขณะเดือดมีคาเทากับ 92
องศาเซลเซียส โดยประสิทธิภาพทางความรอนของเตาชีวมวลการสกัดน้ำ มันหอมระเหยจากขามี
คาเฉลี่ย 16.31% และยังมีคาประสิทธิภาพทางความรอนของเตาชีวมวลการสกัดน้ำมันหอมระเหยจาก
ตะไครเฉลี่ย 16.41% ซึ่งถือไดวา มีระบบทางความรอนที่มีประสิทธิภาพสูงถาเทียบกับงานวิจัยของ
(วิรัตน เจริญบุญ, 2560) ซึ่งมีประสิทธิภาพ 10.36% ดังแสดงในตารางที่ 3

ตารางที่ 3 แสดงประสิทธิภาพทางความรอนของเตาชีวมวลในการสกัดน้ำมันหอมระเหย
ประสิทธิภาพทางความรอนของเตาชีวมวล ประสิทธิภาพทางความรอนของเตาชีวมวล
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากขา % การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร %
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย
16.83 15.79 16.31 16.31 15.27 17.36 15.79 16.14

3. วิเคราะหปริมาณผลผลิตที่ไดและประสิทธิภาพการสกัดน้ำมันหอมระเหย
ในการสกัดน้ำมัน หอมระเหยจำนวนทั้งหมด 6 ครั้ง ใชเวลาสกัดครั้งละ 6 ชั่วโมง โดยใช
ปริมาณขาและตะไครจำนวน 1 กิโลกรัม พบวา ปริมาณผลผลิตที่ไดจากกระบวนการสกัดน้ำมัน หอม
ระเหยจากขาเฉลี่ยมีคาเทากับ 20.17 รอยละโดยปริมาตรตอมวล และปริมาณผลผลิตที่ไดจากการสกัด
น้ำมันหอมระเหยจากตะไครเฉลี่ยมีคาเทากับ 21.67 รอยละ โดยปริมาตรตอมวล ประสิทธิภาพการสกัด
น้ำมันหอมระเหยจากขามีคาเฉลี่ยเทากับ 3.36 % ตอ ชั่วโมง ประสิทธิภาพการสกัดน้ำมันหอมระเหย
จากตะไครมีคาเฉลี่ยเปน 3.61 % ตอ ชั่วโมง ซึ่งสามารถแสดงคาที่ไดจากการคำนวณดังตารางที่ 4 และ
ตารางที่ 5

วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปที่ 4 ฉบับที่ 2


76
ตารางที่ 4 แสดงปริมาณผลผลิตที่ไดในการสกัดน้ำมันหอมระเหย
ปริมาณผลผลิตทีไ่ ดจากการสกัด ปริมาณผลผลิตทีไ่ ดจากการสกัด
น้ำมันหอมระเหยจากขา (% v/w) น้ำมันหอมระเหยจากตะไคร (% v/w)
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย
20.00 19.50 21.00 20.17 22.00 21.50 21.50 21.67

ตารางที่ 5 แสดงประสิทธิภาพการสกัดน้ำมันหอมระเหย
ประสิทธิภาพการสกัดน้ำมันหอมระเหย ประสิทธิภาพการสกัดน้ำมันหอมระเหย
จากขา (% /hr) จากตะไคร (% /hr)
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย
3.33 3.25 3.50 3.36 3.67 3.58 3.58 3.61

วิเคราะหน้ำมันหอมระเหยโดยเทคนิควิธีทางกายภาพและทางเคมี
1. วิเคราะหปริมาณน้ำมันหอมระเหยที่สกัดได นำน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดทั้งหมด 6 ครั้ง มา
ทำการตวงเพื่อวิเคราะหหาปริมาณที่ได ซึ่งปริมาณน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดจากขามีคาเฉลี่ยเทากับ
201.67 มิลลิลิตร และปริมาณน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดจากตะไครมีคาเฉลี่ยเทากับ 216.67 มิลลิลิตร
สามารถแสดงไดดังตารางที่ 6
ตารางที่ 6 แสดงปริมาณน้ำมันหอมระเหย
ปริมาณน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดจากขา (mL) ปริมาณน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดจากตะไคร (mL)
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย
200 195 210 201.67 220 215 215 216.67

2. วิเคราะหสีน้ำมันหอมระเหยที่สกัดได นำน้ำมันหอมระเหยที่สามารถสกัดไดทั้ง หมด 6 ครั้ง


มาทำการวิเคราะหสี โดยใชมาตรฐานสี RAL หรือที่เรียกวา RAL Colour Standard ซึ่งเปนระบบจับคู
สีที่ใชในยุโรปที่สรางขึ้นและบริหารโดย RAL gGmbH แสดงดังตารางที่ 7
ตารางที่ 7 แสดงสีน้ำมันหอมระเหย
สีของสารสกัดน้ำมันหอมระเหยจากขา สีของสารสกัดน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3
เหลืองทอง เหลืองทอง เหลืองทอง น้ำตาลแดง น้ำตาลแดง น้ำตาลแดง

วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปที่ 4 ฉบับที่ 2


77
3. วิเคราะหกลิ่นน้ำมันหอมระเหยที่สกัดได นำน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดทั้ง หมด 6 ครั้ง มาทำ
การวิเคราะหพิสูจนกลิ่น โดยใชจำนวนนักศึกษา สาขาฟสิกส มหาวิทยาลัยนครราชสีมา 20 คนเปน
ผูทดสอบ พบวา คะแนนที่นักศึกษาสวนใหญใหน้ำมันหอมระเหยจากขามีกลิ่นฉุนมาก ซึ่งมีคาเฉลี่ยเปน
0.70 และใหคะแนนน้ำมันหอมระเหยจากตะไครมีกลิ่นหอม ซึ่งมีคาเฉลี่ยเปน 2.25 ดังตารางที่ 8
ตารางที่ 8 แสดงระดับคะแนนกลิ่นของน้ำมันหอมระเหย
ระดับคะแนนกลิ่นของน้ำมันหอม
ความพึงพอใจ ผลรวมระดับความพึงพอใจ
ระเหย (N=20)
ของกลิ่นน้ำมัน การแปลผล
กลิ่นฉุน
หอมระเหย กลิ่นหอม กลิ่นฉุน SD
มาก
น้ำมันหอม
2 4 14 0.70 0.26 กลิ่นฉุนมาก
ระเหยจากขา
น้ำมันหอม
ระเหยจาก 15 3 2 2.25 2.90 กลิ่นหอม
ตะไคร

4. วิเคราะหความเปนกรด-เบสของน้ำมันหอมระเหยที่สกัดได นำน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดทั้ง
6 ครั้งมาทำการวิเคราะหหาคาความเปนกรด-เบส โดยใชเครื่อง pH meter แบบปากกา ซึ่งจะใหคาที่มี
ความละเอียดและถูกตองแมนยำ ซึ่งคาความเปนกรด – เบสของสารสกัดน้ำมันหอมระเหยจากขามี
คาเฉลี่ยเปน 5.12 และคาความเปนกรด – เบสของสารสกัดน้ำมันหอมระเหยจากตะไครมีคาเฉลี่ยเปน
4.93 แสดงดังตารางที่ 9
ตารางที่ 9 แสดงความเปนกรด-เบสน้ำมันหอมระเหย
คาความเปนกรด – เบสของสารสกัด คาความเปนกรด – เบสของสารสกัด
น้ำมันหอมระเหยจากขา น้ำมันหอมระเหยจากตะไคร
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย
5.12 5.12 5.12 5.12 4.93 4.93 4.93 4.93

5. วิเคราะหความเขมขนของน้ำมันหอมระเหยที่สกัดได นำน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดทั้ง
6 ครั้งมาทำการวิเคราะหหาคาความความเขมขน โดยใชคาความเขมขนของสารละลายโซเดียม
ไฮดรอกไซดที่มีความเขมขน 12.5 โมลตอลิตร เปนตัวอินดิเคเตอรและใชสารฟนอลทาลีนเปน
ตัวชวยในการเปลี่ยนสีของน้ำมันหอมระเหย ซึ่งความเขมขนของสารสกัดน้ำมันหอมระเหยจากขา
มีคาเฉลี่ยเปน 0.04 โมลตอลิตร และความเขมขนของสารสกัดน้ำมันหอมระเหยจากตะไครมี
คาเฉลี่ยเปน 0.14 โมลตอลิตร แสดงดังตารางที่ 10

วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปที่ 4 ฉบับที่ 2


78
ตารางที่ 10 แสดงความเปนความเขมขนน้ำมันหอมระเหย
ความเขมขนของสารสกัดจากขา (mol/L) ความเขมขนของสารสกัดจากตะไคร (mol/L)
ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย
0.03 0.03 0.05 0.04 0.13 0.13 0.15 0.14

อภิปรายผลการวิจัย
สมุนไพรขาและตะไครจำนวน 1 กิโลกรัม ใชน้ำในการสกัดจำนวน 5 กิโลกรัม และ ใชเวลาใน
การสกัด 6 ชั่วโมงตอครั้ง สามารถสกัดไดอยางมีประสิทธิภาพในอัตรา 20.17 รอยละโดยปริมาตรตอ
มวล และ 21.67 รอยละโดยปริมาตรตอมวล ตามลำดับ โดยใชระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยดวย
พลังงานชีวมวลที่มีแกลบเปนเชื้อเพลิงจำนวน 3 กิโลกรัม ซึ่งจัดวาเปนชีวมวลที่มีคาพลังงานความรอนที่
สูงคือ 14,398 กิโลจูลตอกิโลกรัม ในการทดสอบประสิทธิภาพทางความรอนของหมอสกัดสาร มีคา
1,403.32 กิโลจูล และการทดสอบประสิทธิภาพทางความรอนของเตาชีวมวลในการสกัดน้ำมั นจากขา
และตะไครมีคาเปน 16.31 % และ 16.14 %
การวิเคราะหน้ำมันหอมระเหยโดยเทคนิควิธีทางกายภาพและทางเคมี ไดแก คาปริมาณน้ำมัน
หอมระเหยที่สกัดไดจากขามีคาเฉลี่ยอยูที่ 201.67 มิลลิลิตร สวนปริมาณน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดจาก
ตะไครมีคาเฉลี่ย 216.67 มิลลิลิตร กลิ่นน้ำมันหอมระเหยขาจะมีกลิ่นฉุนมาก สวนตะไครจะมีกลิ่นหอม
สีของน้ำมันหอมระเหยของขาจะมีสีเหลืองทอง สวนตะไครจะมีสีน้ำตาลแดง คาความเปนกรด-เบสของ
น้ำมันหอมระเหยขาจะมีคาพีเอช (pH) เฉลี่ยอยูที่ 5.12 สวนคาความเปนกรด-เบสของน้ำมันหอมระเหย
ตะไครจะมีคาพีเอช (pH) เฉลี่ยรวมอยูที่ 4.39 ซึ่งถือไดวาเปนกรดออนตามคามาตรฐานของน้ำมันหอม
ระเหยจากตะไครและขา และคาความเขมขนของน้ำมันหอมระเหยขามีคาเฉลี่ยเปน 0.04 โมลตอลิตร
สวนของตะไครมีคาเฉลี่ยเปน 0.14 โมลตอลิตร
จากผลการวิจัยสามารถอภิปรายไดวาไดวางานวิจัยเรื่อง ระบบการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากพืช
สมุนไพรโดยใชแกลบเปนเชื้อเพลิงนี้ มีความเหมาะสมหรือความเปนไปไดในการนำระบบการสกัดน้ำมัน
หอมระเหยจากพืชสมุนไพรโดยใชแกลบเปนเชื้อเพลิงไปประยุกตใชหรือไปตอยอดได อันเนื่องมาจากผล
การทดสอบประสิทธิภาพทางความรอนของหมอสกัดสารและผลการทดสอบประสิทธิภาพทางความ
รอนของเตาชีวมวล ซึ่งถือไดวา มีระบบทางความรอนที่มีประสิทธิภาพสูงในการสกัดน้ำมันจากขาและ
ตะไครคือ 16.31 % และ 16.14 % ถาเที ย บกั บ งานวิจ ัย ของคุณ วิ รั ต น เจริญ บุญ (2560) ซึ่ง มี
ประสิทธิภาพทางความรอนอยูที่ 10.36 % และจากผลการวิเคราะหน้ำมันหอมระเหย ปริมาณผลผลิต
ของน้ำมันหอมระเหยที่สกัดไดจากขาและตะไครน้ำหนัก 1 กิโลกรัม มีคาเฉลี่ยเทากับ 201.67 มิลลิลิตร
และ 216.67 มิลลิลิตรตามลำดับ ซึ่งถือวาอยูในเกณฑที่ดีถาเทียบกับคามาตรฐานทั่วไปของน้ำมันหอม
ระเหยที่สกัดไดจากขาและตะไครจะอยูที่ประมาณ 180 – 250 มิลลิลิตร

วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปที่ 4 ฉบับที่ 2


79
กิตติกรรมประกาศ
ไดรับทุนสนับสนุนโครงการวิจัย งบอุดหนุนการวิจัย ประจำปงบประมาณ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครราชสีมา
เอกสารอางอิง
ไทยไบโอเทค ดอท อินโฟม. (2548). พลังงานชีวมวล. สืบคน 1 สิงหาคม 2562.
จาก https://www.thaibiotech.info/biomass-energy.php.
วิรัตน เจริญบุญ. (2560). เตาชีวมวลแกลบพลังงานเพื่อเกษตรกรไทย. สืบคน 1 สิงหาคม 2562.
จาก http://www.Stoscijournal.kku.ac.th.
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. (2559). สมุนไพร. สืบคน 1 สิงหาคม 2562.
จาก https://www.hsri.or.th.
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม. (2545). ผลิตผลจากพืช. สืบคน 1 สิงหาคม 2562.
จาก https://www.tisi.go.th.
Munir, Arjum. (2014). Potential of solar industrial process heat applications,
J. Appl Energy, 76, 337-361.

วารสารวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ปที่ 4 ฉบับที่ 2

You might also like