You are on page 1of 8

การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53 สาขาพืช

การเสริ มฤทธิ์ร่วมกันของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเชือ้ ราเอนโดไฟต์ และนา้ มันหอมระเหยจาก


พืชสมุนไพรเพื่อเพิ่มศักยภาพในการควบคุมการเน่ าเสียของผลไม้ หลังการเก็บเกี่ยว
A Potentiality of Endophytic Fungi Isolated from Thai Medicinal Plant in Piperaceae Family to
Control Fungi Causing Postharvest Decay of Fruit
ลลิตา คชารัตน์ 1, ประภัสสร รักถาวร1*, อุดมลักษณ์ สุขอัตตะ1 และเกสรี กลิน่ สุคนธ์ 1
Lalita Khacharat 1, Prapassorn rugthaworn 1*, Udomlak sukatta1 and Ketsaree Klinsukhon1

บทคัดย่ อ
จากการศึกษาฤทธิ์ของน ้ามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร 4 ชนิด ได้ แก่ กานพลู, พริ กไทย, พลู และ อบเชยในการ
ยับยัง้ เชื ้อราสาเหตุการเน่าเสียของผลไม้ จานวน 4 สายพันธุ์ ได้ แก่ Aspergillus niger, Colletotrichum gloeosporioides,
Lasiodiplodia theobromae และ Rhizopus stolonifer พบว่า น ้ามันพลูยบั ยังเชื ้ ้อราที่ทดสอบได้ สงู ที่สดุ โดยมีค่าดัชนีการ
ยับยังระหว่
้ ้ อกน ้ามันพลูมาใช้ เป็ นส่วนผสมร่ วมกับสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเชื ้อรา
าง 38.89 – 66.67 เปอร์ เซ็นต์ จากนันเลื
เอนโดไฟต์เพื่อควบคุมเชื ้อราสาเหตุการเน่าเสียของผลไม้ จากการศึกษาการเสริ มฤทธิ์ต้านเชื ้อราโรคพืชที่ใช้ ทดสอบของสาร
ออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเชื ้อราเอนโดไฟต์และน ้ามันหอมระเหยพลู พบว่า สูตรผสมของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเชื ้อราเอน
โดไฟต์ร่วมกับน ้ามันหอมระเหยพลู ในอัตราส่วน 2:8 มีประสิทธิภาพในการยับยังเชื ้ ้อราได้ สงู สุด โดยมีค่าความเข้ มข้ นต่าสุด
ของสาร คือ 625 µg/mL และพบว่าน ้ายาที่ต้านเชื ้อราที่มีสว่ นผสมของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเชื ้อราเอนโดไฟต์ ร่ วมกับ
น า้ มั น หอมระเหยพลู มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการควบคุ ม โรคในมะม่ ว งหลั ง การเก็ บ เกี่ ย วที่ มี ส าเหตุ ม าจากเชื อ้ รา
L. theobromae ได้ สงู สุด โดยควบคุมโรคได้ 64.33 เปอร์ เซ็นต์

ABSTRACT
Study on the antifungal activites of 4 herbal essentail oils : clove oil, black peper oil, betel oil and
cinnamon oil to inhibit growth of 4 fungal cuasing postharvest decay of fruit: Aspergillus niger, Colletotrichum
gloeosporioides, Lasiodiplodia theobromae and Rhizopus stolonifer . The result showed that betel oil showed
the highest activity against all the tested fungi with antifungal index 38.89 – 66.67%. Betel oil was selected to
combine with bioactive compounds from endophytic fungi for control fungal cuasing postharvest decay of fruit.
Investigation of synergistic effect of bioactive compounds from endophytic fungi and betel oil showed that the
optimal ratio to control of all tested fungi was 2:8 and their MIC was 625 µg/mL. The antifungal solution contained
the combination of bioactive compounds from endophytic fungi and betel oil gave the highest efficacy to control
decay of mango caused by L. theobromae with percent inhibition 64.33 %.
Keyword: Endophytic fungi, Bioactive Compound, Thai Medicinal Plant, Biological Control, Piperaceae
Corresponding author, e-mail address: aappsr@ku.ac.th

1
ห้ องปฏิบตั ิการการเทคโนโลยีสมุนไพรและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ สถาบันผลิตผลเกษตรฯ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
1
Unit Research of Herbs and Bioactive compound , KAPI, Kasetsart University

635
สาขาพืช การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53

คานา
เชื ้อราเอนโดไฟต์เป็ นเชื ้อจุลินทรี ย์ที่สามารถผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพเพื่อนาไปใช้ ในชีววิธีควบคุมศัตรู พืชแทน
สารเคมี (Schulz et al., 2002) ซึง่ พบว่า เชื ้อราเอนโดไฟต์ Muscodor albus ที่แยกจากพืชในกลุ่มอบเชย (Strobel et al.,
2003 ) สามารถผลิตสารระเหยที่มีฤทธิ์ยบั ยังเชื ้ ้อราสาเหตุการเน่าเสียของพืชหลังการเก็บเกี่ยวได้ หลายชนิด และปั จจุบนั ได้
ใช้ ควบคุมการเน่าเสียของผลแอปเปิ ้ล และลูกพีช (Mercier and Jorge, 2004) ด้ วยเหตุนีก้ ารใช้ เชื ้อราเอนโดไฟต์ในการ
ควบคุมศัตรู พืชจึงเป็ นอีกก้ าวหนึ่งของการพัฒนากระบวนการผลิตผลิตผลทางการเกษตรของไทยให้ มีจานวนเพียงพอต่อ
ความต้ องการของคนในประเทศและตลาดโลกได้ อย่างมีคณ ุ ภาพและปลอดภัย ในปี พ.ศ. 2556 ประภัสสร และคณะ ได้ ทา
การสารวจและแยกเชื ้อราเอนโดไฟต์จากพืชสมุนไพรในวงศ์ Piperaceae จากสวนป่ าสมุนไพรใน 6 จังหวัดของประเทศไทย
พบว่า เชื ้อราเอนโดไฟต์ รหัส CNB 3 มีประสิทธิภาพสูงสุดในการยับยังเชื ้ ้อราสาเหตุการเน่าเสียของผลไม้ ที่สาคัญหลายชนิด
ได้ แก่ Aspergillus niger, Colletotrichum gloeosporioides, Lasiodiplodia theobromae และ Rhizopus stolonifer โดยมี
เปอร์ เซ็นต์การยับยัง้ 77.8-100 เปอร์ เซ็นต์ และเมื่อเพาะเลี ้ยงเชื ้อราเอนโดไฟต์ CNB 3 ในอาหาร Potato Dextrose Broth
และสกัดน ้าเพาะเลี ้ยงด้ วยตัวทาละลาย hexane และ ethyl acetate พบว่า สามารถยับยังเชื ้ ้อราที่ทาการทดสอบได้ สงู สุด
จากผลงานวิจยั ข้ างต้ นชี ้ให้ เห็นถึงศักยภาพของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเชื ้อราเอนโดไฟต์ CNB 3 ที่จะนาไป
พัฒนาผลิตภัณฑ์น ้ายาควบคุมการเน่าเสียของผลไม้ ได้ งานวิจยั นีจ้ ึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อที่พฒ ั นาสูตรน ้ายาควบคุมการเน่า
เสียของผลไม้ โดยใช้ สารออกฤทธิ์ จากเชื อ้ ราเอนโดไฟต์ เสริ มฤทธิ์ ร่วมกันกับนา้ มันหอมระเหยจากพื ชสมุนไพรเพื่ อเพิ่ ม
ศักยภาพในการควบคุมการเน่าเสียของผลไม้ ภายหลังการเก็บเกี่ยวให้ สงู ขึ ้นโดยมีการใช้ มะม่วงเป็ นผลไม้ ต้นแบบ

อุปกรณ์ และวิธีการ
1. การคัดเลือกนา้ มันหอมระเหยเพื่อนาไปพัฒนาสูตรนา้ ยาควบคุมการเน่ าเสียของผลไม้ ร่วมกับสารออก
ฤทธิ์ทางชีวภาพจากเชือ้ ราเอนไฟต์
คัดเลือกน ้ามันหอมระเหยเพื่อใช้ เป็ นส่วนผสมในสูตรร่ วมกับสารออกฤทธิ์ ทางชีวภาพของเชื ้อราเอนไฟต์เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิ ภาพของน ้ายาควบคุมการเน่าเสียของผลไม้ ให้ สงู ขึน้ โดยใช้ สมุนไพรไทยที่มีการรายงานถึงประสิทธิ ภาพในการ
ยับยังเชื
้ ้อราสาเหตุการเน่าเสียของผลไม้ หลังการเก็บเกี่ยวได้ ดีจานวน 4 ชนิด ได้ แก่ กานพลู, อบเชย, พริ กไทย, พลู ทา
การสกัดน ้ามันหอมระเหยจากพืชทัง้ 4 ชนิดนี ้ โดยการกลัน่ ด้ วยวิธีต้ม (Water Distillation) ตามวิธีการของอุไรวรรณ และ
คณะ (2547) และทดสอบฤทธิ์ ยับยัง้ เชื อ้ ราสาเหตุการเน่ าเสี ยของผลไม้ ทัง้ 4 สายพันธุ์ ได้ แก่ Aspergillus niger,
Colletotrichum gloeosporioides, Lasiodiplodia theobromae และRhizopus stolonifer ด้ วยวิธี Contact assay
้ ้อราได้ สงู ที่สดุ จะถูกนาไปศึกษาการเสริ มฤทธิ์ร่วมกับสาร
(Alvarez-Castellanos et al., 2001) น ้ามันหอมระเหยที่ยบั ยังเชื
ออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเชื ้อราเอนโดไฟต์ต่อไป
2. การศึกษาการเสริมฤทธิ์ของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเชือ้ ราเอนโดไฟต์ และนา้ มันหอมระเหยพลู
2.1 การเตรี ยมสารทดสอบและหาค่าความเข้ มข้ นต่าสุดในการยับยัง้ (Minimum Concentration Inhibitory)
นาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่สกัดได้ จากเชื ้อราเอนไฟต์ด้วย Hexane และ Ethyl acetate (อัตราส่วน
1:1)และนาไปผสมกับน ้ามันหอมระเหยพลู ด้ วยอัตราส่วนที่แตกต่างกัน 6 ระดับ ดังนี ้ 10:0, 8:2, 6:4, 4:6, 2:8, 0:10

636
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53 สาขาพืช

ที่ระดับความเข้ มข้ น 40,000 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร สารทดสอบจะถูกนาไปเจือจาง ด้ วยวิธี two-fold dilution จนมี


ระดับความเข้ มข้ นสุดท้ ายเท่ากับ 10,000, 5,000, 2,500, 1,250, 625, 312.5, 156.2, 78.1, 39, 19.5, 4.8
ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และหาค่า MIC ด้ วยวิธี Resazurin Microtiter Assay Plate Method (Rahman et al., 2004)
2.2 ศึกษาการเสริ มฤทธิ์ของสารสกัดจากเชื ้อราเอนโดไฟต์ และน ้ามันหอมระเหยพลูในการต้ านเชื ้อรา
ประเมินการเสริ มฤทธิ์ ตามวิธีของ Davidson and Parish (1986) โดยนาค่าความเข้ มข้ นต่าสุดที่ได้ จาก
การทดลองในข้ อ 2.1 มาทาการคานวณหาค่า Fractional Inhibitory Concentration (FIC) จากสูตร
FIC สารสกัดจากเชื ้อราเอนโดไฟต์ = MIC ของสูตรผสมสารสกัดเชื ้อราเอนโดไฟต์ และน ้ามันพลู
MIC ของ สารสกัดราเอนโดไฟต์
FIC น ้ามันพลู = MIC ของสูตรผสมสารสกัดเชื ้อราเอนโดไฟต์ และน ้ามันพลู
MIC ของน ้ามันพลู
และคานวณดัชนีชี ้วัด Fractional Inhibitory Concentration Index (FIC index) จากสูตร
FIC index = FIC สารสกัดจากเชื ้อราเอนโดไฟต์ + FIC น ้ามันหอมระเหยพลู
คัดเลือกสูตรผสมและความเข้ มข้ นที่เหมาะสมเพื่อนาไปพัฒนาสูตรน ้ายาควบคุมการเน่าเสียของผลไม้
3. การทดสอบประสิทธิภาพของนา้ ยาควบคุมการเสื่อมเสียของผลไม้ ในการควบคุมโรค
3.1 การเตรี ยมผลมะม่วง และน ้ายาทดสอบ
มะม่วงน ้าดอกไม้ ที่ใช้ ในการทดลองนามาจาก ตลาด อตก. สาหรับน ้ายาควบคุมที่ใช้ ใ นการทดสอบใช้
สูตรน ้ายาผสมระหว่างสารสกัดจากราเอนโดไฟต์ด้วย Heaxane และ Ethyl acetate (อัตราส่วน 1:1) ผสมกับน ้ามัน
หอมระเหยพลูในอัตราส่วนที่เหมาะสมคือ 2:8 ที่ระดับความเข้ มข้ น 2,500 ไมโครกรั มต่อมิลลิลิตร ซึ่งเป็ นความ
เข้ มข้ นที่เหนือกว่าความเข้ มข้ นของ ค่า FICs ของสูตรผสมที่สามารถฆ่าเชื ้อราที่ทดสอบได้ ทกุ สายพันธุ์หนึง่ ระดับ
3.2 การปลูกเชื ้อราบนผลมะม่วง และวิธีการควบคุมโรค
ทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพของน า้ ยาควบคุม โรค โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูร ณ์ completely
randomized design(CRD) ทาการทดลอง 20 ซ ้า (ซ ้าละ 1 ลูก) แสดงรายละเอียดการจัดกรรมวิธีในการทดลองดังนี ้
กรรมวิธีที่ 1 เพาะเชื ้อราโรคพืช แบบแยกสายพันธุ์ และไม่สเปรย์น ้ายาควบคุม
กรรมวิธีที่ 2 เพาะเชื ้อราโรคพืช แบบแยกสายพันธุ์ และสเปรย์น ้ายาควบคุม
นามะม่วงที่ผ่านการทาความสะอาด และฆ่าเชื ้อด้ วยน ้าและ 70 % เอทานอลมาปลูกเชื ้อราบนผลมะม่วงแบบ
แยกแต่ละสายพันธุ์ โดยนาสารละลายสปอร์ ของเชื ้อราโรคพืช ที่มีความเข้ มข้ นของสปอร์ เท่ากับ 1.0x106 สปอร์ ต่อมิลลิลิตร
หยอดลงบนรอยแผล ปริ มาตร 20 ไมโครลิตร 1 จุด/1 สายพันธุ์ ตังทิ ้ ้งไว้ เป็ นเวลา 30 นาที จากนันสเปรย์
้ น ้ายาควบคุมลง
บนผลมะม่วง และนาไปบ่มที่อณ ุ หภูมิห้อง เป็ นเวลา 7 วัน สังเกตการเกิดโรคโดยวัดขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางของแผล
นาค่าที่วดั ได้ มาหาระดับการเกิดโรค โดยเปรี ยบเทียบกับผลมะม่วงที่ไม่ได้ ควบคุมโรค (ศิริรัตน์ และคณะ, 2549 )
4. การประเมินผลทางสถิติ
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance) แบบ Complete
Randomized Design (CRD) เปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยด้ วย Duncan’s Multiple Range Test ที่ระดับความเชื่อมัน่ ร้ อยละ 95

637
สาขาพืช การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53

ผลและวิจารณ์
1. การคัดเลือกนา้ มันหอมระเหยเพื่อนาไปพัฒนาสูตรนา้ ยาควบคุมการเน่ าเสียของผลไม้ ร่วมกับสารออก
ฤทธิ์ทางชีวภาพจากเชือ้ ราเอนไฟต์
จากการทดสอบประสิทธิภาพของน ้ามันหอมระเหยทัง้ 4 ชนิด ได้ แก่ กานพลู, อบเชย, พริ กไทย และ พลู ในการ
ยับยัง้ เชื อ้ ราสาเหตุการเน่ าเสียของผลไม้ 4 สายพันธุ์ ได้ แก่ A. niger, C. gloeosporioides, R. stolonifer และ
L. theobromae ด้ วยวิธี Contact assay พบว่า น ้ามันหอมระเหยพลูมีฤทธิ์ยบั ยังเชื ้ ้อราทัง้ 4 สายพันธุ์ ได้ สงู ที่สดุ โดยมี
ค่าเปอร์ เซ็นต์การยับยังเชื
้ อ้ รา C. gloeosporioides เท่ากับ 66.67 เปอร์ เซ็นต์ รองลงมาได้ แก่ เชื ้อ A. niger, R. stolonifer
และ L. theobromae โดยมีเปอร์ เซ็นต์การยับยังเท่้ ากับ 53.96, 44.35 และ 38.89 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ (Table 1) ซึง่ จาก
ผลการทดลองที่ได้ มีความสอดคล้ องกับ อุไรวรรณ และคณะ (2546) ที่ทดสอบการออกฤทธิ์ของนา้ มันหอมระเหย 3 ชนิด
คือ นา้ มันพลู นา้ มันทีทรี และนา้ มันเสม็ดขาว ในการยับยัง้ การเจริ ญของเชือ้ รา 7 ชนิด คือ A. japonicus, A. niger,
E.amstelodami, E. chevaleiri, Penicillium sp. P. camemberti และ Fusarium sp. พบว่า น ้ามันพลูออกฤทธิ์ได้ ดีที่สดุ
รองลงมาได้ แก่น ้ามันทีทรี และน ้ามันเสม็ดขาว ตามลาดับ โดยมีคา่ MIC อยู่ที่ 0.05-0.10%
Table 1 The efficacy of essential oil on growth of fungi causing postharvest decay of fruit.
Antifungal Index 1/ (%)
Essential Oil
A. niger C. gloeosporioides L. theobromae R. stolonifer
Cinnamon Oil 12.62cD 18.85dC 37.10bA 35.86cB
Clove Oil 44.76bA 42.77bB 29.38cD 41.46bC
Betel Oil 53.96aB 66.67aA 38.89aD 44.35aC
Piper Oil 1.49dC 23.94cA 23.15dA 9.08dB
1/
Antifungal Index are given as mean of three replicates.
a-d
Mean values followed by different superscripts within a column are significantly different using Duncan’s
multiple range test.(p <0.05)
A,B,..D
Mean values followed by different superscripts within a row are significantly different using Duncan’s multiple
range test.(p <0.05)
2. การตรวจหาอัตราส่ วนผสมและค่ าความเข้ มข้ นต่ าสุดของสารเพื่อใช้ ในการควบคุมเชือ้ ราสาเหตุการ
เสื่อมเสียของผลไม้ หลังการเก็บเกี่ยว
2.1 การเตรี ยมสารทดสอบและหาค่าความเข้ มข้ นต่าสุดในการยับยัง้ (Minimun Concentration Inhibitory)
จากการตรวจหาอัตราส่วนผสมและค่าความเข้ มข้ นต่าสุดของสารเพื่อใช้ ในการควบคุมเชือ้ ราสาเหตุ
การเน่าเสียของผลไม้ พบว่า เชื ้อรา C. gloeosporioides สามารถต้ านทานต่อสารทดสอบมากที่สดุ และพบว่า สูตร
ผสมที่มีอตั ราส่วนของน ้ามันพลูสงู ขึ ้นจะส่งผลให้ มีแนวโน้ มในการยับยังเชื
้ ้อราได้ สงู ขึ ้น โดยสูตรผสมระหว่างสกัดจาก
เชื ้อราเอนโดไฟต์และน ้ามันหอมระเหยพลูที่มีประสิทธิภาพในการต้ านเชื ้อราทุกชนิดได้ ดีที่สดุ คือ อัตราส่วน 2:8 โดย
มีคา่ MICs เท่ากับ 625 µg/mL และสามารถยับยังเชื ้ ้อราทัง้ 4 สายพันธุ์ได้ ในระดับเดียวกัน (Table 2)

638
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53 สาขาพืช

Table 2 Minimum inhibitory concentration and fractional inhibitory concentration index of fungal
endophyte extract and betel oil and their combinations against the tested fungi.
Ratio MIC (µg/ml) FICIndex 1/
Fungal
Betel Oil A2/ C3/ L4/ R5/ A2/ C3/ L4/ R5/
endophyte extract
10 0 2,500 2,500 1,250 2,500 1.00 1.00 1.00 1.00
8 2 1,250 2,500 1,250 1,250 0.80 1.60 0.40 0.80
6 4 1,250 1,250 625 1,250 1.10 1.10 0.55 1.10
4 6 1,250 1,250 625 1,250 1.40 1.40 0.70 1.40
2 8 625 625 625 625 0.85 0.85 0.85 0.85
0 10 625 625 625 625 1.00 1.00 1.00 1.00
1/
The FIC index was interpreted as: a synergistic effect when < 1;
additive effect when = 1 and antagonistic effect when >1
2/
A = Aspergillus niger, 3/C = Colletotrichum gloeosporioides,4/L = Lasiodiplodia theobromae, 5/R = Rhizopus stolonifer

2.2 ศึกษาการเสริ มฤทธิ์ของสารสกัดจากเชื ้อราเอนโดไฟต์ และน ้ามันหอมระเหยพลูในการต้ านเชื ้อรา


จากการศึกษาพบว่า ค่า FICIndex ของสารสกัดจากเชื ้อราเอนโดไฟต์และน ้ามันหอมระเหยพลูและสูตร
ผสมในอัตราส่วนต่างๆ 0.4 – 1.6 สูตรผสมมีการเสริ มฤทธิ์กนั และมีฤทธิ์ต้านกัน แตกต่างกันตามแต่ละ
ชนิดของเชื ้อราและอัตราส่วนผสม โดยพบว่า สูตรผสมในอัตราส่วน 2:8 มีการเสริ มฤทธิ์กนั ในการต้ านเชื ้อราและสูตร
ผสมในอัตราส่วน 8:2, 6:4, 4:2 และ 2:8 มีการเสริ มฤทธิ์กนั ในการต้ านเชื ้อรา L. theobromae และพบว่า สูตรผสม
ในอัตราส่วน 8:2 แล 2:8 ฤทธิ์เสริ มกันในการยับยังเชื ้ ้อรา A. niger และ R. stolonifer สาหรับการยับยังเชื ้ ้อรา
C.gloeosporioides พบว่า มีเพียงสูตรผสมในอัตราส่วน 8:2 ที่มีฤทธิ์เสริ มกันในการต้ านการเจริ ญ (Table 2) การ
เสริ มฤทธิ์กนั ในการต้ านเชื ้อราก่อโรคหลังการเก็บเกี่ยวของมะม่วงจะเกิดขึ ้นเมื่อเพิ่มอัตราส่วนของน ้ามันพลู พบว่า
การใช้ สว่ นผสมระหว่างสารสกัดจากเชื ้อราเอนโดไฟต์ และน ้ามันหอมระเหยพลูมีประสิทธิภาพในการต้ านเชื ้อราได้
ดีกว่าการใช้ สารสกัดจากเชื ้อราเอนโดไฟต์เพียงอย่างเดียว โดยสูตรผสมที่มีประสิทธิภาพดีที่สดุ ในการต้ านการเจริ ญ
ของเชื ้อรา คือ 2:8 โดยค่าความเข้ มข้ นต่าสุดของการต้ านการเจริ ญของเชื ้อราทัง้ 4 ชนิด คือ 625 µg/mL ผลที่ได้ จาก
การทดสอบสอดคล้ องกับรายงานของ Arivudainambi และคณะ (2011) ที่ทาการศึกษาการเสริ มฤทธิ์ของสารออก
ฤทธิ์ทางชีวภาพจากเชื ้อราเอนโดไฟต์ C. gloeosporioides กับสารปฏิชีวนะ methicillin เพื่อยับยังเชื ้อแบคทีเรี ย
S. aureus สายพันธุ์ดื ้อยาที่พบว่า ประสิทธิภาพในการเสริ มฤทธิ์ในการต้ านเชื ้อจุลนิ ทรี ย์จะขึ ้นกับปริ มาณ สัดส่วน
ของสารที่นามาใช้ ผสมทังสองชนิ
้ ด นอกจากนี ้การใช้ สารร่ วมกันในสัดส่วนที่พอเหมาะนอกจากจะช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการต้ านการเจริ ญของเชื ้อแล้ ว ยังเป็ นการลดปริ มาณการใช้ สารชนิดใดชนิดหนึง่ ในปริ มาณสูงซึง่ อาจ
ส่งผลต่อสุขภาพของผู้บริ โภคแล้ วยังเป็ นการลดต้ นทุนผลิตด้ วย

639
สาขาพืช การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53

3. การทดสอบประสิทธิภาพของนา้ ยาควบคุมการเสื่อมเสียของผลไม้ ในการควบคุมโรค


จากผลการศึกษาการควบคุมโรคหลังการเก็บเกี่ยวบนผลมะม่วง ด้ วยน ้ายาควบคุมการเสื่อมเสีย โดยปลูก
เชื ้อสาเหตุโรคแบบแยกสายพันธุ์ และทาการสังเกตการเกิดโรค เป็ นเวลา 7 วัน พบว่า มะม่วงที่มีการควบคุมการ
เกิดโรคด้ วยสูตรน ้ายาหลังการปลูกเชื ้อสาเหตุของการเสื่อมเสีย มีการเกิดโรคต่ากว่ากรรมวิธีควบคุมที่มีการปลูกเชื ้อ
ราสาเหตุของการเสื่อมเสียเพียงอย่างเดียวอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 เปอร์ เซ็นต์ (Table 3)
Table 3 Effect of biocontrol agents on severity of disease on artificially inoculated mango fruit.
1/
Disease scores
Treatments
0 Day 1 Day 3 Day 5 Day 7 Day
2/
A + Biocontrol agents 0 0 0 1.08f 1.66f
3/
C + Biocontrol agents 0 0 1.16d 1.92c 2.22d
4/
L + Biocontrol agents 0 0 1.00e 1.08f 1.22g
5/
R + Biocontrol agents 0 0 1.16d 1.22e 1.84e
2/
A -C 0 0 1.00e 1.36d 2.16d
3/
C -C 0 1.00 2.24a 3.12a 4.00a
4/
L -C 0 0 1.88b 2.68b 3.42b
5/
R -C 0 0 1.32c 2.24b 3.16c
1/
Disease scores are given as mean of twenty replicates (n=20).
Disease severity was scored on a 0-4 scale as described by Sirinrat et. al (2006), where 0 = no spots, 1 = less than 1 mm
in diameter, 2 = 1-2 mm in diameter, 3 = 3-10 mm in diameter, 4 = >10 mm in diameter of the mango surface affected.
a-g
Mean values followed by different superscripts within a column are significantly different using Duncan’s multiple range
test.(p <0.05)
2/
A = Aspergillus niger, 3/C = Colletotrichum gloeosporioides,4/L = Lasiodiplodia theobromae, 5/R = Rhizopus stolonifer

หลังการทดสอบเป็ นเวลา 7 วัน น ้ายาที่พฒ ั นาขึ ้นมีประสิทธิภาพในการควบคุมการเกิดโรคได้ แตกต่างกัน


แยกตามสายพันธุ์ของเชื ้อ โดยพบว่า น ้ายาควบคุมที่พฒ ั นาขึ ้นมีประสิทธิภาพในการควบคุมการเกิดโรคในมะม่วง
หลังการเก็บเกี่ยวที่มีสาเหตุมาจากเชื ้อ L.theobromae ได้ สงู ที่สดุ โดยมีเปอร์ เซ็นต์การควบคุมโรคเท่ากับ 64.33
เปอร์ เซ็นต์ รองลงมา คือ C. gloeosporioides, R.stolonifer และ A. niger โดยมีเปอร์ เซ็นต์การควบคุมโรคเท่ากับ
44.50, 41.77 และ 23.15 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ (Table 4) อย่างไรก็ตาม ประสิทธิภาพของน ้ายาที่พฒ ั นาขึ ้นจะมาก
หรื อน้ อยขึ ้นอยู่กบั ปริ มาณ และชนิดของราสาเหตุด้วย (สิริวรรณและคณะ, 2547)

640
การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53 สาขาพืช

Table 4 The efficacy of biocontrol agents in controlling fungi causing postharvest decay of mango.
1/
Treatments Percentage of controlling
0 Day 1 Day 3 Day 5 Day 7 Day
2/
A + Biocontrol agents 100.00 100.00 100.00a 20.59d 23.15d
3/
C + Biocontrol agents 100.00 100.00 48.21b 38.46c 44.50b
4/
L + Biocontrol agents 100.00 100.00 46.81c 59.70a 64.33a
5/
R + Biocontrol agents 100.00 100.00 12.12d 45.54b 41.77c
1/
Disease scores are given as mean of twenty replicates (n=20).
a-g
Mean values followed by different superscripts within a column are significantly different using Duncan’s multiple range
test.(p <0.05)
2/
A = Aspergillus niger, 3/C = Colletotrichum gloeosporioides,4/L = Lasiodiplodia theobromae, 5/R = Rhizopus stolonifer

โดยทัว่ ไปการเกิดโรคแอนแทรคโนส ที่มีสาหตุจากเชื ้อรา C. gloeoesporioides มีการพัฒนาโครงสร้ างสาหรับ


เข้ าทาลายพื ชได้ โดยตรงเมื่อมีสภาพแวดล้ อมที่ เหมาะสม และเข้ าพักตัวอยู่ในผิ วพื ชเมื่อผลไม้ เกิดการสุกแก่จึงเข้ า
ทาลายเซลล์พืชทาความเสียหายโดยไม่ต้องอาศัยแผลที่เกิดขึ ้นบนผิวพืชเป็ นช่องทางการเข้ าทาลาย (Jeffries et al.,
1990) และมีบางส่วนที่มีการเกิดโรคจากการเข้ าทางบาดแผลซึง่ เป็ นสาเหตุที่ทาให้ เกิดอาการแสดงออกของโรคเร็ ว และ
รุ นแรงมากกว่าการเกิดโรคขึ ้นเองตามธรรมชาติ ซึง่ ในการทดลองนี ้ได้ เลียนแบบสาเหตุการเกิดโรคดังกล่าวเพื่อต้ องการ
ทราบถึงประสิทธิ ภาพในการควบคุมโรคของนา้ ยาที่ พัฒนาขึน้ อย่างชัดเจน นอกจากนา้ ยาที่ พัฒนาขึน้ จะสามารถ
ควบคุมการเกิดโรคได้ จากการปลูกเชื ้อด้ วยวิธีการทาแผลแล้ ว ยังพบว่า ยังสามารถควบคุมการเกิดโรคที่เกิดขึ ้นเองตาม
ธรรมชาติบนผลของมะม่วงได้ อีกด้ วย เมื่อเปรี ยบเทียบกับชุดควบคุม

สรุ ป
ส่วนผสมระหว่างสกัดจากราเอนโดไฟต์ และน ้ามันหอมระเหยพลูที่มีประสิทธิภาพในการต้ านเชื ้อราสาเหตุการเน่า
เสียของผลไม้ ได้ ดีที่สดุ คือ สูตรผสมระหว่างสารสกัดจากราเอนโดไฟต์ด้วย Heaxane และ Ethyl acetate ที่ผสมกันในอัตราส่วน
1 : 1 และน ้ามันหอมระเหยพลู ในอัตราส่วน 2 : 8 และพบว่าน ้ายาควบคุมการเน่าเสียของผลไม้ ที่พฒ ั นาขึ ้นมีประสิทธิภาพใน
การควบคุมการเกิดโรคในมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยวที่มีสาเหตุมาจากเชื ้อ L. theobromae ได้ สงู ที่สดุ โดยมีเปอร์ เซ็นต์การ
ควบคุมโรคเท่ากับ 64.33 และสามารถยืดอายุการเก็บมะม่วงได้ นานถึง 7 วัน ในสภาวะการบ่มที่อณ ุ หภูมิห้อง

เอกสารอ้ างอิง
ประภัสสร รักาวร, อุดมลักษณ์ สุขอัตตะ, เชาวนี มีหวัง. 2556. การศึกษาศักยภาพของราเอนโดไฟต์ ท่ แี ยกจากพืช
ในวงศ์ Piperaceae ในการควบคุมเชือ้ ราสาเหตุการเสื่อมเสียของผลไม้ หลังการเก็บเกี่ยว. การประชุม
ทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครัง้ ที่ 51. สาขาพืช. หน้ า 245-252.

641
สาขาพืช การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 53

ศิริรัตน์ ตรี กาญจนวัฒนา. 2549. การคัดเลือกและศักยภาพของจุลินทรี ย์ผิวพืชในการควบคุมโรคแอนแทรคโนส


ของมะม่ วงหลังการเก็บเกี่ยว. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุ งเทพฯ.
สิริวรรณ สมิทธิอาภรณ์. 2547. การควบคุมโรคแอนแทรคโนสและโรคขัว้ ผลเน่ าในมะม่ วงพันธุ์นา้ ดอกไม้ โดยการ
ใช้ สารสกัดจากพืช. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุ งเทพฯ.
อุไรวรรณ ดิลกคุณานันท์, ยุพา มงคลสุข, งามผ่อง คงคาทิพย์, อุดมลักษณ์ สุขอัตตะ, วิภารัตน์ รัตนะ และประภัสสร รัก
ถาวร. 2547. การออกฤทธิ์ยับยัง้ จุลินทรี ย์ของสารสกัดพลูในประเทศไทย. การประชุมทางวิชาการของ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครัง้ ที่ 42. สาขาวิทยาศาสตร์ . หน้ า 291-297.
อุไรวรรณ ดิลกคุณานันท์, อุดมลักษณ์ สุขอัตตะ, ประภัสสร รักถาวร, ยุพา มงคลสุข, สุดประสงค์ สุวรรณเลิศ และ นคร
เหลืองประเสริ ฐ. 2546. การออกฤทธิ์ต้านการเจริ ญของจุลินทรี ย์ของนา้ มันพลู นา้ มันทีทรี และนา้ มัน
เสม็ดขาว. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครัง้ ที่ 41. สาขาวิทยาศาสตร์ . หน้ า 245-
252.
Alvarez-Castellanos, P. P., C. D. Bishop and M. J. P.-V. 2001. Antifungal activity of the essential oil of
flowerheads of garland chrysanthemum (Chrysanthemum coronarium) against agricultural
pathogens. Phytochemistry 57: 99-102.
Arivudainambi, U.S., Anand, T.D., Shanmugaiah, V., Karunakaran, C., Rajendran, A. 2011. Novel bioactive
metabolites producing endophytic fungus Colletotrichum gloeosporioides against multidrug-resistant
Staphylococcus aureus. FEMS Immunol Med Microbiol 61(3): 340-345.
Davidson, P.M. and M.E. Parish, 1989. Methods for testing the efficacy of food antimicrobials. Food Technol
43: 148-155.
Jeffries, P., J. C. Dodd, M. J. Jegger and R. A. Plumbley. 1990. The Biology and control of
Colletotrichum species on tropical fruit crops. Plant Pathology 39: 343-366.
Mercier, J., Jorge , I.J., 2004. Control of fungal decay of apples and peaches by the biofumigant fungus
Muscodor albus biocontrol. Postharv. Biol. Technol 31: 1-8.
Rahman M, Kuhn I, Rahman M, Olsson-Liljequist B, Mollby R. 2004. Evaluation of a scanner-assisted
colorimetric MIC method for susceptibility testing of gram-negative fermentative bacteria. Appl.
Environ Microbiol 70: 2398–2403.
Schulz, B., Boyle, C., Draeger, S., Ro¨mmert, A.-K. & Krohn, K. (2002) Endophytic fungi: a source of
biologically active secondary metabolites. Mycological Research 106: 996–1004.
Strobel, G.A., Dirkse, E., Sears, J., Markworth, C., 2003. Volatile antimicrobials from Muscodor albus, a novel
endophytic fungus. Microbiology 147: 2943–2950.

642

You might also like